SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 120
Baixar para ler offline
นําเสนอโดย อ.พญ.วิจิตรา เลี้ยงสวางวงศ
กฏหมายเกี่ยวกับการแพทยฉุกเฉิน
ระบบการแพทยฉุกเฉินของไทย
สถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ(ออนไลน).(2558).สืบคนจาก :
https://www.niems.go.th/1/?redirect=True[20 สิงหาคม 2562]
สถานการณปจจุบันของระบบการแพทยฉุกเฉิน
กฏหมาย คือ......อะไร
“กฏหมาย”(กฏ) ที่สถาบัน หรือ ผูมีอํานาจสูงสุดในรัฐตรา
ขึ้น หรือที่เกิดขึ้นจาก จารีตประเพณี อันเปนที่ยอมรับนับถือ
• เพื่อใชในการบริหารประเทศ
• เพื่อใชในการบังคับบุคคลใหปฏิบัติตาม
• เพื่อกําหนดระเบียบแหงความสัมพันธระหวางบุคคล หรือ
ระหวางบุคคลกับรัฐ
ลําดับศักดิ์ของกฏหมาย
ที่มาและความสําคัญของระบบกฏหมาย
การแพทยฉุกเฉิน
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร
ไทย พ.ศ. 2540
มาตรา 52 บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับบริการทางสาธารณะสุข
ที่เหมาะสมและได้มาตรฐาน
มาตรา 82 รัฐต้องส่งเสริมสนับสนุน และพัฒนาระบบสุขภาพที่เน้นการ
นําไปสู่สุขภาวะที่ยั่งยืน รวมทั้งจัดส่เสริมให้ประชาชนได้รับบริการ
สาธารณสุขที่มีมาตรฐาน
พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545
พระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551
กฏหมายที่เกี่ยวของ
• ประมวลกฏหมายอาญา
• พระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551
• ประกาศคณะกรรมการการแพทยฉุกเฉิน เรื่องหลักเกณฑการประเมิน
เพื่อคัดแยกระดับความฉุกเฉิน และมาตรฐานการปฏิบัติการฉุกเฉิน
พ.ศ. 2554
• กฏหมายและขอบังคับเกี่ยวกับผูปฏิบัติการ
• กฏหมายหนวยปฏิบัติการและพาหนะในการปฏิบัติการแพทยฉุกเฉิน
• สถานพยาบาลและนโยบาย “เจ็บปวยฉุกเฉินวิกฤต มีสิทธิทุกที่”
• กูชีพไดรับแจงมีผูปวยแขนขาออนแรงสงสัยสมองขาดเลือด ทางกูชีพได
สอบถามผูปวยถึงสิทธิการรักษาแลวนําตัวผูปวยไปสงโรงพยาบาลตามสิทธิ กู
ชีพไดทําถูกตองตามหลักพระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน2551 หรือไม
Pretest Quiz
ประมวลกฏหมายอาญา
มาตรา ๓๐๗ ผูใดมีหนาที่ตามกฎหมายหรือตามสัญญาตอง
ดูแลผูซึ่งพึ่งตนเองมิได เพราะอายุ ความปวยเจ็บ กายพิการหรือ
จิตพิการ ทอดทิ้งผูซึ่งพึ่งตนเองมิไดนั้นเสีย โดยประการที่นาจะ
เปนเหตุใหเกิดอันตรายแกชีวิต ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป
หรือปรับไมเกินหกพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๓๐๘ ถาการกระทําความผิดตามมาตรา ๓๐๗ เปน
เหตุใหผูถูกทอดทิ้งถึงแกความตาย หรือรับอันตรายสาหัส
ผูกระทําตองระวางโทษจําคุกตั้งแตหกเดือนถึงสิบป
ประมวลกฏหมายอาญา
ประมวลกฏหมายอาญา
มาตรา ๓๗๔ ผูใดเห็นผูอื่นตกอยูในภยันตรายแหงชีวิต ซึ่ง
ตนอาจชวยไดโดยไมควรกลัวอันตรายแกตนเองหรือผูอื่น แตไม
ชวยตามความจําเปน ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งเดือน
หรือปรับไมเกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
จัดตั้งองคกร
กําหนดโครงสราง ที่มา สิทธิ หนาที่
กําหนดวัตถุประสงค และความรับผิดชอบ
พระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551
“การแพทยฉุกเฉิน” หมายความวา การปฏิบัติการฉุกเฉิน
การศึกษา การฝกอบรม การคนควาและการวิจัยเกี่ยวกับการ
ประเมิน การจัดการ การบําบัดรักษาผูปวยฉุกเฉินและการ
ปองกันการเจ็บปวยที่เกิดขึ้นฉุกเฉิน
“ผูปวยฉุกเฉิน” หมายความวา บุคคลซึ่งไดรับบาดเจ็บหรือมี
อาการปวยกะทันหัน ซึ่งเปนภยันตรายตอการดํารงชีวิตหรือการ
ทํางานของอวัยวะสําคัญ จําเปนตองไดรับการประเมิน การ
จัดการและ การบําบัดรักษาอยางทันทวงที เพื่อปองกันการ
เสียชีวิตหรือการรุนแรงขึ้นของการบาดเจ็บหรืออาการปวยนั้น
พระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551
นิยาม
“ปฏิบัติการฉุกเฉิน” หมายความวา การปฏิบัติการดาน
การแพทยฉุกเฉินนับแตการรับรู ถึงภาวะการเจ็บปวยฉุกเฉิน
จนถึงการดําเนินการใหผูปวยฉุกเฉินไดรับการบําบัดรักษาให
พนภาวะฉุกเฉิน ซึ่ง รวมถึงการประเมิน การจัดการ การ
ประสานงาน การควบคุมดูแล การติดตอสื่อสาร การลําเลียง
หรือขนสง การตรวจวินิจฉัย และการบําบัดรักษาพยาบาล
ผูปวยฉุกเฉินทั้งนอกสถานพยาบาลและในสถานพยาบาล
“หนวยปฏิบัติการ” หมายความวา หนวยงานหรือองคกร
ที่ปฏิบัติการฉุกเฉิน
พระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551
“ผูปฏิบัติการ” หมายความวา บุคคลซึ่งปฏิบัติงานเกี่ยวกับ
การแพทยฉุกเฉินตามที่ คณะกรรมการการแพทยฉุกเฉิน
กําหนด
“สถานพยาบาล” หมายความวา สถานพยาบาลของรัฐ
รวมถึงสถานพยาบาลในกํากับของรัฐ สถานพยาบาลของ
สภากาชาดไทย สถานพยาบาลตามกฎหมายวาดวย
สถานพยาบาลและสถานพยาบาลอื่นตามที่รัฐมนตรีประกาศ
กําหนด
พระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551
หมวดที่ 1
คณะกรรมการการแพทยฉุกเฉิน
พระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551
มาตรา ๑๑ กพฉ. มีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้
(๑) กําหนดมาตรฐานและหลักเกณฑเกี่ยวกับระบบ
การแพทยฉุกเฉิน
(๒) เสนอแนะหรือใหคําปรึกษาตอคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับ
นโยบายดานการแพทยฉุกเฉิน
(๓) เสนอแนะแนวทางการแกไขปญหาหรืออุปสรรคอันเกิด
จากการดําเนินงานเกี่ยวกับการแพทยฉุกเฉินตอ
คณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณา
พระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551
พระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551
(๔) กําหนดนโยบายการบริหารงาน ใหความ
เห็นชอบแผนการดําเนินงานและอนุมัติแผนการเงิน
ของสถาบัน
(๕) ควบคุมดูแลการดําเนินงานและการบริหารงาน
ทั่วไป การจัดตั้งและยกเลิกสํานักงานสาขา ตลอดจน
ออกขอบังคับ ระเบียบ หรือประกาศเกี่ยวกับการ
บริหารงานทั่วไป การบริหารงานบุคคล
การงบประมาณ การเงินและทรัพยสิน การติดตาม
ประเมินผลและการดําเนินการอื่นของสถาบัน
(๖) ออกขอบังคับเกี่ยวกับการรับรององคกรและหลักสูตร
การศึกษาหรือฝกอบรม ผูปฏิบัติการ และการให
ประกาศนียบัตรหรือเครื่องหมายวิทยฐานะแกผูผาน
การศึกษาหรือฝกอบรม เวนแตการดังกลาวจะมีกฎหมาย
เกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพดานการแพทยและการ
สาธารณสุข เปนการเฉพาะ ใหเปนไปตามกฎหมายนั้น
(7) ออกขอบังคับเกี่ยวกับการใหเข็มเชิดชูเกียรติเพื่อมอบ
ใหแกบุคคลผูสนับสนุนกิจการ ดานการแพทยฉุกเฉิน
พระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551
(๘) ดําเนินการใหมีระบบสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อประโยชนในการประสานงาน และการปฏิบัติงานดาน
การแพทยฉุกเฉิน
(๙) ดําเนินการใหมีการประสานความรวมมือระหวาง
หนวยงานที่เกี่ยวของในการเขาถึงขอมูลขาวสารเพื่อ
ประโยชนในการปฏิบัติการฉุกเฉิน
(๑๐) ออกระเบียบเกี่ยวกับการรับเงิน การจายเงินและการ
รักษาเงินกองทุนรวมทั้งการจัดหาผลประโยชนตามมาตรา
๓๖
พระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551
(๑๑) ใหความเห็นชอบการกําหนดคาบริการทางการแพทย
ฉุกเฉินและการดําเนินกิจการของสถาบัน
(๑๒) สรรหา แตงตั้ง ประเมินผลการปฏิบัติงานและถอด
ถอนเลขาธิการ
(๑๓) ปฏิบัติหนาที่อื่นตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัตินี้
หรือกฎหมายอื่นหรือตามที่คณะรัฐมนตรีหรือนายกรัฐมนตรี
มอบหมาย
พระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551
พระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551
สรุปอํานาจหนาที่ กพฉ.
1. เปนที่ปรึกษารัฐบาล รวมทั้งปฎิบัติหนาที่เกี่ยวกับ
การแพทยฉุกเฉินตามที่รัฐบาลมอบหมาย
2. สถาปนา สงเสริม สนับสนุน และกํากับมาตรฐานระบบ
การแพทยฉุกเฉิน
3. ดําเนินการใหมีการใชทรัพยากร(personnel ,facilities
,equipments)ของระบบรวมกันอยางมีประสิทธิภาพ
ดวยการรวมการระบบสารสนเทศและการสื่อสาร
4. กําหนดนโยบายและกํากับดูแลกิจการของ สพฉ.
พระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551
ขอบังคับ กพฉ.วาดวยการรับรององคกรและหลักสูตร
การศึกษาหรือฝกอบรมผูปฎิบัติการและการใหประกาศนียบัตร
หรือเครื่องหมายวิทยะฐานะแกผูการศึกษาหรือฝกอบรม
กพฉ.
อนุกรรมการรับรององคกรและหลักสูตรการศึกษาและ
ฝกอบรมผูปฎิบัติการในระบบการแพทยฉุกเฉิน และการให
ประกาศนียบัตร หรือเครื่องหมายวิทยฐานะแกผูผาน
การศึกษาหรือฝกอบรม(อศป.)
อํานาจหนาที่
ของ อศป.
1. พิจารณากลั่นกรองรางหลักสูตรหลักที่จัดทําขึ้นตาม
ประเภท ระดับ อํานาจหนาที่ ขอบเขต ความรับผิดชอบ
ขอจํากัด หลักเกณฑ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการปฏิบัติ
หนาที่รวมทั้งมาตรฐานการปฏิบัติการฉุกเฉินของผู
ปฏิบัติการที่ กพฉ.ประกาศกําหนดกอนเสนอให กพฉฺ.
รับรอง
2. รับรอง ตออายุ พัก หรือเพิกถอน การรับรององคกร
การศึกษาหรือฝกอบรมตามขอบังคับนี้
3. อนุมัติให ตออายุ หรือพัก เพิกถอน ประกาศนียบัตรหรือ
เครื่องหมายวิทยฐานะแกผูผานการศึกษาหรือฝกอบรม
ตามขอบังคับ
4. ปฏิบัติหนาที่อื่นตามที่กําหนดไวในขอบังคับนี้หรือ
ตามที่กพฉ. มอบหมาย
พระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551
หมวดที่ 2
สถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ
พระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551
มาตรา ๑๔
ใหจัดตั้งสถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติขึ้นเปนหนวยงานของรัฐที่ไม
เปน สวนราชการตามกฎหมายาดวยระเบียบบริหารราชการแผนดิน หรือไมเปน
รัฐวิสาหกิจตามกฎหมาย วาดวยวิธีการงบประมาณหรือกฎหมายอื่น เรียกโดยยอ
วา “สพฉ.”ใหสถาบันมีฐานะเปนนิติบุคคลและอยูในกํากับของรัฐมนตรี
พระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551
พระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551
มาตรา ๑๕ ใหสถาบันมีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้
(๑) จัดทําแผนหลักเกี่ยวกับการแพทยฉุกเฉินเสนอตอ กพฉ.
(๒) จัดทํามาตรฐานและหลักเกณฑเกี่ยวกับระบบการแพทย
ฉุกเฉินเสนอตอ กพฉ. รวมทั้งกําหนดเกณฑและวิธีการ
ปฏิบัติการฉุกเฉินตามมาตรฐานและหลักเกณฑที่ กพฉ.
กําหนด
(๓) จัดใหมีระบบปฏิบัติการฉุกเฉิน รวมถึงการบริหารจัดการ
และการพัฒนาระบบสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ
ประโยชนในการปฏิบัติการฉุกเฉิน
(๔) ศึกษา คนควา วิจัยและพัฒนา รวมทั้งเผยแพรความรู
ทางการแพทยฉุกเฉิน
(๕) จัดใหมีการศึกษาและฝกอบรมการปฏิบัติหนาที่เกี่ยวกับ
การแพทยฉุกเฉิน
(๖) ประสานงาน ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติการฉุกเฉิน
(๗) เปนศูนยกลางประสานกับหนวยงานภาครัฐและเอกชนทั้งใน
ประเทศและตางประเทศที่ดําเนินงานเกี่ยวกับการแพทยฉุกเฉิน
(๘) เรียกเก็บคาบริการทางการแพทยฉุกเฉินและการดําเนิน
กิจการของสถาบัน
พระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551
พระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551
สรุปอํานาจหนาที่ สพฉ.
1. รับสนองงานและคําสั่งของ สพฉ.
(command responsibility)
2. จัดระบบการสื่อสารและสารสนเทศ
(communication and information)
3. ประสานการปฏิบัติงานดานการแพทยฉุกเฉิน
(coordination)
4. ควบคุมและประเมินผล
(control)
• การคัดแยกผูปวยในอุบัติภัยหมู ถือวาเปนการเลือกปฏิบัติหรือไม ถือวาละเมิด
หรือละทิ้งบุคคลที่ไมถูกเลือกหรือไม
Pretest Quiz
หมวดที่ 3
การปฏิบัติการฉุกเฉิน
พระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551
มาตรา ๒๘ เพื่อคุมครองความปลอดภัยของผูปวยฉุกเฉินให
หนวยปฏิบัติการ สถานพยาบาล และผูปฏิบัติการ ดําเนินการ
ปฏิบัติการฉุกเฉิน ตามหลักการดังตอไปนี้
(๑) ตรวจคัดแยกระดับความฉุกเฉินและจัดใหผูปวยฉุกเฉินไดรับ
การปฏิบัติการฉุกเฉินตามลําดับความเรงดวนทางการแพทย
ฉุกเฉิน
(๒) ผูปวยฉุกเฉินตองไดรับการปฏิบัติการฉุกเฉินจนเต็มขีด
ความสามารถของหนวยปฏิบัติการหรือสถานพยาบาลนั้นกอน
การสงตอ เวนแตมีแพทยใหการรับรองวาการสงตอผูปวยฉุกเฉิน
จะเปนประโยชนตอการปองกันการเสียชีวิต หรือการรุนแรงขึ้น
ของการเจ็บปวยของผูปวยฉุกเฉินนั้น
พระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551
(๓) การปฏิบัติการฉุกเฉินตอผูปวยฉุกเฉินตองเปนไปตามความ
จําเปนและขอบงชี้ ทางการแพทยฉุกเฉิน โดยมิใหนําสิทธิการ
ประกัน การขึ้นทะเบียนสถานพยาบาล หรือความสามารถใน
การ รับผิดชอบคาใชจายของผูปวยฉุกเฉินหรือเงื่อนไขใด ๆ
มาเปนเหตุปฏิเสธผูปวยฉุกเฉินใหไมไดรับการปฏิบัติการฉุกเฉิน
อยางทันทวงที
หนวยปฏิบัติการหรือสถานพยาบาลตองควบคุมและดูแลผู
ปฏิบัติการใหดําเนินการ ปฏิบัติการฉุกเฉินเปนไปตามหลักการ
ตามวรรคหนึ่ง
พระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551
มาตรา ๒๙ เพื่อประโยชนในการปฏิบัติการฉุกเฉินใหเปนไปตาม
หลักการตามมาตรา ๒๘
กพฉ. มีอํานาจประกาศกําหนดในเรื่อง ดังตอไปนี้
(๑) ประเภท ระดับ อํานาจหนาที่ ขอบเขต ความรับผิดชอบ หรือ
ขอจํากัดของงผูปฏิบัติการ หนวยปฏิบัติการ และสถานพยาบาล
(๒) หลักเกณฑและเงื่อนไขเกี่ยวกับการปฏิบัติหนาที่ของปฏิบัติการ
หนวยปฏิบัติการ และสถานพยาบาล
(๓) มาตรฐานการปฏิบัติการฉุกเฉิน
(๔) หลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการประสานงานและการ
รายงานของหนวยปฏิบัติการและ สถานพยาบาลในการปฏิบัติการ
ฉุกเฉิน รวมทั้งความพรอมเกี่ยวกับบุคลากร พาหนะ สถานที่ และ
อุปกรณในการปฏิบัติการฉุกเฉินและการรับผูปวยฉุกเฉิน
พระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551
หมวดที่ 4
กองทุนการแพทยฉุกเฉิน
พระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551
มาตรา ๓๓ ใหจัดตั้งกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่งในสถาบัน
เรียกวา “กองทุนการแพทย ฉุกเฉิน”
มีวัตถุประสงคเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานดานการแพทยฉุกเฉิน รวมทั้ง
อุดหนุนหรือเปน คาชดเชยใหกับผูปฏิบัติการ หนวยปฏิบัติการ หรือ
สถานพยาบาลทดําเนินการเกี่ยวกับ การแพทยฉุกเฉิน ทั้งนี้ โดยคํานึงถึงการ
ปฏิบัติการฉุกเฉินในเขตพื้นที่หรือภูมิประเทศที่ไมมีผูปฏิบัติการหนวย
ปฏิบัติการ หรือสถานพยาบาลเพียงพอ
พระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551
พระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551
มาตรา ๓๒ ในกรณีที่ผลการสอบสวนตามมาตรา ๓๑ ปรากฏวา
ผูปฏิบัติการ หนวยปฏิบัติการ หรือสถานพยาบาลใดไมปฏิบัติตาม
หลักเกณฑ เงื่อนไข และมาตรฐานที่กําหนด และการกระทํา
ดังกลาวเปนความผิดตามกฎหมาย กฎ ขอบังคับ หรือระเบียบที่
เกี่ยวของใหกพฉ.ดําเนินการอยางหนึ่งอยางใด ดังตอไปนี้
(๑) ตักเตือนเปนหนังสือใหผูปฏิบัติการ หนวยปฏิบัติการ หรือ
สถานพยาบาลนั้นปฏิบัติให ถูกตอง
(๒) แจงเรื่องไปยังผูมีอํานาจตามกฎหมายที่มีอํานาจควบคุมการ
ดําเนินการของหนวย ปฏิบัติการ เพื่อพิจารณาดําเนินการตาม
อํานาจหนาที่
พระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551
(๓) แจงเรื่องไปยังผูมีอํานาจตามกฎหมายเพื่อพิจารณาดําเนินการ
ทางวินัยแกผูดําเนินการ สถานพยาบาลของรัฐหรือหนวยงานของ
รัฐ
(๔) แจงเรื่องไปยังผูมีอํานาจตามกฎหมายเพื่อพิจารณาดําเนินการ
ดานจริยธรรมกับ ผูปฏิบัติการซึ่งเปนผูประกอบวิชาชีพดาน
การแพทยและการสาธารณสุข
พระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551
หมวดที่ 5
โทษทางปกครอง
พระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551
มาตรา ๓๗ ผูใดฝาฝนประกาศที่ กพฉ. กําหนดตามมาตรา
๒๙ (๑) ตองระวางโทษปรับ ทางปกครองไมเกินหนึ่งแสนบาท
มาตรา ๓๘ ผูใดใชระบบสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศที่จัด
ไวสําหรับการปฏิบัติการ ฉุกเฉินโดยประการที่จะทําใหเกิดความ
เสียหายแกการปฏิบัติการฉุกเฉิน ตองระวางโทษปรับทาง
ปกครองไมเกินหาพันบาท
มาตรา ๔๐ ผูใดใชเข็มเชิดชูเกียรติ โดยไมมีสิทธิหรือแสดง
ดวยประการใด ๆ วาตนมี ประกาศนียบัตรหรือเครื่องหมายวิทย
ฐานะโดยที่ตนไมมีสิทธิ ตองระวางโทษปรับทางปกครองไมเกิน
หาหมื่นบาท
พระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551
• ผูใดฝาฝนประกาศที่ กพฉ. กําหนดตองระวางโทษปรับ ทางปกครอง
ไมเกิน..........บาท
Pretest Quiz
เจตนารมยของกฏหมาย
• เพื่อใหบุคคลที่อยูในภาวะอันตรายตอชีวิตและสถานการณวิกฤติ
เวลา ซึ่งยังมีโอกาสรอดชีวิต ไดมีโอกาสรอดชีวิตสูงขึ้น
• เพื่อคุมครองบุคคลที่ประสบภาวะอันตรายตอชีวิตและอยูใน
สถานการณวิกฤต โดยไมใหสิทธิการประกันและความสามารถใน
การจายมาเปนอุปสรรคในการไดรับการดูแลที่ไดมาตรฐานอยาง
ทันทวงที
• เพื่อความคุมครองบุคคลที่ชวยเหลือดูแลผูเจ็บปวยฉุกเฉินที่
ปฏิบัติการฉุกเฉินอยางสุจริต จากการถูกกลาวหาวาปฏิบัติโดยมิ
ชอบ
• เพื่อคุมครองสังคม ใหมีการใชทรัพยากร (บุคลากร,หนวยปฎิบัติ
การ และเครื่องมือ) ของระบบรวมกันอยางมีประสิทธิภาพดวย
ระบบสื่อสารกลาง
พระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551
1) ระดับชาติ :จัดตั้ง คณะกรรมการการแพทยฉุกเฉิน(กพฉ) ขึ้น
เพื่อทําหนาที่ในการสถาปนาระบบการแพทยฉุกเฉินทั้งในระบบ
การบริการ, ระบบการศึกษาฝกอบรม และระบบการวิจัยพัฒนา
โดยจัดใหมี กองทุนการแพทยฉุกเฉิน เพื่อสนับสนุนกิจกรรม
ดังกลาว และ มีสถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ(สพฉฺ) ทํา
หนาที่เลขานุการ ธุรการ และการประสานงาน
2) ระดับทองถิ่น : ดําเนินการให องคกรปกครองสวนทองถิ่น เปน
ผูดําเนินการและการบริหารจัดการระบบการแพทยฉุกเฉินใน
ระดับทองถิ่นหรือพื้นที่ โดยอาจไดรับการสนับสนุนการบริการ
การศึกษาฝกอบรม และการวิจัยพัฒนาจากกองทุนการแพทย
ฉุกเฉิน
วิธีการดําเนินการ
พระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551
ประกาศคณะกรรมการการแพทยฉุกเฉิน เรื่อง
หลักเกณฑการประเมินเพื่อคัดแยกระดับความ
ฉุกเฉินและมาตรฐานการปฏิบัติการฉุกเฉิน พ.ศ.
2554
ความเปนมา
สพฉ.ไดมีประกาศนี้ เพื่อการคุมครองความ
ปลอดภัยของผูปวยฉุกเฉิน ใหสถานพยาบาล
หนวยปฏิบัติการ และผูปฏิบัติการ โดยกําหนดให
ใชเกณฑการประเมินเพื่อคัดแยกระดับความ
ฉุกเฉิน ณ หองฉุกเฉินกําาหนดการจัดทําเกณฑ
การคัดแยกผูปวยฉุกเฉินและจัดลําดับการบริบาล
ณ หองฉุกเฉินจากรายการ 25 กลุมอาการนํา
(Criteria Based Dispatch : CBD) โดยใชเกณฑ
และวิธีการคัดแยกตาม Emergency Severity
Index (ESI) Version 4 แบบ 5 ระดับ
ภายใตนโยบาย “เจ็บปวย
ฉุกเฉินถึงแกชีวิต ไมถามสิทธิ
ใกลที่ไหนไปที่นั้น”
ประกาศคณะกรรมการการแพทยฉุกเฉิน เรื่องหลักเกณฑการประเมิน
เพื่อคัดแยกระดับความฉุกเฉิน และมาตรฐานการปฏิบัติการฉุกเฉิน
พ.ศ.2554
ประกาศคณะกรรมการการแพทยฉุกเฉิน เรื่องหลักเกณฑการประเมิน
เพื่อคัดแยกระดับความฉุกเฉิน และมาตรฐานการปฏิบัติการฉุกเฉิน
พ.ศ. 2554
ประกาศคณะกรรมการการแพทยฉุกเฉิน เรื่องหลักเกณฑการประเมิน
เพื่อคัดแยกระดับความฉุกเฉิน และมาตรฐานการปฏิบัติการฉุกเฉิน
พ.ศ. 2554
ประกาศคณะกรรมการการแพทยฉุกเฉิน เรื่องหลักเกณฑการประเมิน
เพื่อคัดแยกระดับความฉุกเฉิน และมาตรฐานการปฏิบัติการฉุกเฉิน
พ.ศ. 2554
ประกาศคณะกรรมการการแพทยฉุกเฉิน เรื่องหลักเกณฑการประเมิน
เพื่อคัดแยกระดับความฉุกเฉิน และมาตรฐานการปฏิบัติการฉุกเฉิน
พ.ศ. 2554
ประกาศคณะกรรมการการแพทยฉุกเฉิน เรื่องหลักเกณฑการประเมิน
เพื่อคัดแยกระดับความฉุกเฉิน และมาตรฐานการปฏิบัติการฉุกเฉิน
พ.ศ. 2554
ESI level 1
• Cardiac arrest
• Respiratory arrest
• SpO2< 90
• Critically injured trauma patient who presents unresponsive
• Overdose with a respiratory rate of 6
• Severe respiratory distress with agonal or gasping type
respiration’s
• Severe bradycardia or tachycardia with signs of hypoperfusion
• Hypotension with sign of hypoperfusion
• Trauma patient who requires immediate crystalloid and colloid
resuscitation
• Chest pain ,pale,diaphoretic,blood pressure 70/palp
• Weak and dizzy, heart rate=30
• Anaphylactic shock
• Baby that is flaccid
• Baby that is flaccid
• Unresponsive patient with a strong odor of alcohol
• Hypoglycemia with a change in mental status
• Incubated head bleed with unequal pupils
• Child that fell out of a tree and is unresponsive to painful stimuli
ESI level2
Severe pain criteria to justify an ESI level 2
• A patient with 10/10 flank pain who is writing
at triage
• An 80-year-old female with 7/10 generalized
abdominal pain
• A patient in acute sickle cell pain crisis
• An oncology patient with severe pain
• Any full or partial thickness burn
High risk situations
• Active chest pain suspicious Acute coronary
syndrome
• A needle sticking a health care worker
• Signs of stroke
• A rule out ectopic pregnancywith
hemodynamics stable
• A suicidal or humicidal patient
Alternation of
consciousness patient
นําเสนอโดย อ.พญ.วิจิตรา เลี้ยงสวางวงศ
กฏหมายเกี่ยวกับการแพทยฉุกเฉิน
ประกาศคณะกรรมการการแพทยฉุกเฉิน เรื่อง อํานาจ หนาที่ ขอบเขต
ความรับผิดชอบ และขอจํากัดในการปฏิบัติการแพทยของผูชวยเวช
กรรมตามคําสั่งการแพทยหรือการอํานวยการ พ.ศ.2556
ประกาศคณะกรรมการการแพทยฉุกเฉิน เรื่อง อํานาจ หนาที่
ขอบเขต ความรับผิดชอบ และขอจํากัดในการปฏิบัติการแพทย
ของผูชวยเวชกรรมตามคําสั่งการแพทยหรือการอํานวยการ
พ.ศ.2556
ประกาศคณะกรรมการการแพทยฉุกเฉิน เรื่อง อํานาจ หนาที่
ขอบเขต ความรับผิดชอบ และขอจํากัดในการปฏิบัติการแพทย
ของผูชวยเวชกรรมตามคําสั่งการแพทยหรือการอํานวยการ
พ.ศ.2556
ประกาศคณะกรรมการการแพทยฉุกเฉิน เรื่อง อํานาจ หนาที่
ขอบเขต ความรับผิดชอบ และขอจํากัดในการปฏิบัติการแพทย
ของผูชวยเวชกรรมตามคําสั่งการแพทยหรือการอํานวยการ
พ.ศ.2556
คําชวยจํา
• ก กิ๊กกอก ทําได สอนได
• ข ขอดู protocal
• ค คําสั่งตรงเทานั้น online medical direction
• ง งง ตองมีคนยืนคุม
• จ จบ ทําไมได
EMR
• A : pocket mask. head-
tilt chin lift (ค),cervical collar
• B : -
• C : CPR(ค), stop bleed
• D: splint, move lift
• Medication: ยาเดิมผู้ป่วย
EMT
• A : pocket mask , head-tilt , ใส่
cervical collar, helmet removal แต่
jaw trust(ค)
• B : cannular, bag-mask ventilation(
ค),nebulizer(ค)
• C :mechanical CPR, stop bleed
• D: splint, KED, scoop stretcher,
stair chair, long spinal board
• Medication: ยา oral by คําสั่งตรง เช่น
ISDN ,ASA,oral glucose,vitalsign
PR/RRonly, BP/T(ค)
• A : pocket mask , head-tilt, jaw trust,
helmet removal,suction, sellick
• B : cannular ,bag-mask ventilation,
nebulizer
• C :mechanical CPR ,stop bleed,IV
NSS(ค), ACLS
• D: splint, KED, scoop stretcher, stair
chair, long spinal board
• Medication: DTX,SpO2,EKG , Foley
, OG แต่ NG(ค), ทําคลอด ,ทําแผล,
ล้างตา, ให้ ยา oral ทั้งหลาย, ยา IV/
IM(คําสั่งตรง)
AEMT
Paramedic
• A : Et tube , LMA
Pedraitic tube(ค) needle cricothyroidotomy(ค)
Surgical cricithyroidotomy(ง) RSI with tube(ง)
• B : nebulizer, BIPAP ,CPAP
• C :mechanical CPR ,stop bleed,IV NSS, central venous and arterial
catheter monitoring
IO access(ค)
Cutdown, umbilical catheter insertion (ง)
• D: splint, KED, scoop stretcher, stair chair, long spinal board
• Medication: IV/ IM
กฏหมายหนวยปฏิบัติการและพาหนะใน
การปฏิบัติการแพทยฉุกเฉิน
1. *หมายถึง ขณะสั่งการประเมินวาเปนผูปวยวิกฤต (สี
แดง) ผูปวยเรงดวน (สีเหลือง) ผูปวยฉุกเฉินไมรุนแรง(สี
เขียว) มีการนําสง เมื่อมีการประเมิน ณ สถานพยาบาล
พบวาเปนผูปวยทั่วไป จายตามอัตราหลักเกณฑขางตน
และให หมายรวมถึงผูปวยปฏิเสธการรักษา/ไมประสงค
จะไปสถานพยาบาลดวย
2. กรณีชุดปฏิบัติการฉุกเฉินทุกระดับปฐม
พยาบาล ณ จุดเกิดเหตุ แลวขอ
สนับสนุนชุดปฏิบัติการฉุกเฉิน เพิ่มเติม
ตามความเหมาะสม จะจายคาชดเชยการ
ปฏิบัติใหชุดปฏิบัติการทั่งหมดตามระดับ
ความรุนแรงของผูปวยที่หองฉุกเฉิน
3. กรณีมีผูบาดเจ็บฉุกเฉินหลายรายหรือกรณีเกิด
อุบัติเหตุหมูจายจริงตามจํานวนเที่ยวการนําสง
ผูบาดเจ็บโดยอยูในดุลพินิจของศูนยรับแจงเหตุ
และ สั่งการจังหวัด ที่เปนผูพิจารณาในการนําสง
ผูบาดเจ็บ
quiz
• รถปฏิบัติการทางการแพทยฉุกเฉินออกรถระดับ ALS แตเมื่อไปถึงไมพบ
เหตุ จะไดรับคาชดเชยการบริการเทาไหร
หมายเหตุ
(ก) กรณียกเลิก ไมพบเหตุ เสียชีวิตกอนไป
ถึง ใหหมายรวมถึง กรณีการคัดแยกผูปวยโดย
ศูนยฯสั่งการเปนผูปวยฉุกเฉิน แตชุดปฏิบัติการ
นําสงโดยไมมีปฏิบัติการแพทยขั้นสูงและ
ประเมิน ณ สถานพยาบาล พบวาเปนผูปวย
ทั่วไป
(ข) กรณีตําบลที่เกิดเหตุอยูหางจากรพ.ที่รับผูปวย
มากกวา 10 กิโลเมตร ใหจายเพิ่มโดยคํานวณระยะทาง
เฉลี่ยจากทุกหมูบานในตําบลนั้นไปยังโรงพยาบาลตามการ
อํานวยการหรือคําสั่งของศูนยสั่งการ สวนที่เกิน 10
กิโลเมตร ใหคิดเพิ่มกิโลเมตรละไมเกิน 10 บาท แตรวมแลว
ไมเกิน 100 บาท และเพื่อใหการดําเนินการเบิกจายเปน ไป
อยางมีประสิทธิภาพและสะดวกกับผูปฏิบัติงานในแตละ
จังหวัด ควรจัดทําขอมูลอัตราการจายเพิ่มของทุกตําบลที่ มี
ระยะทางเฉลี่ยเกิน 10 กิโลเมตร
โดยใหคณะอนุกรรมการการแพทยฉุกเฉินจังหวัดเห็นชอบ
(ค) กรณีมีความจําเปนตองระดมชุดปฏิบัติการ
นอกพื้นที่เขาชวยเหลือหรือรวมซอมแผนเสมือน
จริงตามคําสั่งของเลขาธิการ สพฉ. ใหจายเงิน
เพิ่มเติมจากอัตราบัญชี ก 1 แกหนวยปฏิบัติการ
สถานพยาบาลหรือองคกร ปกครองสวนทองถิ่น
ดังตอไปนี้
• ทีมกูชีพนําสงผูปวยหัวใจหยุดเตนจึงรีบนําสงโรงพยาบาลแตญาติแจงวามี
ปญหาคาใชจายจึงขอpass ไป รพ. รัฐบาลตามความประสงคของญาติ
quiz
สถานพยาบาลและนโยบาย “เจ็บปวย
ฉุกเฉินวิกฤต มีสิทธิทุกที่”
สถานพยาบาลและนโยบาย “เจ็บปวย
ฉุกเฉินวิกฤต มีสิทธิทุกที่” (UCEP)
 นโยบายรัฐบาล
 กรณีเขารับการรักษาในโรงพยาบาลเอกชนนอกคูสัญญา 3 กองทุน
 กองทุนหลักประกันสุขภาพถวนหนา
 กองทุนประกันสังคม
 กองทุนสวัสดิการรักษาพยาบาลขาราชการ
 เพื่อครอบคลุมไมใหเกิดความเหลื่อมล้ําในการรักษาพยาบาลผูปวย
ฉุกเฉินวิกฤต โดยไมมีเงื่อนไขคารักษาพยาบาล
 ไมตองเสียคาใชจายภายใน 72 ชั่วโมง หรือพนภาวะวิกฤต
ใครใชสิทธิได
ผูปวยฉุกเฉินวิกฤต ตาม “หลักเกณฑการคัดแยกผูปวยฉุกเฉิน”
ผูปวยฉุกเฉินวิกฤต ไดแก บุคคลซึ่งไดรับบาดเจ็บหรือมีอาการปวยกะทันหันซึ่งมี
ภาวะคุกคามตอชีวิต ซึ่งหากไมไดรับปฏิบัติการแพทยทันที ผูปวยจะ มีโอกาส
เสียชีวิตไดสูง ใชสัญลักษณ “สีแดง” สําาหรับผูปวยฉุกเฉินวิกฤต
ประชาชนไทยทุกสิทธิ
ขาราชการ
ประกันสุขภาพถวนหนา
ประกันสังคม (รวมคนตางชาติ/ตางดาวที่มีสิทธิประกันสังคมดวย)
สถานพยาบาลและนโยบาย “เจ็บปวย
ฉุกเฉินวิกฤต มีสิทธิทุกที่” (UCEP)
เจ็บแคไหน ถึงจะใชสิทธิ UCEP ได
เจ็บแคไหน ถึงจะใชสิทธิ UCEP ได
เจ็บแคไหน ถึงจะใชสิทธิ UCEP ได
สถานพยาบาลและนโยบาย “เจ็บปวย
ฉุกเฉินวิกฤต มีสิทธิทุกที่” (UCEP)
สถานพยาบาลและนโยบาย “เจ็บปวย
ฉุกเฉินวิกฤต มีสิทธิทุกที่” (UCEP)
กรณีอุบัติเหตุ
 กรณีผูประสบภัยจากรถ ใหเบิกคาเสียหายเบื้องตนจากกองทุนผูประสบภัยจาก
รถ 15,000 บาทกอน แลวจึงเรียกเก็บจาก 3 กองทุน
บทลงโทษ
หากโรงพยาบาลใดปฏิเสธการรักษาผูปวยฉุกเฉินวิกฤต จะมี
ความผิด ปรับ 20,000 บาท หรือถึงขั้นสั่งปดสถานพยาบาล
ทันที
หามสถานพยาบาลกักตัวผูปวยเพื่อเพิ่มคาใชจาย เวนแตผูปวย
มีความประสงคจะรับการรักษาตอที่โรงพยาบาลเอง
สถานพยาบาลและนโยบาย “เจ็บปวย
ฉุกเฉินวิกฤต มีสิทธิทุกที่” (UCEP)
28 มีนาคม 2560 คณะรัฐมนตรี มีมติ
เห็นชอบใหสถานพยาบาลภาครัฐทุกแหงปฏิบัติตามหลักเกณฑ และให
สถานพยาบาลภาครัฐรับยายผูปวยฉุกเฉินวิกฤตหลังเวลา 72 ชั่วโมง ตามที่
กระทรวงสาธารณสุขเสนอ
สถานพยาบาลและนโยบาย “เจ็บปวย
ฉุกเฉินวิกฤต มีสิทธิทุกที่” (UCEP)
ใครรับ Refer ใน กทม?
สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ประสานหาเตียง แบงเปน
1. โรงพยาบาลรัฐขนาดใหญในกทม ที่สามารถรับผูปวยไดทุกสาขา 15 แหง
สังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รพ.นพรัตนราชธานี, รพ.เลิดสิน และ รพ.ราชวิถี
สังกัดกรุงเทพมหานคร
รพ.ตากสิน, รพ.กลาง และ รพ.เจริญกรุงประชารักษ
สังกัดเหลาทัพและสํานักงานตํารวจแหงชาติ
รพ.พระมงกุฏเกลา, รพ.ทหารผานศึก, รพ.ภูมิพลอดุลยเดช, รพ.สมเด็จพระปนเกลา
และ รพ.ตํารวจ
สังกัดมหาวิทยาลัย
รพ.วชิรพยาบาล, รพ.รามาธิบดี, รพ.จุฬาลงกรณ และ รพ.ศิริราช
2. โรงพยาบาลรัฐ สังกัดกรมการแพทย ที่รับผูปวยเฉพาะ
ทาง ในกทม 5 แหง
รพ.สงฆ, สถาบันโรคทรวงอก, สถาบันสุขภาพเด็ก
แหงชาติ, สถาบันมะเร็งแหงชาติ, สถาบันประสาทวิทยา
3. โรงพยาบาลรัฐ ในเขตปริมณฑล 8 แหง
รพ.ปทุมธานี, รพ.พระนั่งเกลา, รพ.วัดไรขิง, รพ.นครปฐม
, รพ.พระพุทธเลิศหลา, รพ.สมุทรปราการ, รพ.
สมุทรสาคร, สถาบันบําราศนราดูร
สถานพยาบาลและนโยบาย “เจ็บปวย
ฉุกเฉินวิกฤต มีสิทธิทุกที่” (UCEP)
Thank you

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Clinical tracer highlight 2013
Clinical tracer highlight 2013Clinical tracer highlight 2013
Clinical tracer highlight 2013Warunee Eauchai
 
TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551
TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551
TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551taem
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์Papawee Laonoi
 
Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)piyarat wongnai
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ ICwichudaice
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57Sirinoot Jantharangkul
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)yahapop
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)Weerawan Ueng-aram
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54RMUTT
 
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012Utai Sukviwatsirikul
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกPatamaporn Seajoho
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนda priyada
 

Mais procurados (20)

เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการเกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
 
Clinical tracer highlight 2013
Clinical tracer highlight 2013Clinical tracer highlight 2013
Clinical tracer highlight 2013
 
TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551
TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551
TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551
 
Genogram
GenogramGenogram
Genogram
 
Ha overview.1
Ha overview.1Ha overview.1
Ha overview.1
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
 
Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ IC
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาล
 
Ppt. service profile
Ppt. service profilePpt. service profile
Ppt. service profile
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
 
1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล
1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล
1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
 
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
 

Mais de taem

ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563taem
 
ACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 AgendaACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 Agendataem
 
ACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergencyACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergencytaem
 
ACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulationACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulationtaem
 
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasoundACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasoundtaem
 
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...taem
 
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014taem
 
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical useACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical usetaem
 
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...taem
 
ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change taem
 
ACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk managementACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk managementtaem
 
ACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCIACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCItaem
 
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014taem
 
ACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zoneACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zonetaem
 
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical careACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical caretaem
 
ACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast trackACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast tracktaem
 
ACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED directorACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED directortaem
 
ACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED designACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED designtaem
 
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAtaem
 
ACTEP2014: Ceiling supply unit in ED
ACTEP2014: Ceiling supply unit in EDACTEP2014: Ceiling supply unit in ED
ACTEP2014: Ceiling supply unit in EDtaem
 

Mais de taem (20)

ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
 
ACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 AgendaACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 Agenda
 
ACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergencyACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergency
 
ACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulationACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulation
 
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasoundACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
 
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
 
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
 
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical useACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
 
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
 
ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change
 
ACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk managementACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk management
 
ACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCIACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCI
 
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
 
ACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zoneACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zone
 
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical careACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
 
ACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast trackACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast track
 
ACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED directorACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED director
 
ACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED designACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED design
 
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
 
ACTEP2014: Ceiling supply unit in ED
ACTEP2014: Ceiling supply unit in EDACTEP2014: Ceiling supply unit in ED
ACTEP2014: Ceiling supply unit in ED
 

Thai EMS legislation