SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 60
ชาวฉุก เฉิน สบายใจ..ไม่ถ ก
                         ู
          ฟ้อ ง ?

         ไพศาล ลิ้ม สถิต ย์
  ศูน ย์ก ฎหมายสุข ภาพและจริย ศาสตร์
       คณะนิต ิศ าสตร์ มหาวิท ยาลัย
                 ธรรมศาสตร์
  การประชุม วิช าการเวชศาสตร์ฉ ก เฉิน ุ
       ครัง ที่ 15 “ฉุก เฉิน ก้า วไกล”
           ้
                                          1
เนื้อ หาการบรรยาย
 การให้ค วามยิน ยอมของผู้ป ว ย   ่
  ฉุก เฉิน
 สาระสำา คัญ ของ พ.ร.บ. การแพทย์

  ฉุก เฉิน พ.ศ. 2551
 ประเด็น กฎหมายและจริย ธรรมใน

  การบำา บัด รัก ษาผูป ่ว ยฉุก เฉิน
                     ้
 ข้อ เสนอระยะยาว เพื่อ แก้ไ ขปัญ หา

  การฟ้อ งร้อ งบุค ลากรทางการแพทย์  2
มูล เหตุข องปัญ หาความสัม พัน ธ์
   จาก             การให้บ ริก าร
   สาธารณสุข (บริก ารสุข ภาพ)
1. รูปแบบของการให้บริการรักษาผู้ป่วย
  เปลี่ยนแปลงไปจากในอดีต
2. ภาระงานของบุคลากรทางการแพทย์ และ
  ความคาดหวังของผู้ปวยหรือผู้รับบริการ
                     ่
  สาธารณสุข
3. ปัญหาทักษะการสือสารของฝ่ายผู้ให้การ
                   ่
  รักษา(แพทย์, พยาบาล)
4. การขาดความเข้าใจกฎหมายของผูปฏิบติ
                                   ้   ั
  งาน และกฎหมายที่ล้าสมัย ขาดกลไกระงับ
  ข้อพิพาทที่เหมาะสม             3
(World Medical Association
    Declaration on the Rights of the
    Patient) แปลโดย ศ.นพ.วิฑูรย์ อึ้งประพันธ์ และนายไพศาล
    ลิ้มสถิตย์

3. สิท ธิใ นการตัด สิน ใจเกี่ย วกับ ตนเอง
  ก. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองโดยอิสระ
  โดยทีแพทย์จะต้องแจ้งให้ผู้ป่วยทราบถึงผลทีจะเกิดขึ้น
          ่                                    ่
  จากการตัดสินใจนั้น
4. ผู้ป ่ว ยทีไ ม่ร ู้ส ึก ตัว
                ่
  ก. กรณีผู้ป่วยไม่รู้สึกตัวหรือไม่สามารถแสดงเจตจำานง
  ของตนเองได้ แพทย์จะต้องได้รับความยินยอมจากผู้
  แทนทีมอำานาจตามกฎหมายที่ได้รับการอธิบายข้อมูลแล้ว
            ่ ี
  ข. กรณีทไม่อาจมีผู้แทนที่มอำานาจตามกฎหมาย เมื่อมี
                  ี่             ี
  ความจำาเป็นรีบด่วนทีจะต้องให้การรักษาทางการแพทย์
                               ่
  ให้สันนิษฐานว่าผู้ป่วยให้ความยินยอมแล้ว เว้นแต่เป็นที่
  ชัดเจนและปราศจากข้อสงสัยว่าจะขัดต่อการแสดงเจตนา4
  หรือความคิดเห็นแต่เดิมของผู้ป่วย ซึ่งประสงค์จะไม่ให้
ประกาศสิท ธิผ ู้ป ่ว ย (16 เมษายน
    2541)
      เพื่อให้ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ประกอบวิชาชีพด้าน
  สุขภาพกับผู้ป่วย ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความเข้าใจอันดี
  และเป็นทีไว้วางใจซึ่งกันและกัน แพทยสภา สภาการ
            ่
  พยาบาล สภาเภสัชกรรม ทันตแพทยสภา คณะ
  กรรมการควบคุมการประกอบโรคศิลปะ จึงได้ร่วมกัน
  ออกประกาศรับรองสิทธิของผู้ป่วยไว ้้ดังต่อไปนี้
1. ผูป ว ยทุก คนมีส ท ธิพ ื้น ฐานที่จ ะได้ร ับ
      ้ ่               ิ
  บริก ารด้า นสุข ภาพ ตามที่บ ญ ญัต ิไ ว้ใ น
                                     ั
  รัฐ ธรรมนูญ
       ้ ่    ิ                            5้
2. ผูป ว ยมีส ท ธิท ี่จ ะได้ร ับ บริก ารจากผู
ประกาศสิท ธิผ ู้ป ่ว ย (16 เมษายน
    2541)
3. ผูป ว ยที่ข อรับ บริก ารด้า นสุข ภาพมีส ท ธิท ี่
     ้ ่                                       ิ
  จะได้ร ับ ทราบข้อ มูล อย่า งเพีย งพอและ
  เข้า ใจชัด เจนจากผู้ป ระกอบวิช าชีพ ด้า น
  สุข ภาพ เพื่อ ให้ผ ป ว ยสามารถเลือ กตัด สิน
                         ู้ ่
  ใจในการยิน ยอมหรือ ไม่ย ิน ยอมให้ผ ู้
  ประกอบวิช าชีพ ด้า นสุข ภาพปฏิบ ต ต ่อ ตนั ิ
  เว้น แต่เ ป็น การช่ว ยเหลือ รีบ ด่ว นหรือ จำา เป็น
4. ผูป ว ยที่อ ยู่ใ นภาวะเสีย งอัน ตรายถึง ชีว ิต มี
      ้ ่                      ่
  สิท ธิท ี่จ ะได้ร ับ การช่ว ยเหลือ รีบ ด่ว นจากผู้
                                             6
การให้ค วามยิน ยอมของผู้
    ป่ว ยตามกฎหมาย
คือ พ.ร.บ.สุข ภาพแห่ง ชาติ
          2550




                             7
มาตรา 8 พ.ร.บ.สุข ภาพแห่ง
           ชาติ พ.ศ.2550


     มาตรา 8 ในการบริการสาธารณสุข บุคลากร
ด้านสาธารณสุขต้องแจ้งข้อมูลด้านสุขภาพที่
เกี่ยวข้องกับการให้บริการให้ผู้รับบริการทราบ
อย่างเพียงพอที่ผู้รับบริการจะใช้ประกอบการ
ตัดสินใจในการรับหรือไม่รับบริการใด และใน
กรณีที่ผู้รับบริการปฏิเสธไม่รับบริการใด จะให้
บริการนั้นมิได้
     ในกรณีที่เกิดความเสียหายหรืออันตรายแก่
ผูรับบริการเพราะเหตุที่ผรับบริการปกปิดข้อเท็จ
  ้                      ู้
จริงที่ตนรู้และควรบอกให้แจ้ง หรือแจ้งข้อความ
                                        8
มาตรา 8 พ.ร.บ.สุข ภาพแห่ง ชาติ
            พ.ศ.2550 (ต่อ )

    ความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้บงคับกับกรณีดังต่อ
                                ั
ไปนี้
    (1) ผู้รับบริการอยู่ในภาวะที่เสียงอันตรายถึง
                                    ่
ชีวิตและมีความจำาเป็นต้องให้ความช่วยเหลือ
เป็นการรีบด่วน
    (2) ผู้รับบริการไม่อยู่ในฐานะที่จะรับทราบ
ข้อมูลได้ และไม่อาจแจ้งให้บุคคลซึ่งเป็นทายาท
โดยธรรมตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ผู้  9
นิย ามสำา คัญ ใน พ.ร.บ. การแพทย์
        ฉุก เฉิน พ.ศ. 2551

   “การแพทย์ฉุกเฉิน” หมายความว่า การปฏิบติการั
    ฉุกเฉิน การศึกษา การฝึกอบรม การค้นคว้าและการ
    วิจัยเกี่ยวกับการประเมิน การจัดการ การบำาบัดรักษา
    ผู้ปวยฉุกเฉิน และการป้องกันการเจ็บป่วยที่เกิดขึ้น
        ่
    ฉุกเฉิน
   “ผู้ปวยฉุกเฉิน” หมายความว่า บุคคลซึ่งได้รับบาด
          ่
    เจ็บหรือมีอาการป่วยกะทันหัน ซึ่งเป็นภยันตรายต่อ
    การดำารงชีวิตหรือการทำางานของอวัยวะสำาคัญ
    จำาเป็นต้องได้รับการประเมิน การจัดการและการ
                                            10
หลักเกณฑ์การประเมินเพือคัดแยกผูป่วย
                           ่        ้
     ฉุกเฉินและมาตรฐานการปฏิบัติการ
     ฉุกเฉิน พ.ศ. 2554
   “(1) ผูป ว ยฉุก เฉิน วิก ฤต ได้แก่ บุคคลซึ่งได้รับ
            ้ ่
    บาดเจ็บหรือมีอาการป่วยกะทันหันซึ่งมีภาวะ
    คุกคามต่อชีวิต ซึ่งหากไม่ได้รับปฏิบัติการแพทย์
    ทันทีเพื่อแก้ไขระบบการหายใจ ระบบไหลเวียน
    เลือดหรือระบบประสาทแล้ว ผูป่วยจะมีโอกาสเสีย
                                  ้
    ชีวิตได้สง หรือทำาให้การบาดเจ็บหรืออาการป่วย
                ู
    ของผูป่วยฉุกเฉินนั้นรุนแรงขึ้นหรือเกิดภาวะ
          ้
    แทรกซ้อนขึ้นได้อย่างฉับไว

   (2) ผูป ว ยฉุก เฉิน เร่ง ด่ว น ได้แก่ บุคคลที่ได้รับ
          ้ ่
    บาดเจ็บหรือมีอาการป่วยซึ่งมีภาวะเฉีย11 น บพลั
ประเด็น กฎหมายและจริย ธรรม
    ในการบำา บัด รัก ษา  ผู้ป ว ย
                              ่
    ฉุก เฉิน
 กฎหมายแพ่ง กฎหมายอาญา
 พ.ร.บ.ความรับ ผิด ทางละเมิด ของเจ้า

  หน้า ที่ พ.ศ. 2539
 กฎหมายควบคุม การประกอบ

  วิช าชีพ ทางสาธารณสุข


                              12
กฎหมายแพ่ง ร้อ งเรีย น
 การฟ้อ งร้อ ง   – ค่า
เสีย หาย
กฎหมายอาญา – ความ
ผิด และโทษ
กฎหมายวิช าชีพ        –
พ.ร.บ. วิช าชีพ
วิน ัย         – วิน ัย
ข้า ราชการ              13
การเรีย กค่า เสีย หายกรณี
   ละเมิด
    มาตรา 420 ผูใ ดจงใจหรือ ประมาท
                      ้
เลิน เล่อ ทำา ต่อ บุค คลอื่น โดยผิด กฎหมายให้
เขาเสีย หายถึง แก่ช ว ิต ก็ด ี แก่ร ่า งกายก็ด ี
                        ี
อนามัย ก็ด ี เสรีภ าพก็ด ี ทรัพ ย์ส น หรือ สิท ธิ
                                      ิ
อย่า งหนึง อย่า งใดก็ด ี ท่า นว่า ผูน น ทำา ละเมิด
          ่                             ้ ั้
จำา ต้อ งใช้ค า สิน ไหมทดแทนเพื่อ การนัน
              ่                                   ้
    มาตรา 438 ค่า สิน ไหมทดแทนจะพึง ใช้
โดยสถานใดเพีย งใดนั้น ให้ศ าลวิน จ ฉัย ตาม   ิ
ควรแก่พ ฤติก ารณ์แ ละความร้า ยแรงแห่ง
                                               14
ละเมิด
พ.ร.บ.ความรับ ผิด ทางละเมิด
 ของเจ้า หน้า ที่
 พ.ศ. 2539
“เจ้าหน้าที่” หมายความว่า ข้าราชการ
พนักงาน ลูกจ้าง หรือผู้ปฏิบัติงานประเภท
อื่น ไม่ว่าจะเป็นการแต่งตั้งในฐานะเป็น
กรรมการหรือฐานะอื่นใด
“หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า กระทรวง
ทบวง กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่าง
อื่นและมีฐานะเป็นกรม ราชการส่วนภูมิภาค
ราชการส่วนท้องถิ่น และรัฐวิสาหกิจที่ตั้งขึ้น
โดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา
และให้หมายความรวมถึงหน่วยงานอื่นของ
                                  15
พ.ร.บ.ความรับ ผิด ทางละเมิด
    ของเจ้า หน้า ที่
   มาตรา 5 หน่วยงานของรัฐต้องรับผิด
ต่อผู้เสียหายในผลแห่งละเมิดที่เจ้า
หน้าที่ของตนได้กระทำาในการปฏิบติ   ั
หน้าที่ ในกรณีนผู้เสียหายอาจฟ้อง
                  ี้
หน่วยงานของรัฐดังกล่าวได้โดยตรง แต่
จะฟ้องเจ้าหน้าทีไม่ได้
                ่
   ถ้าการละเมิดเกิดจากเจ้าหน้าที่ซึ่งไม่
ได้สงกัดหน่วยงานของรัฐแห่งใดให้
    ั                            16
พ.ร.บ.ความรับ ผิด ทางละเมิด
 ของเจ้า หน้า ที่
   มาตรา 8 ในกรณีทหน่วยงานของรัฐต้อง
                         ี่
รับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ผู้เสียหายเพื่อ
การละเมิดของเจ้าหน้าที่ ให้หน่วยงานของ
รัฐมีสทธิเรียกให้เจ้าหน้าที่ผทำาละเมิด ชดใช้
      ิ                       ู้
ค่าสินไหมทดแทนดังกล่าวแก่หน่วยงานของ
รัฐได้ ถ้าเจ้าหน้าที่ได้กระทำาการนั้นไปด้วย
ความจงใจหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้าย
แรง
   สิทธิเรียกให้ชดใช้คาสินไหมทดแทน
                            ่
ตามวรรคหนึ่งจะมีได้เพียงใดให้คำา17งถึง
                                    นึ
หลัก ความรับ ผิด ทางอาญา
 การกระทำาโดยเจตนา
 การกระทำาโดยประมาท




                       18
ความหมายของการกระทำา
โดยประมาท
 ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา
59 วรรคสี่
   กระทำาโดยประมาท ได้แก่กระทำา
ความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำา
โดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่ง
บุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตาม
วิส ัย และพฤติก ารณ์ และผู้กระทำาอาจ
                             19
การค้น หาความจริง ว่า
      ประมาทหรือ ไม่
    ค่อ นข้า ง          กำ้า กึ่ง        ไม่ถ ือ ว่า
     ชัด เจน         เกิด การอุด        ประมาท
 ฉีด ยาผิด ,       ในเส้น เลือ ด     ผลเกิด จาก
Kcl                 โลหิต ระหว่า ง   พยาธิส ภาพ
 ให้เ ลือ ดผิด     การคลอด          ของโรค หรือ
 ลืม เครื่อ งมือ
                    (Aminotic        เหตุแ ทรกซ้อ น
                    fluid            ที่เ ป็น ผลจาก
ไว้ใ นท้อ งผู้      embolism)        การวิน จ ฉัย
                                               ิ
ป่ว ย
                     การติด เชือ
                                ้    ตามปกติห รือ
 เด็ก ตกเตีย ง                              20
                    ทำา ให้ต าย      รัก ษาโรคตาม
สาระสำา คัญ ของ พ.ร.บ. การ
      แพทย์ฉ ุก เฉิน พ.ศ. 2551
        มาตรา ๒๘ เพื่อคุ้มครองความปลอดภัยของผู้ป่วยฉุกเฉิน
ให้หน่วยปฏิบัติการ สถานพยาบาล และผู้ปฏิบัติการ ดำาเนินการ
ปฏิบัติการฉุกเฉิน ตามหลักการดังต่อไปนี้
        (๑) ตรวจคัดแยกระดับความฉุกเฉินและจัดให้ผู้ป่วยฉุกเฉิน
ได้รับการปฏิบัติการฉุกเฉิน
ตามลำาดับความเร่งด่วนทางการแพทย์ฉุกเฉิน
        (๒) ผู้ป่วยฉุกเฉินต้องได้รับการปฏิบัติการฉุกเฉินจนเต็มขีด
ความสามารถของหน่วยปฏิบัติการหรือสถานพยาบาลนั้นก่อนการ
ส่งต่อ เว้นแต่มีแพทย์ให้การรับรองว่าการส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉินจะเป็น
ประโยชน์ต่อการป้องกันการเสียชีวิตหรือการรุนแรงขึ้นของการเจ็บ
ป่วยของผู้ป่วยฉุกเฉินนั้น
        (๓) การปฏิบัติการฉุกเฉินต่อผู้ป่วยฉุกเฉินต้องเป็นไปตาม
ความจำา เป็นและข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ฉุกเฉิน โดยมิให้นำาสิทธิการ
ประกัน การขึ้นทะเบียนสถานพยาบาล หรือความสามารถในการรับ
ผิดชอบค่าใช้จ่ายของผู้ป่วยฉุกเฉินหรือเงือนไขใด ๆ มาเป็นเหตุ
                                          ่             21
สาระสำา คัญ ของ พ.ร.บ. การ
       แพทย์ฉ ุก เฉิน พ.ศ. 2551
        มาตรา ๒๙ เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติการฉุกเฉินให้เป็นไป
ตามหลักการตามมาตรา ๒๘ กพฉ. มีอำานาจประกาศกำาหนดในเรื่อง
ดังต่อไปนี้
        (๑) ประเภท ระดับ อำานาจหน้าที่ ขอบเขต ความรับผิดชอบ
หรือข้อจำากัดของผู้ปฏิบัติการ
หน่วยปฏิบัติการ และสถานพยาบาล
        (๒) หลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ของผู้
ปฏิบัติการ หน่วยปฏิบัติการ
และสถานพยาบาล
        (๓) มาตรฐานการปฏิบัติการฉุกเฉิน
        (๔) หลักเกณฑ์และวิธการเกี่ยวกับการประสานงานและการ
                              ี
รายงานของหน่วยปฏิบัติการและ
                                                      22
สถานพยาบาลในการปฏิบัติการฉุกเฉิน รวมทั้งความพร้อมเกี่ยวกับ
ฉุก เฉิน
    เรื่อ ง ข้อ กำา หนดว่า ด้ว ยสถาน
    พยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๔

      ข้อ ๕ เมือมีเหตุฉุกเฉินหรือเหตุภยันตรายต่อผู้ป่วย
               ่
ฉุกเฉิน ซึ่งหากปล่อยไว้เช่นนันจะเป็นอันตรายต่อชีวิต
                                ้
หรือการรุนแรงขึ้นของการบาดเจ็บหรืออาการป่วยของ
ผู้ป่วยฉุกเฉินได้ให้สถานพยาบาลมีอำานาจหน้าทีดำาเนิน
                                                ่
การตามมาตรา ๒๘ และมาตรา ๒๙ วรรคหนึ่ง แห่งพระ
ราชบัญญัติการแพทย์ฉกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๑ รวมทัง
                          ุ                       ้
มาตรา ๓๔ มาตรา ๓๕ และมาตรา ๓๖ แห่งพระราช
บัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๑ และกฎทีออกตาม   ่
กฎหมายดังกล่าวโดยอนุโลมตลอดจนกระทำาการใด ๆ
อันจะมีผลเป็นการควบคุม ระงับ หรือบรรเทาผลร้ายจาก
                                              23
อันตรายและความเสียหายทีเกิดขึ้นนั้นได้อย่างทันท่วงที
                              ่
ฉุก เฉิน
    เรื่อ ง ข้อ กำา หนดว่า ด้ว ยสถาน
    พยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๔ (ต่อ )
     ในกรณีที่แพทย์ให้การรับรองว่าการส่งต่อผู้
ป่วยฉุกเฉินจะเป็นประโยชน์ต่อการป้องกันการ
เสียชีวิตหรือการรุนแรงขึ้นของการเจ็บป่วยของผู้
ป่วยฉุกเฉินนั้น หรือเกินขีดความสามารถตามนัย
แห่งมาตรา ๒๘ (๒) แห่งพระราชบัญญัติการ
แพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๑ สถานพยาบาลอาจ
แจ้งต่อหน่วยปฏิบติการที่ปฏิบติการอำานวยการ
                 ั           ั
เพื่อดำาเนินการให้สถานพยาบาลอื่นใดที่มีขีด
ความสามารถเพียงพอรับปฏิบติการฉุกเฉินแก่ผู้
                               ั
ป่วยฉุกเฉินรายนั้นต่อได้ทันท่วงที ทั้งนี้ในกรณีที่
ไม่สามารถดำาเนินการตามข้างต้นได้ ให้แจ้งต่อ
สพฉ.                                      24
ฉุก เฉิน
   เรื่อ ง ข้อ กำา หนดว่า ด้ว ยสถาน
   พยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๔
       ผู้ใดเจ็บป่วยฉุกเฉินหรือพบผู้ปวยฉุกเฉินซึ่ง
                                       ่
อาจเป็นอันตรายต่อชีวิตหรือการรุนแรงขึ้นของ
การบาดเจ็บหรืออาการป่วยของผูป่วยฉุกเฉินนัน
                                     ้            ้
อันเนืองจากสถานพยาบาลไม่ได้ปฏิบัติตามวรรค
          ่
หนึง มีสิทธิแจ้ง สพฉ. หรือผู้ได้รับมอบหมาย
     ่
เพื่อดำาเนินการให้มีการปฏิบติการฉุกเฉินต่อผู้
                               ั
ป่วยฉุกเฉินนันตามสมควรแก่กรณี
                 ้
       ในการดำาเนินการตามวรรคหนึง วรรคสอง่
และวรรคสาม ให้ สพฉ. จัดให้มีช่องทางสำาหรับ
การแจ้งดังกล่าวได้โดยสะดวกและทันท่วงที     25
ฉุก เฉิน
 เรื่อ ง ข้อ กำา หนดว่า ด้ว ยสถาน
 พยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๔
   ข้อ ๗ สถานพยาบาล รวมทั้งผูปฏิบติการใน
                                ้    ั
สถานพยาบาล ที่ปฏิบติตามหลักเกณฑ์เงื่อนไข
                    ั
และมาตรฐานที่ กพฉ. กำาหนด มีสิทธิได้รับการ
สนับสนุนการปฏิบัติงาน การอุดหนุนการดำาเนิน
การเกี่ยวกับการแพทย์ฉุกเฉิน หรือค่าชดเชยใน
การปฏิบัติการฉุกเฉินจากกองทุน ทั้งนี้ตามหลัก
เกณฑ์และเงื่อนไขที่ กพฉ. กำาหนด . . .

                                   26
สาระสำา คัญ ของ พ.ร.บ. การ
       แพทย์ฉ ุก เฉิน พ.ศ. 2551
         มาตรา ๓๒ ในกรณีที่ผลการสอบสวนตามมาตรา ๓๑ ปรากฏ
ว่า ผู้ปฏิบัติการ หน่วยปฏิบัติการ หรือสถานพยาบาลใดไม่ปฏิบัติตาม
หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และมาตรฐานที่กำาหนดและการกระทำาดังกล่าว
เป็นความผิดตามกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ หรือระเบียบที่เกี่ยวข้อง ให้
กพฉ.ดำาเนินการอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้
         (๑) ตัก เตือ นเป็น หนัง สือ ให้ผู้ปฏิบัติการ หน่วยปฏิบัติการ
หรือสถานพยาบาลนั้นปฏิบัติให้
ถูกต้อง
         (๒) แจ้งเรื่องไปยังผู้มีอำานาจตามกฎหมายที่มีอ ำา นาจ
ควบคุม การดำา เนิน การของหน่ว ย
ปฏิบ ัต ิก าร เพื่อพิจารณาดำาเนินการตามอำานาจหน้าที่
         (๓) แจ้งเรื่องไปยังผู้มีอำานาจตามกฎหมายเพื่อพิจารณา
ดำา เนิน การทางวิน ัย แก่ผู้ดำาเนินการ                     27
กฎหมายควบคุม การประกอบ
 วิช าชีพ ทางสาธารณสุข
( พระราชบัญ ญัต ิก ารแพทย์ พ .ศ.
   2466)
 พ.ร.บ. การประกอบโรคศิล ปะ

   (พ.ศ. 2479, 2542)
 พ.ร.บ. วิช าชีพ เวชกรรม (พ.ศ.

   2511, 2525)
 พ.ร.บ. วิช าชีพ พยาบาล (พ.ศ.

   2528, 2540)
                              28
 พ.ร.บ. วิช าชีพ เภสัช กรรม (พ.ศ.
พระราชบัญ ญัต ิว ิช าชีพ การพยาบาล
     และการผดุง ครรภ์              พ.ศ.
     2528
“การประกอบวิช าชีพ การพยาบาล ” หมายความ
ว่า การปฏิบติหน้าที่การพยาบาลต่อบุคคล
           ั
ครอบครัว และชุมชน โดยการกระทำาต่อไปนี้
(๑) การสอน การแนะนำา การให้คำาปรึกษาและการแก้
ปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย
(๒) การกระทำาต่อร่างกายและจิตใจของบุคคล รวมทั้งการ
จัดสภาพแวดล้อม เพือการแก้ปัญหาความเจ็บป่วย การ
                   ่
บรรเทาอาการของโรค การลุกลามของโรค และการฟื้นฟู
สภาพ
(๓) การกระทำาตามวิธีทกำาหนดไว้ในการรักษาโรคเบื้องต้น
                     ี่
และการให้ภมคุ้มกันโรค
            ู ิ                          29
“ระเบีย บกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วย
บุคคลซึ่งกระทรวง ทบวง กรม กรุงเทพมหานคร
เมืองพัทยา องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล
สุขาภิบาล องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นอื่นหรือ
สภากาชาดไทย มอบหมายให้ประกอบวิชาชีพ
เวชกรรมในความควบคุมของเจ้าหน้าที่ซึ่งเป็นผู้
ประกอบวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2539” และ
ฉบับที่ 2 (2540)
                                     30
กฎหมายอื่น ๆ
   พ.ร.บ.สุข ภาพแห่ง ชาติ พ.ศ. 2550
   พ.ร.บ.หลัก ประกัน สุข ภาพแห่ง ชาติ
    พ.ศ. 2545
   ร่า งพ.ร.บ.คุม ครองผู้เ สีย หายจากการ
                 ้
    รับ บริก ารสาธารณสุข พ.ศ. ....


                                 31
พระราชบัญ ญัต ิส ุข ภาพแห่ง
   ชาติ พ.ศ. 2550
    มาตรา 12 บุคคลมีสิทธิทำาหนังสือแสดง
เจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไป
เพียงเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตตน
หรือเพื่อยุติการทรมานจากการเจ็บป่วยได้
    การดำาเนินการตามหนังสือแสดงเจตนาตาม
วรรคหนึง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธการที่
          ่                            ี
กำาหนดในกฎกระทรวง
    เมื่อผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุขได้ปฏิบติ
                                             ั
ตามเจตนาของบุคคลตามวรรคหนึ่งแล้วมิ32 ถือว่า
                                      ให้
วัต ถุป ระสงค์ข อง living will/
advance directives

    เอกสารแสดงเจตจำา นงล่ว งหน้า เป็น
เอกสารที่จ ัด ทำา เป็น               ลายลัก ษณ์
อัก ษรพร้อ มลายมือ ชื่อ หรือ เป็น คำา
กล่า วต่อ หน้า บุค คลที่เ ป็น พยานซึ่ง ได้
บัน ทึก ตามความต้อ งการของเขาเกี่ย ว
กับ การรัก ษาทางการแพทย์ ที่เ ขา
ประสงค์ห รือ ไม่ป ระสงค์จ ะรับ การรัก ษา
เมื่อ บุค คลผู้น ั้น ไม่ร ู้ส ก ตัว หรือ ไม่
                              ึ
สามารถแสดงเจตจำา นงของตนเองได้            33
แนวคิด เรื่อ งหนัง สือ แสดงเจ
       ตนาฯ (Living Will)
   เป็น สิท ธิผ ู้ป ว ย ได้ร ับ การรับ รองตาม
                     ่
    ปฏิญ ญาลิส บอนว่า ด้ว ยสิท ธิผ ู้ป ่ว ย (The
    World Medical Association
    Declaration on the Rights of the
    Patient) (1981, 2005)
    10. สิท ธิใ นศัก ดิ์ศ รีข องผูป ว ย
                                   ้ ่
      ค. ผูป่วยมีสิทธิที่จะได้รับการรักษาพยาบาลใน
           ้
    วาระสุดท้ายอย่างมีมนุษยธรรม และมีสทธิที่จะได้รับ
                                          ิ
                                            34
    ความช่วยเหลือทุกอย่าง เพื่อจะช่วยให้ผู้ปวยเสีย
                                             ่
ตาย
    ศาสตราจารย์แ พทย์ห ญิง สุม าลี นิม มาน
                    นิต ย์

 เมื่อใกล้ตาย ความอ่อนเพลียเป็นสิ่งที่ควร
  ยอมรับ ไม่จำาเป็นต้องให้การรักษาใดๆ
  สำาหรับความอ่อนเพลียที่เกิดขึ้น เพราะจะ
  เกิดผลเสียมากกว่าผลดี ควรให้ผู้ปวยใน
                                    ่
  ระยะนี้ได้พักผ่อนให้เต็มที่
 คนใกล้ตายจะเบื่ออาหาร และกินอาหาร

  น้อยลง จากการศึกษาพบว่าความเบื่อ
  อาหารที่เกิดขึ้นเป็นผลดีมากกว่าผลเสีย
                                    35
“กฎกระทรวงกำาหนดหลักเกณฑ์และวิธี
การดำาเนินการตามหนังสือแสดงเจตนาไม่
ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไป
เพียงเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิต
หรือเพื่อยุติการทรมานจากการเจ็บป่วย พ.ศ.
2553” (เล่ม 127 ตอนที่ 65 ก ลงวัน ที่ 22
ตุล าคม 2553 ( มีผ ลใช้บ ง คับ วัน ที่ 20
                         ั
พฤษภาคม 2554)
                                       36
เนื้อ หาของกฎกระทรวง
คำา นิย าม
     “หนัง สือ แสดงเจตนา” หมายความ
 ว่า หนังสือซึ่งบุคคลแสดงเจตนาไว้ล่วง
 หน้าว่าไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุข
 ที่เป็นไปเพียงเพือยืดการตายในวาระ
                   ่
 สุดท้ายของชีวิตตนหรือเพื่อยุติการทรมาน
 จากการเจ็บป่วย
                                37
คำา นิย าม
     “บริก ารสาธารณสุข ที่เ ป็น ไปเพีย ง
เพือ ยืด การตายในวาระสุด ท้า ยของ
   ่
ชีว ิต หรือ เพื่อ ยุต ิก ารทรมานจากการ
เจ็บ ป่ว ย” หมายความว่า วิธการที่ผู้
                               ี
ประกอบวิชาชีพเวชกรรมนำามาใช้กับผู้ทำา
หนังสือแสดงเจตนาเพื่อประสงค์จะยืดการ
ตายในวาระสุดท้ายของชีวิตออกไป โดยไม่
ทำาให้ผู้ทำาหนังสือแสดงเจตนาพ้นจากความ
                                  38
ตายหรือยุติการทรมานจากการเจ็บป่วย
คำา นิย าม
   “วาระสุด ท้า ยของชีว ิต ” หมายความว่า
ภาวะของผู้ทำาหนังสือแสดงเจตนาอันเกิดจากการ
บาดเจ็บหรือโรคที่ไม่อาจรักษาให้หายได้และจาก
การพยากรณ์โรคตามมาตรฐานทางการแพทย์
เห็นว่า ภาวะนั้นนำาไปสู่การตายอย่างหลีกเลี่ยงไม่
ได้ในระยะเวลาอันใกล้จะถึง และให้รวมถึงภาวะ
ของผูทำาหนังสือแสดงเจตนาที่ได้รับการวินจฉัย
      ้                                  ิ
ตามมาตรฐานทางการแพทย์ว่า มีการสูญเสีย
หน้าที่อย่างถาวรของเปลือกสมองใหญ่ที่ทำาให้
                                    39
ขาดความสามารถในการรับรู้และติดต่อสือสาร่
40
41
ประเทศอัง กฤษ
      General Medical Council (GMC)
   Withholding and withdrawing life-prolonging
    treatments: Good practice in decision-making
    This guidance develops the advice in Good
    Medical Practice (2006). It sets out the standards
    of practice expected of doctors when they
    consider whether to withhold or withdraw life-pr
    olonging treatments.

                                           42        42
ประเทศอัง กฤษ
     British Medical Association (BMA)
   End-of-life decisions: BMA views
   Advance decisions and proxy decision-making
    in medical treatment and research (2007)
   Withholding and withdrawing life-prolonging
    medical treatment: guidance for decision makin
    g (3rd edition 2007)
   End of life - withdrawing and withholding
    artificial nutrition and hydration (2007)
                                        43       43
ข้อ เสนอระยะยาว เพื่อ แก้ไ ข
ปัญ หาการฟ้อ งร้อ งบุค ลากร
      ทางการแพทย์แ ละ
        สาธารณสุข




                               44
สรุป จำา นวนคดีฟ ้อ งแพทย์ ตั้ง แต่ ปี พ .ศ.
                      2539 – 2553)
(เฉพาะโจทย์ย น ฟ้อ งกระทรวงสาธารณสุข และสำา นัก
                        ื่
                           งานปลัด ฯ)
     คดีแ พ่ง (121 คดี)
                                                   * รวมคดีแ พ่ง ที่ย ัง อยู่ใ นชั้น
                      31
                                                  ศาล 64 คดี
40

                                   ศาลชันต้น
                                        ้          * ทุน ทรัพ ย์ท ี่ฟ อ งประมาณ
                                                                      ้
                                   ศาลอุ ท ธรณ์   739.9 ล้า นบาทเศษ
                                   ศาลฎีกา

                                                   * กระทรวงสาธารณสุข ชำา ระ
                           19      ถึงที่ สุ ด
     6
                                   จำาหน่าย
          11
                                                  ตามคำา พิพ ากษาแล้ว ประมาณ
                 14
                                   ถอนฟ้อ ง


                                                  15.7 ล้าคดีอาญา (14 คดี)
                                                          นบาท
                                                              2
                                                                       3

                                                      1

                                                                               พนักงานสอบสวน
                                                                               พนักงานอั ยการ
                                                  2
                                                                               ศาลชันต้น
                                                                                    ้
                                                                               ศาลอุ ท ธรณ์
                                                          1             5
                                                                               ถอนฟ้อ ง
                                                                               ถึง ที่ สุ ด




                                                                  45
                                ที่ม า : กลุ่ม กฎหมาย สำา นัก งานปลัด กระทรวงสาธา
พ.ร.บ.หลัก ประกัน สุข ภาพแห่ง
   ชาติ พ.ศ. 2545
     มาตรา 41 ให้คณะกรรมการกันเงินจำานวน
ไม่เกินร้อยละหนึ่งของเงินที่จะจ่ายให้หน่วย
บริการไว้เป็นเงิน ช่ว ยเหลือ เบือ งต้น ให้กับผูรับ
                                ้              ้
บริการ ในกรณีที่ผรับบริการได้รับความเสียหาย
                    ู้
ที่เกิดขึ้นจากการรักษาพยาบาลของหน่วยบริการ
 โดยหาผู้กระทำาผิดมิได้หรือหาผู้กระทำาผิดได้แต่
ยังไม่ได้รับความเสียหายภายในระยะเวลาอัน
สมควร ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ
เงื่อนไขที่คณะกรรมการกำาหนด             46
พ.ร.บ.หลัก ประกัน สุข ภาพแห่ง
       ชาติ พ.ศ. 2545

   ข้อบังคับคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่ง
    ชาติว่าด้วย หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไข ใน
    การจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้น กรณีผู้รับบริการ
    ได้รับความเสียหายจากการรักษาพยาบาล พ.ศ.
    2549

   ข้อบังคับคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่ง
    ชาติว่าด้วย หลักเกณฑ์การจ่ายเงินช่วยเหลือ
                                         47
    เพื่อการชดเชย กรณีผู้ให้บริการได้รับความเสีย
สรุป สถิต ิก ารจ่า ยเงิน ช่ว ยเหลือ
  เบื้อ งต้น ตามมาตรา 41 แห่ง
พรบ.หลัก ประกัน สุข ภาพแห่ง ชาติ
             พ.ศ. 2545
                ผลการพิจ ารณา



                                             จำา นวนเงิน
       จำา นวน
                                             ช่ว ยเหลือ
       คำา ร้อ ง
                                             ตาม ม.41
        (ราย)
                                                (บาท)

                      ไม่เ ข้า      เข้า
                      เกณฑ์        เกณฑ์
                      (ราย)        (ราย)
2547     99        ที่ม า :26า นัก งานหลัก ประกัน สุข ภาพแห่ง
                            สำ         73     4,865,000
                                             48
สรุป จำา นวนเรื่อ งที่ข อรับ เงิน ช่ว ย
                           เหลือ เบือ งต้น
                                    ้
                          และเรื่อ งอุท ธรณ์
จำา นวน(ราย)

   900                                    810
   800
   700
                                                      658
                                                                          เรือ งขอรับ
                                                                             ่
   600                                     511
                                                                          เงินทัง หมด
                                                                                ้
   500                          443
   400
   300               221                                                  อุท ธรณ์
   200     99
                                      60         58          74      67
   100          12         32

     0
          2547       2548       2549       2550       2551        2552


                                   ที่ม า : สำา นัก งานหลัก ประกัน สุข ภาพแห่ง
                                                              49
จำา นวนผูป ว ยที่ไ ด้ร ับ ความเสีย หายและได้ร ับ การ
         ้ ่
      ช่ว ยเหลือ ตาม ม.41 (ปี46-52)
                      ผู้ไ ด้ร ับ
     สาขา            ความเสีย เสีย ชีว ิต                   พิก าร   บาดเจ็บ
                       หาย
 กุม าร
 เวชกรรม                       262            184               20       58
 อายุร กรรม                    395            289               36       70
 ศัล ยกรรม                     410            216               69      125
 สูต ิ
                      1,032( 528(5 180( 324(
 นรีเ วช
                       46%)    1%) 18%) 31%)
 กรรม
 อื่น ๆ   สำานักกฎหมาย สปสช.
                               166   กลุ่มงานพิทักษ์สิทธิ
                                                 46             5150      50
                                                                         69
สรุป ผลการจ่า ยเงิน ช่ว ยชดเชยความเสีย
        หายผู้ใ ห้บ ริก าร ม.18(4)
      ปี ประเภ ประเภ ประเภ     รวม     จ่า ยช่ว ย
             ท     ท    ท
          เสีย พิก าร บาด      (คน)        เงิน
            ชีว ิ      เจ็บ              (ล้า น
             ต
                                          บาท)
     2547    1    0     10       11       0.20
     2548    5    0     41       46       0.93
     2549    0    0     48       48       0.32
     2550    2    4    191      197       3.54
     2551    2    2    469      473       9.40
     2552    3    1    660      664       6.88
     รว     13    7    1,419   1,439      21.29
      ม
                                         51
ร่า งพ.ร.บ.
คุ้ม ครองผู้เ สีย หายจากการรับ
 บริก ารสาธารณสุข พ .ศ. ....

             “ร่า งพระราชบัญ ญัต ิ
คุม ครองผู้ร ับ บริก ารและผูใ ห้บ ริก าร
   ้                         ้
ที่ไ ด้ร ับ ความเสีย หายจากการบริก าร
            สาธารณสุข พ.ศ. .... ”
                                           52
เหตุผ ลของการเสนอร่า ง
       พ.ร.บ.คุ้ม ครองผู้เ สีย หาย ฯ
        การให้การช่วยเหลือเบื้องต้นกับผู้เสียหายจากการรับบริการ
    สาธารณสุขมีความจำากัด เฉพาะผู้ใช้บริการในระบบหลักประกัน
    สุขภาพแห่งชาติเท่านั้น ไม่รวมถึงระบบสวัสดิการข้าราชการและ
    ระบบประกันสังคม หรือแม้แต่การใช้บริการของโรงพยาบาล
    เอกชน ทำาให้ผู้ได้รับความเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข
    ไม่มีทางเลือก ในการดำาเนินการที่จะได้รับการชดเชยความเสีย
    หาย
        การฟ้องร้องตามกระบวนการยุติธรรม มีปัญหาหลายประการ
    และส่งผลต่อความสัมพันธ์ของผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์
    และสาธารณสุขกับผู้ป่วย
        การมีกฎหมายคุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการ
    สาธารณสุข ที่ครอบคลุมทุกคนโดยมีเป้าหมายเพือชดเชยความ
                                                   ่
    เสียหายที่เกิดขึ้น ลดคดีความในการฟ้องร้องและความขัดแย้ง
    ระหว่างแพทย์กับคนไข้
        ดังนั้น เมื่อเกิดปัญหาความเสียหายดังกล่าวจึงควรให้มีการ
                                                       53
ร่า งพ.ร.บ.คุ้ม ครองผู้เ สีย หาย
  จากการรับ บริก ารสาธารณสุข
  พ.ศ. ....
   มาตรา ๕ บุคคลผู้เสียหายมีสิทธิได้รับเงิน
ช่วยเหลือเบื้องต้นและเงินชดเชยจากกองทุน
ตามพระราชบัญญัตินี้ โดยไม่ต้องพิสูจน์
ความรับผิด




                                  54
ร่า งพ.ร.บ.คุ้ม ครองผู้เ สีย หายจาก
  การรับ บริก ารสาธารณสุข
  พ.ศ. ....
    มาตรา ๖ บทบัญญัติในมาตรา ๕ มิให้ใช้
บังคับในกรณีดังต่อไปนี้
    (๑) ความเสียหายที่เกิดขึ้นตามปกติธรรมดา
ของโรคนั้น แม้มีการให้บริการตามมาตรฐาน
วิชาชีพ
    (๒) ความเสียหายซึ่งหลีกเลี่ยงมิได้จากการให้
บริการสาธารณสุขตามมาตรฐานวิชาชีพ
    (๓) ความเสียหายที่เมื่อสิ้นสุดกระบวนการ
รักษาแล้วไม่มีผลกระทบต่อการดำารงชีวิตตาม
ปกติ                                   55
ร่า งพ.ร.บ.คุ้ม ครองผู้เ สีย หายจาก
 การรับ บริก ารสาธารณสุข
 พ.ศ. ....
     มาตรา ๗ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง
เรียกว่า “คณะกรรมการสร้างเสริมความสัมพันธ์
ที่ดีในระบบบริการสาธารณสุข” ประกอบด้วย
     (๑) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขเป็น
ประธานกรรมการ
     (๒) ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ปลัดกระทรวง
การคลัง ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนุษย์ อธิบดีกรมคุมครองสิทธิ
                                ้
และเสรีภาพ เลขาธิการคณะกรรมการคุมครองผู้
                                   ้
บริโภค และ ผู้อำานวยการสำานักงบประมาณ
     (๓) ผูแทนสถานพยาบาล จำานวนสามคน
           ้                      56
ร่า งพ.ร.บ.คุ้ม ครองผู้เ สีย หายจาก
 การรับ บริก ารสาธารณสุข
 พ.ศ. ....
   มาตรา ๒๐ “กองทุนสร้างเสริมความ
สัมพันธ์ที่ดีในระบบบริการสาธารณสุข”
   มาตรา ๒๑ การจ่ายเงินสมทบของสถาน
พยาบาลเอกชน




                            57
ร่า งพ.ร.บ.คุ้ม ครองผู้เ สีย หายจาก
  การรับ บริก ารสาธารณสุข
  พ.ศ. ....
     มาตรา ๒๕ ผูเสียหายอาจยื่นคำาขอรับเงินค่าเสีย
                    ้
หายตามพระราชบัญญัตนี้ตอสำานักงานหรือหน่วยงาน
                        ิ ่
หรือองค์กรที่สำานักงานกำาหนด ภายในสามปีนบแต่วัน
                                             ั
ที่ได้รู้ถงความเสียหายและรู้ตวผูให้บริการสาธารณสุข
          ึ                  ั ้
ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหาย แต่ทงนี้ตองไม่เกินสิบปีนับ
                               ั้     ้
แต่วันทีรู้ถึงความเสียหาย
            ่
     ในกรณีทผู้เสียหายถึงแก่ชีวต เป็นผูไร้ความ
               ี่                 ิ     ้
สามารถ หรือไม่สามารถยื่นคำาขอด้วยตนเองได้
ทายาท หรือผูอนุบาล หรือบุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งได้
                  ้
รับการมอบหมายเป็นหนังสือจากผูเสียหาย58 วแต่
                                    ้      แล้
ร่า งพ.ร.บ.คุ้ม ครองผู้เ สีย หายจาก
 การรับ บริก ารสาธารณสุข
 พ.ศ. ....
   มาตรา ๓๓ การทำาสัญญาประนีประนอม
ยอมความ
   มาตรา ๓๘ กระบวนการไกล่เกลี่ย
   มาตรา ๔๒ การพัฒนาระบบความ
ปลอดภัยและป้องกันความเสียหายของสถาน
พยาบาล
   มาตรา ๔๕ การเปิดโอกาสให้ศาล
พิจารณาโทษจำาเลยในคดีอาญา โดยศาล
                             59
ข้อ เสนอระยะยาว เพื่อ แก้ไ ข
  ปัญ หาการฟ้อ งร้อ งบุค ลากร
  ทางการแพทย์แ ละสาธารณสุข
1. มีกลไกการพัฒนาระบบบริการและการ
บริหารความเสียง
              ่
2. พัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน การฝึก
อบรม ที่เน้นการให้บริการสุขภาพด้วยหัวใจ
ความเป็นมนุษย์
3. เสนอให้มีกฎหมายเยียวยาผูเสียหายเบืองต้น
                            ้        ้
โดยไม่ต้องฟ้องศาล
4. ปฏิรูปกลไกควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพ
                                   60
(แพทยสภา) เพื่อให้มีความอิสระ มีความน่าเชือ
                                          ่

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

กฎหมาย2552
กฎหมาย2552กฎหมาย2552
กฎหมาย2552puangpaka
 
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยสิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยSutthiluck Kaewboonrurn
 
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์Utai Sukviwatsirikul
 
Thai Health Insurance
Thai Health InsuranceThai Health Insurance
Thai Health Insurancethaitrl
 
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขdentyomaraj
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้าน
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้านพรบ คุ้มครอง มองรอบด้าน
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้านthaitrl
 
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697dentyomaraj
 

Mais procurados (19)

10 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
10 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง10 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
10 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
 
กฎหมาย2552
กฎหมาย2552กฎหมาย2552
กฎหมาย2552
 
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยสิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
 
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
 
11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ
11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ
11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ
 
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาลการบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
2 p safety kanniga 60
2 p safety kanniga 602 p safety kanniga 60
2 p safety kanniga 60
 
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
 
การพัฒนาคุณภาพจากการทบทวน
การพัฒนาคุณภาพจากการทบทวนการพัฒนาคุณภาพจากการทบทวน
การพัฒนาคุณภาพจากการทบทวน
 
Thai Health Insurance
Thai Health InsuranceThai Health Insurance
Thai Health Insurance
 
เทคนิค ชลบุรี
เทคนิค ชลบุรีเทคนิค ชลบุรี
เทคนิค ชลบุรี
 
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาล
 
White paper on_no_fault
White paper on_no_faultWhite paper on_no_fault
White paper on_no_fault
 
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้าน
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้านพรบ คุ้มครอง มองรอบด้าน
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้าน
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการเหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
 
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
 

Destaque

คำพิพากษาคดีแพทย์ฉีดยาชา คนไข้ตาย
คำพิพากษาคดีแพทย์ฉีดยาชา คนไข้ตายคำพิพากษาคดีแพทย์ฉีดยาชา คนไข้ตาย
คำพิพากษาคดีแพทย์ฉีดยาชา คนไข้ตายWatcharaphat Maneechaeye
 
TAEM10:Risk Management in ER
TAEM10:Risk Management in ERTAEM10:Risk Management in ER
TAEM10:Risk Management in ERtaem
 
คำพิพากษาศาลฎีกา คดีดญ.มาริสา ทินนึง-กระทรวงสาธารณสุข
คำพิพากษาศาลฎีกา คดีดญ.มาริสา ทินนึง-กระทรวงสาธารณสุขคำพิพากษาศาลฎีกา คดีดญ.มาริสา ทินนึง-กระทรวงสาธารณสุข
คำพิพากษาศาลฎีกา คดีดญ.มาริสา ทินนึง-กระทรวงสาธารณสุขปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 

Destaque (12)

แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
Present 17 2-55 eng ver
Present 17 2-55 eng verPresent 17 2-55 eng ver
Present 17 2-55 eng ver
 
คำพิพากษาคดีแพทย์ฉีดยาชา คนไข้ตาย
คำพิพากษาคดีแพทย์ฉีดยาชา คนไข้ตายคำพิพากษาคดีแพทย์ฉีดยาชา คนไข้ตาย
คำพิพากษาคดีแพทย์ฉีดยาชา คนไข้ตาย
 
คำพิพากษาศาลฎีกา(แพ่ง)คดีร่อนพิบูลย์ 11พ.ค.59
คำพิพากษาศาลฎีกา(แพ่ง)คดีร่อนพิบูลย์ 11พ.ค.59คำพิพากษาศาลฎีกา(แพ่ง)คดีร่อนพิบูลย์ 11พ.ค.59
คำพิพากษาศาลฎีกา(แพ่ง)คดีร่อนพิบูลย์ 11พ.ค.59
 
TAEM10:Risk Management in ER
TAEM10:Risk Management in ERTAEM10:Risk Management in ER
TAEM10:Risk Management in ER
 
หลักกฎหมายอาญาทั่วไป
หลักกฎหมายอาญาทั่วไปหลักกฎหมายอาญาทั่วไป
หลักกฎหมายอาญาทั่วไป
 
จริยธรรม
จริยธรรมจริยธรรม
จริยธรรม
 
ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียน
 
แถลงการณ์คดีผ่าไส้ติ่งร่อนพิบูลย์
แถลงการณ์คดีผ่าไส้ติ่งร่อนพิบูลย์แถลงการณ์คดีผ่าไส้ติ่งร่อนพิบูลย์
แถลงการณ์คดีผ่าไส้ติ่งร่อนพิบูลย์
 
Kanniga 31 jan
Kanniga 31 janKanniga 31 jan
Kanniga 31 jan
 
คำพิพากษาศาลฎีกา คดีดญ.มาริสา ทินนึง-กระทรวงสาธารณสุข
คำพิพากษาศาลฎีกา คดีดญ.มาริสา ทินนึง-กระทรวงสาธารณสุขคำพิพากษาศาลฎีกา คดีดญ.มาริสา ทินนึง-กระทรวงสาธารณสุข
คำพิพากษาศาลฎีกา คดีดญ.มาริสา ทินนึง-กระทรวงสาธารณสุข
 
คำพิพากษาคดีอาญา ผ่าไส้ติ่งรพ.ร่อนพิบูลย์
คำพิพากษาคดีอาญา ผ่าไส้ติ่งรพ.ร่อนพิบูลย์คำพิพากษาคดีอาญา ผ่าไส้ติ่งรพ.ร่อนพิบูลย์
คำพิพากษาคดีอาญา ผ่าไส้ติ่งรพ.ร่อนพิบูลย์
 

Semelhante a ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์

การป้องกันการฟ้องร้องผู้ป่วยฉุกเฉิน อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
การป้องกันการฟ้องร้องผู้ป่วยฉุกเฉิน อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์การป้องกันการฟ้องร้องผู้ป่วยฉุกเฉิน อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
การป้องกันการฟ้องร้องผู้ป่วยฉุกเฉิน อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์taem
 
สิทธิการตาย
สิทธิการตายสิทธิการตาย
สิทธิการตายyim2009
 
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
TAEM11: กฎหมายสพฉ
TAEM11: กฎหมายสพฉTAEM11: กฎหมายสพฉ
TAEM11: กฎหมายสพฉtaem
 
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2larnpho
 
Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...
Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...
Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า)
TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า)TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า)
TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า)taem
 
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdfกฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdfIjimaruGin
 
Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557
Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557
Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557Parun Rutjanathamrong
 
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์ (2556)
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์ (2556)คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์ (2556)
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์ (2556)larnpho
 
ถาม- ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 1 (2557)
ถาม- ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 1 (2557)ถาม- ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 1 (2557)
ถาม- ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 1 (2557)larnpho
 
Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์
Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์
Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Personal Data Protection Act & National Health Security Office (September 30,...
Personal Data Protection Act & National Health Security Office (September 30,...Personal Data Protection Act & National Health Security Office (September 30,...
Personal Data Protection Act & National Health Security Office (September 30,...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
06 1 ปัญหาการทำแท้ง
06 1 ปัญหาการทำแท้ง06 1 ปัญหาการทำแท้ง
06 1 ปัญหาการทำแท้งetcenterrbru
 
ทำไมต้องมีพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข
ทำไมต้องมีพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุขทำไมต้องมีพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข
ทำไมต้องมีพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุขปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 

Semelhante a ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ (20)

การป้องกันการฟ้องร้องผู้ป่วยฉุกเฉิน อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
การป้องกันการฟ้องร้องผู้ป่วยฉุกเฉิน อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์การป้องกันการฟ้องร้องผู้ป่วยฉุกเฉิน อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
การป้องกันการฟ้องร้องผู้ป่วยฉุกเฉิน อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
 
สิทธิการตาย
สิทธิการตายสิทธิการตาย
สิทธิการตาย
 
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
 
2523
25232523
2523
 
TAEM11: กฎหมายสพฉ
TAEM11: กฎหมายสพฉTAEM11: กฎหมายสพฉ
TAEM11: กฎหมายสพฉ
 
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
 
Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...
Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...
Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...
 
TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า)
TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า)TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า)
TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า)
 
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdfกฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf
 
รพ.สต.ปี 2554 6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554 6 ชม.
 
Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557
Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557
Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557
 
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์ (2556)
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์ (2556)คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์ (2556)
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์ (2556)
 
ถาม- ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 1 (2557)
ถาม- ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 1 (2557)ถาม- ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 1 (2557)
ถาม- ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 1 (2557)
 
ความเป็นมาเครือข่ายฯ +ร่างพ.ร.บ
ความเป็นมาเครือข่ายฯ +ร่างพ.ร.บความเป็นมาเครือข่ายฯ +ร่างพ.ร.บ
ความเป็นมาเครือข่ายฯ +ร่างพ.ร.บ
 
Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์
Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์
Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์
 
Personal Data Protection Act & National Health Security Office (September 30,...
Personal Data Protection Act & National Health Security Office (September 30,...Personal Data Protection Act & National Health Security Office (September 30,...
Personal Data Protection Act & National Health Security Office (September 30,...
 
06 1 ปัญหาการทำแท้ง
06 1 ปัญหาการทำแท้ง06 1 ปัญหาการทำแท้ง
06 1 ปัญหาการทำแท้ง
 
ทำไมต้องมีพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข
ทำไมต้องมีพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุขทำไมต้องมีพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข
ทำไมต้องมีพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข
 
Laws 100
Laws 100Laws 100
Laws 100
 
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
 

Mais de taem

ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563taem
 
Thai EMS legislation
Thai EMS legislationThai EMS legislation
Thai EMS legislationtaem
 
ACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 AgendaACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 Agendataem
 
ACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergencyACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergencytaem
 
ACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulationACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulationtaem
 
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasoundACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasoundtaem
 
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...taem
 
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014taem
 
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical useACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical usetaem
 
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...taem
 
ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change taem
 
ACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk managementACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk managementtaem
 
ACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCIACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCItaem
 
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014taem
 
ACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zoneACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zonetaem
 
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical careACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical caretaem
 
ACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast trackACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast tracktaem
 
ACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED directorACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED directortaem
 
ACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED designACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED designtaem
 
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAtaem
 

Mais de taem (20)

ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
 
Thai EMS legislation
Thai EMS legislationThai EMS legislation
Thai EMS legislation
 
ACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 AgendaACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 Agenda
 
ACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergencyACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergency
 
ACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulationACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulation
 
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasoundACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
 
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
 
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
 
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical useACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
 
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
 
ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change
 
ACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk managementACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk management
 
ACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCIACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCI
 
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
 
ACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zoneACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zone
 
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical careACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
 
ACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast trackACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast track
 
ACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED directorACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED director
 
ACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED designACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED design
 
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
 

ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์

  • 1. ชาวฉุก เฉิน สบายใจ..ไม่ถ ก ู ฟ้อ ง ? ไพศาล ลิ้ม สถิต ย์ ศูน ย์ก ฎหมายสุข ภาพและจริย ศาสตร์ คณะนิต ิศ าสตร์ มหาวิท ยาลัย ธรรมศาสตร์ การประชุม วิช าการเวชศาสตร์ฉ ก เฉิน ุ ครัง ที่ 15 “ฉุก เฉิน ก้า วไกล” ้ 1
  • 2. เนื้อ หาการบรรยาย  การให้ค วามยิน ยอมของผู้ป ว ย ่ ฉุก เฉิน  สาระสำา คัญ ของ พ.ร.บ. การแพทย์ ฉุก เฉิน พ.ศ. 2551  ประเด็น กฎหมายและจริย ธรรมใน การบำา บัด รัก ษาผูป ่ว ยฉุก เฉิน ้  ข้อ เสนอระยะยาว เพื่อ แก้ไ ขปัญ หา การฟ้อ งร้อ งบุค ลากรทางการแพทย์ 2
  • 3. มูล เหตุข องปัญ หาความสัม พัน ธ์ จาก การให้บ ริก าร สาธารณสุข (บริก ารสุข ภาพ) 1. รูปแบบของการให้บริการรักษาผู้ป่วย เปลี่ยนแปลงไปจากในอดีต 2. ภาระงานของบุคลากรทางการแพทย์ และ ความคาดหวังของผู้ปวยหรือผู้รับบริการ ่ สาธารณสุข 3. ปัญหาทักษะการสือสารของฝ่ายผู้ให้การ ่ รักษา(แพทย์, พยาบาล) 4. การขาดความเข้าใจกฎหมายของผูปฏิบติ ้ ั งาน และกฎหมายที่ล้าสมัย ขาดกลไกระงับ ข้อพิพาทที่เหมาะสม 3
  • 4. (World Medical Association Declaration on the Rights of the Patient) แปลโดย ศ.นพ.วิฑูรย์ อึ้งประพันธ์ และนายไพศาล ลิ้มสถิตย์ 3. สิท ธิใ นการตัด สิน ใจเกี่ย วกับ ตนเอง ก. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองโดยอิสระ โดยทีแพทย์จะต้องแจ้งให้ผู้ป่วยทราบถึงผลทีจะเกิดขึ้น ่ ่ จากการตัดสินใจนั้น 4. ผู้ป ่ว ยทีไ ม่ร ู้ส ึก ตัว ่ ก. กรณีผู้ป่วยไม่รู้สึกตัวหรือไม่สามารถแสดงเจตจำานง ของตนเองได้ แพทย์จะต้องได้รับความยินยอมจากผู้ แทนทีมอำานาจตามกฎหมายที่ได้รับการอธิบายข้อมูลแล้ว ่ ี ข. กรณีทไม่อาจมีผู้แทนที่มอำานาจตามกฎหมาย เมื่อมี ี่ ี ความจำาเป็นรีบด่วนทีจะต้องให้การรักษาทางการแพทย์ ่ ให้สันนิษฐานว่าผู้ป่วยให้ความยินยอมแล้ว เว้นแต่เป็นที่ ชัดเจนและปราศจากข้อสงสัยว่าจะขัดต่อการแสดงเจตนา4 หรือความคิดเห็นแต่เดิมของผู้ป่วย ซึ่งประสงค์จะไม่ให้
  • 5. ประกาศสิท ธิผ ู้ป ่ว ย (16 เมษายน 2541) เพื่อให้ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ประกอบวิชาชีพด้าน สุขภาพกับผู้ป่วย ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความเข้าใจอันดี และเป็นทีไว้วางใจซึ่งกันและกัน แพทยสภา สภาการ ่ พยาบาล สภาเภสัชกรรม ทันตแพทยสภา คณะ กรรมการควบคุมการประกอบโรคศิลปะ จึงได้ร่วมกัน ออกประกาศรับรองสิทธิของผู้ป่วยไว ้้ดังต่อไปนี้ 1. ผูป ว ยทุก คนมีส ท ธิพ ื้น ฐานที่จ ะได้ร ับ ้ ่ ิ บริก ารด้า นสุข ภาพ ตามที่บ ญ ญัต ิไ ว้ใ น ั รัฐ ธรรมนูญ ้ ่ ิ 5้ 2. ผูป ว ยมีส ท ธิท ี่จ ะได้ร ับ บริก ารจากผู
  • 6. ประกาศสิท ธิผ ู้ป ่ว ย (16 เมษายน 2541) 3. ผูป ว ยที่ข อรับ บริก ารด้า นสุข ภาพมีส ท ธิท ี่ ้ ่ ิ จะได้ร ับ ทราบข้อ มูล อย่า งเพีย งพอและ เข้า ใจชัด เจนจากผู้ป ระกอบวิช าชีพ ด้า น สุข ภาพ เพื่อ ให้ผ ป ว ยสามารถเลือ กตัด สิน ู้ ่ ใจในการยิน ยอมหรือ ไม่ย ิน ยอมให้ผ ู้ ประกอบวิช าชีพ ด้า นสุข ภาพปฏิบ ต ต ่อ ตนั ิ เว้น แต่เ ป็น การช่ว ยเหลือ รีบ ด่ว นหรือ จำา เป็น 4. ผูป ว ยที่อ ยู่ใ นภาวะเสีย งอัน ตรายถึง ชีว ิต มี ้ ่ ่ สิท ธิท ี่จ ะได้ร ับ การช่ว ยเหลือ รีบ ด่ว นจากผู้ 6
  • 7. การให้ค วามยิน ยอมของผู้ ป่ว ยตามกฎหมาย คือ พ.ร.บ.สุข ภาพแห่ง ชาติ 2550 7
  • 8. มาตรา 8 พ.ร.บ.สุข ภาพแห่ง ชาติ พ.ศ.2550 มาตรา 8 ในการบริการสาธารณสุข บุคลากร ด้านสาธารณสุขต้องแจ้งข้อมูลด้านสุขภาพที่ เกี่ยวข้องกับการให้บริการให้ผู้รับบริการทราบ อย่างเพียงพอที่ผู้รับบริการจะใช้ประกอบการ ตัดสินใจในการรับหรือไม่รับบริการใด และใน กรณีที่ผู้รับบริการปฏิเสธไม่รับบริการใด จะให้ บริการนั้นมิได้ ในกรณีที่เกิดความเสียหายหรืออันตรายแก่ ผูรับบริการเพราะเหตุที่ผรับบริการปกปิดข้อเท็จ ้ ู้ จริงที่ตนรู้และควรบอกให้แจ้ง หรือแจ้งข้อความ 8
  • 9. มาตรา 8 พ.ร.บ.สุข ภาพแห่ง ชาติ พ.ศ.2550 (ต่อ ) ความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้บงคับกับกรณีดังต่อ ั ไปนี้ (1) ผู้รับบริการอยู่ในภาวะที่เสียงอันตรายถึง ่ ชีวิตและมีความจำาเป็นต้องให้ความช่วยเหลือ เป็นการรีบด่วน (2) ผู้รับบริการไม่อยู่ในฐานะที่จะรับทราบ ข้อมูลได้ และไม่อาจแจ้งให้บุคคลซึ่งเป็นทายาท โดยธรรมตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ผู้ 9
  • 10. นิย ามสำา คัญ ใน พ.ร.บ. การแพทย์ ฉุก เฉิน พ.ศ. 2551  “การแพทย์ฉุกเฉิน” หมายความว่า การปฏิบติการั ฉุกเฉิน การศึกษา การฝึกอบรม การค้นคว้าและการ วิจัยเกี่ยวกับการประเมิน การจัดการ การบำาบัดรักษา ผู้ปวยฉุกเฉิน และการป้องกันการเจ็บป่วยที่เกิดขึ้น ่ ฉุกเฉิน  “ผู้ปวยฉุกเฉิน” หมายความว่า บุคคลซึ่งได้รับบาด ่ เจ็บหรือมีอาการป่วยกะทันหัน ซึ่งเป็นภยันตรายต่อ การดำารงชีวิตหรือการทำางานของอวัยวะสำาคัญ จำาเป็นต้องได้รับการประเมิน การจัดการและการ 10
  • 11. หลักเกณฑ์การประเมินเพือคัดแยกผูป่วย ่ ้ ฉุกเฉินและมาตรฐานการปฏิบัติการ ฉุกเฉิน พ.ศ. 2554  “(1) ผูป ว ยฉุก เฉิน วิก ฤต ได้แก่ บุคคลซึ่งได้รับ ้ ่ บาดเจ็บหรือมีอาการป่วยกะทันหันซึ่งมีภาวะ คุกคามต่อชีวิต ซึ่งหากไม่ได้รับปฏิบัติการแพทย์ ทันทีเพื่อแก้ไขระบบการหายใจ ระบบไหลเวียน เลือดหรือระบบประสาทแล้ว ผูป่วยจะมีโอกาสเสีย ้ ชีวิตได้สง หรือทำาให้การบาดเจ็บหรืออาการป่วย ู ของผูป่วยฉุกเฉินนั้นรุนแรงขึ้นหรือเกิดภาวะ ้ แทรกซ้อนขึ้นได้อย่างฉับไว  (2) ผูป ว ยฉุก เฉิน เร่ง ด่ว น ได้แก่ บุคคลที่ได้รับ ้ ่ บาดเจ็บหรือมีอาการป่วยซึ่งมีภาวะเฉีย11 น บพลั
  • 12. ประเด็น กฎหมายและจริย ธรรม ในการบำา บัด รัก ษา ผู้ป ว ย ่ ฉุก เฉิน  กฎหมายแพ่ง กฎหมายอาญา  พ.ร.บ.ความรับ ผิด ทางละเมิด ของเจ้า หน้า ที่ พ.ศ. 2539  กฎหมายควบคุม การประกอบ วิช าชีพ ทางสาธารณสุข 12
  • 13. กฎหมายแพ่ง ร้อ งเรีย น การฟ้อ งร้อ ง – ค่า เสีย หาย กฎหมายอาญา – ความ ผิด และโทษ กฎหมายวิช าชีพ – พ.ร.บ. วิช าชีพ วิน ัย – วิน ัย ข้า ราชการ 13
  • 14. การเรีย กค่า เสีย หายกรณี ละเมิด มาตรา 420 ผูใ ดจงใจหรือ ประมาท ้ เลิน เล่อ ทำา ต่อ บุค คลอื่น โดยผิด กฎหมายให้ เขาเสีย หายถึง แก่ช ว ิต ก็ด ี แก่ร ่า งกายก็ด ี ี อนามัย ก็ด ี เสรีภ าพก็ด ี ทรัพ ย์ส น หรือ สิท ธิ ิ อย่า งหนึง อย่า งใดก็ด ี ท่า นว่า ผูน น ทำา ละเมิด ่ ้ ั้ จำา ต้อ งใช้ค า สิน ไหมทดแทนเพื่อ การนัน ่ ้ มาตรา 438 ค่า สิน ไหมทดแทนจะพึง ใช้ โดยสถานใดเพีย งใดนั้น ให้ศ าลวิน จ ฉัย ตาม ิ ควรแก่พ ฤติก ารณ์แ ละความร้า ยแรงแห่ง 14 ละเมิด
  • 15. พ.ร.บ.ความรับ ผิด ทางละเมิด ของเจ้า หน้า ที่ พ.ศ. 2539 “เจ้าหน้าที่” หมายความว่า ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง หรือผู้ปฏิบัติงานประเภท อื่น ไม่ว่าจะเป็นการแต่งตั้งในฐานะเป็น กรรมการหรือฐานะอื่นใด “หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่าง อื่นและมีฐานะเป็นกรม ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น และรัฐวิสาหกิจที่ตั้งขึ้น โดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา และให้หมายความรวมถึงหน่วยงานอื่นของ 15
  • 16. พ.ร.บ.ความรับ ผิด ทางละเมิด ของเจ้า หน้า ที่ มาตรา 5 หน่วยงานของรัฐต้องรับผิด ต่อผู้เสียหายในผลแห่งละเมิดที่เจ้า หน้าที่ของตนได้กระทำาในการปฏิบติ ั หน้าที่ ในกรณีนผู้เสียหายอาจฟ้อง ี้ หน่วยงานของรัฐดังกล่าวได้โดยตรง แต่ จะฟ้องเจ้าหน้าทีไม่ได้ ่ ถ้าการละเมิดเกิดจากเจ้าหน้าที่ซึ่งไม่ ได้สงกัดหน่วยงานของรัฐแห่งใดให้ ั 16
  • 17. พ.ร.บ.ความรับ ผิด ทางละเมิด ของเจ้า หน้า ที่ มาตรา 8 ในกรณีทหน่วยงานของรัฐต้อง ี่ รับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ผู้เสียหายเพื่อ การละเมิดของเจ้าหน้าที่ ให้หน่วยงานของ รัฐมีสทธิเรียกให้เจ้าหน้าที่ผทำาละเมิด ชดใช้ ิ ู้ ค่าสินไหมทดแทนดังกล่าวแก่หน่วยงานของ รัฐได้ ถ้าเจ้าหน้าที่ได้กระทำาการนั้นไปด้วย ความจงใจหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้าย แรง สิทธิเรียกให้ชดใช้คาสินไหมทดแทน ่ ตามวรรคหนึ่งจะมีได้เพียงใดให้คำา17งถึง นึ
  • 18. หลัก ความรับ ผิด ทางอาญา  การกระทำาโดยเจตนา  การกระทำาโดยประมาท 18
  • 19. ความหมายของการกระทำา โดยประมาท ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 59 วรรคสี่ กระทำาโดยประมาท ได้แก่กระทำา ความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำา โดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่ง บุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตาม วิส ัย และพฤติก ารณ์ และผู้กระทำาอาจ 19
  • 20. การค้น หาความจริง ว่า ประมาทหรือ ไม่ ค่อ นข้า ง กำ้า กึ่ง ไม่ถ ือ ว่า ชัด เจน  เกิด การอุด ประมาท  ฉีด ยาผิด , ในเส้น เลือ ด  ผลเกิด จาก Kcl โลหิต ระหว่า ง พยาธิส ภาพ  ให้เ ลือ ดผิด การคลอด ของโรค หรือ  ลืม เครื่อ งมือ (Aminotic เหตุแ ทรกซ้อ น fluid ที่เ ป็น ผลจาก ไว้ใ นท้อ งผู้ embolism) การวิน จ ฉัย ิ ป่ว ย  การติด เชือ ้ ตามปกติห รือ  เด็ก ตกเตีย ง 20 ทำา ให้ต าย รัก ษาโรคตาม
  • 21. สาระสำา คัญ ของ พ.ร.บ. การ แพทย์ฉ ุก เฉิน พ.ศ. 2551 มาตรา ๒๘ เพื่อคุ้มครองความปลอดภัยของผู้ป่วยฉุกเฉิน ให้หน่วยปฏิบัติการ สถานพยาบาล และผู้ปฏิบัติการ ดำาเนินการ ปฏิบัติการฉุกเฉิน ตามหลักการดังต่อไปนี้ (๑) ตรวจคัดแยกระดับความฉุกเฉินและจัดให้ผู้ป่วยฉุกเฉิน ได้รับการปฏิบัติการฉุกเฉิน ตามลำาดับความเร่งด่วนทางการแพทย์ฉุกเฉิน (๒) ผู้ป่วยฉุกเฉินต้องได้รับการปฏิบัติการฉุกเฉินจนเต็มขีด ความสามารถของหน่วยปฏิบัติการหรือสถานพยาบาลนั้นก่อนการ ส่งต่อ เว้นแต่มีแพทย์ให้การรับรองว่าการส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉินจะเป็น ประโยชน์ต่อการป้องกันการเสียชีวิตหรือการรุนแรงขึ้นของการเจ็บ ป่วยของผู้ป่วยฉุกเฉินนั้น (๓) การปฏิบัติการฉุกเฉินต่อผู้ป่วยฉุกเฉินต้องเป็นไปตาม ความจำา เป็นและข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ฉุกเฉิน โดยมิให้นำาสิทธิการ ประกัน การขึ้นทะเบียนสถานพยาบาล หรือความสามารถในการรับ ผิดชอบค่าใช้จ่ายของผู้ป่วยฉุกเฉินหรือเงือนไขใด ๆ มาเป็นเหตุ ่ 21
  • 22. สาระสำา คัญ ของ พ.ร.บ. การ แพทย์ฉ ุก เฉิน พ.ศ. 2551 มาตรา ๒๙ เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติการฉุกเฉินให้เป็นไป ตามหลักการตามมาตรา ๒๘ กพฉ. มีอำานาจประกาศกำาหนดในเรื่อง ดังต่อไปนี้ (๑) ประเภท ระดับ อำานาจหน้าที่ ขอบเขต ความรับผิดชอบ หรือข้อจำากัดของผู้ปฏิบัติการ หน่วยปฏิบัติการ และสถานพยาบาล (๒) หลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ ปฏิบัติการ หน่วยปฏิบัติการ และสถานพยาบาล (๓) มาตรฐานการปฏิบัติการฉุกเฉิน (๔) หลักเกณฑ์และวิธการเกี่ยวกับการประสานงานและการ ี รายงานของหน่วยปฏิบัติการและ 22 สถานพยาบาลในการปฏิบัติการฉุกเฉิน รวมทั้งความพร้อมเกี่ยวกับ
  • 23. ฉุก เฉิน เรื่อ ง ข้อ กำา หนดว่า ด้ว ยสถาน พยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๔ ข้อ ๕ เมือมีเหตุฉุกเฉินหรือเหตุภยันตรายต่อผู้ป่วย ่ ฉุกเฉิน ซึ่งหากปล่อยไว้เช่นนันจะเป็นอันตรายต่อชีวิต ้ หรือการรุนแรงขึ้นของการบาดเจ็บหรืออาการป่วยของ ผู้ป่วยฉุกเฉินได้ให้สถานพยาบาลมีอำานาจหน้าทีดำาเนิน ่ การตามมาตรา ๒๘ และมาตรา ๒๙ วรรคหนึ่ง แห่งพระ ราชบัญญัติการแพทย์ฉกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๑ รวมทัง ุ ้ มาตรา ๓๔ มาตรา ๓๕ และมาตรา ๓๖ แห่งพระราช บัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๑ และกฎทีออกตาม ่ กฎหมายดังกล่าวโดยอนุโลมตลอดจนกระทำาการใด ๆ อันจะมีผลเป็นการควบคุม ระงับ หรือบรรเทาผลร้ายจาก 23 อันตรายและความเสียหายทีเกิดขึ้นนั้นได้อย่างทันท่วงที ่
  • 24. ฉุก เฉิน เรื่อ ง ข้อ กำา หนดว่า ด้ว ยสถาน พยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๔ (ต่อ ) ในกรณีที่แพทย์ให้การรับรองว่าการส่งต่อผู้ ป่วยฉุกเฉินจะเป็นประโยชน์ต่อการป้องกันการ เสียชีวิตหรือการรุนแรงขึ้นของการเจ็บป่วยของผู้ ป่วยฉุกเฉินนั้น หรือเกินขีดความสามารถตามนัย แห่งมาตรา ๒๘ (๒) แห่งพระราชบัญญัติการ แพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๑ สถานพยาบาลอาจ แจ้งต่อหน่วยปฏิบติการที่ปฏิบติการอำานวยการ ั ั เพื่อดำาเนินการให้สถานพยาบาลอื่นใดที่มีขีด ความสามารถเพียงพอรับปฏิบติการฉุกเฉินแก่ผู้ ั ป่วยฉุกเฉินรายนั้นต่อได้ทันท่วงที ทั้งนี้ในกรณีที่ ไม่สามารถดำาเนินการตามข้างต้นได้ ให้แจ้งต่อ สพฉ. 24
  • 25. ฉุก เฉิน เรื่อ ง ข้อ กำา หนดว่า ด้ว ยสถาน พยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๔ ผู้ใดเจ็บป่วยฉุกเฉินหรือพบผู้ปวยฉุกเฉินซึ่ง ่ อาจเป็นอันตรายต่อชีวิตหรือการรุนแรงขึ้นของ การบาดเจ็บหรืออาการป่วยของผูป่วยฉุกเฉินนัน ้ ้ อันเนืองจากสถานพยาบาลไม่ได้ปฏิบัติตามวรรค ่ หนึง มีสิทธิแจ้ง สพฉ. หรือผู้ได้รับมอบหมาย ่ เพื่อดำาเนินการให้มีการปฏิบติการฉุกเฉินต่อผู้ ั ป่วยฉุกเฉินนันตามสมควรแก่กรณี ้ ในการดำาเนินการตามวรรคหนึง วรรคสอง่ และวรรคสาม ให้ สพฉ. จัดให้มีช่องทางสำาหรับ การแจ้งดังกล่าวได้โดยสะดวกและทันท่วงที 25
  • 26. ฉุก เฉิน เรื่อ ง ข้อ กำา หนดว่า ด้ว ยสถาน พยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๔ ข้อ ๗ สถานพยาบาล รวมทั้งผูปฏิบติการใน ้ ั สถานพยาบาล ที่ปฏิบติตามหลักเกณฑ์เงื่อนไข ั และมาตรฐานที่ กพฉ. กำาหนด มีสิทธิได้รับการ สนับสนุนการปฏิบัติงาน การอุดหนุนการดำาเนิน การเกี่ยวกับการแพทย์ฉุกเฉิน หรือค่าชดเชยใน การปฏิบัติการฉุกเฉินจากกองทุน ทั้งนี้ตามหลัก เกณฑ์และเงื่อนไขที่ กพฉ. กำาหนด . . . 26
  • 27. สาระสำา คัญ ของ พ.ร.บ. การ แพทย์ฉ ุก เฉิน พ.ศ. 2551 มาตรา ๓๒ ในกรณีที่ผลการสอบสวนตามมาตรา ๓๑ ปรากฏ ว่า ผู้ปฏิบัติการ หน่วยปฏิบัติการ หรือสถานพยาบาลใดไม่ปฏิบัติตาม หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และมาตรฐานที่กำาหนดและการกระทำาดังกล่าว เป็นความผิดตามกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ หรือระเบียบที่เกี่ยวข้อง ให้ กพฉ.ดำาเนินการอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ (๑) ตัก เตือ นเป็น หนัง สือ ให้ผู้ปฏิบัติการ หน่วยปฏิบัติการ หรือสถานพยาบาลนั้นปฏิบัติให้ ถูกต้อง (๒) แจ้งเรื่องไปยังผู้มีอำานาจตามกฎหมายที่มีอ ำา นาจ ควบคุม การดำา เนิน การของหน่ว ย ปฏิบ ัต ิก าร เพื่อพิจารณาดำาเนินการตามอำานาจหน้าที่ (๓) แจ้งเรื่องไปยังผู้มีอำานาจตามกฎหมายเพื่อพิจารณา ดำา เนิน การทางวิน ัย แก่ผู้ดำาเนินการ 27
  • 28. กฎหมายควบคุม การประกอบ วิช าชีพ ทางสาธารณสุข ( พระราชบัญ ญัต ิก ารแพทย์ พ .ศ. 2466)  พ.ร.บ. การประกอบโรคศิล ปะ (พ.ศ. 2479, 2542)  พ.ร.บ. วิช าชีพ เวชกรรม (พ.ศ. 2511, 2525)  พ.ร.บ. วิช าชีพ พยาบาล (พ.ศ. 2528, 2540) 28  พ.ร.บ. วิช าชีพ เภสัช กรรม (พ.ศ.
  • 29. พระราชบัญ ญัต ิว ิช าชีพ การพยาบาล และการผดุง ครรภ์ พ.ศ. 2528 “การประกอบวิช าชีพ การพยาบาล ” หมายความ ว่า การปฏิบติหน้าที่การพยาบาลต่อบุคคล ั ครอบครัว และชุมชน โดยการกระทำาต่อไปนี้ (๑) การสอน การแนะนำา การให้คำาปรึกษาและการแก้ ปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย (๒) การกระทำาต่อร่างกายและจิตใจของบุคคล รวมทั้งการ จัดสภาพแวดล้อม เพือการแก้ปัญหาความเจ็บป่วย การ ่ บรรเทาอาการของโรค การลุกลามของโรค และการฟื้นฟู สภาพ (๓) การกระทำาตามวิธีทกำาหนดไว้ในการรักษาโรคเบื้องต้น ี่ และการให้ภมคุ้มกันโรค ู ิ 29
  • 30. “ระเบีย บกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วย บุคคลซึ่งกระทรวง ทบวง กรม กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล สุขาภิบาล องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นอื่นหรือ สภากาชาดไทย มอบหมายให้ประกอบวิชาชีพ เวชกรรมในความควบคุมของเจ้าหน้าที่ซึ่งเป็นผู้ ประกอบวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2539” และ ฉบับที่ 2 (2540) 30
  • 31. กฎหมายอื่น ๆ  พ.ร.บ.สุข ภาพแห่ง ชาติ พ.ศ. 2550  พ.ร.บ.หลัก ประกัน สุข ภาพแห่ง ชาติ พ.ศ. 2545  ร่า งพ.ร.บ.คุม ครองผู้เ สีย หายจากการ ้ รับ บริก ารสาธารณสุข พ.ศ. .... 31
  • 32. พระราชบัญ ญัต ิส ุข ภาพแห่ง ชาติ พ.ศ. 2550 มาตรา 12 บุคคลมีสิทธิทำาหนังสือแสดง เจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไป เพียงเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตตน หรือเพื่อยุติการทรมานจากการเจ็บป่วยได้ การดำาเนินการตามหนังสือแสดงเจตนาตาม วรรคหนึง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธการที่ ่ ี กำาหนดในกฎกระทรวง เมื่อผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุขได้ปฏิบติ ั ตามเจตนาของบุคคลตามวรรคหนึ่งแล้วมิ32 ถือว่า ให้
  • 33. วัต ถุป ระสงค์ข อง living will/ advance directives เอกสารแสดงเจตจำา นงล่ว งหน้า เป็น เอกสารที่จ ัด ทำา เป็น ลายลัก ษณ์ อัก ษรพร้อ มลายมือ ชื่อ หรือ เป็น คำา กล่า วต่อ หน้า บุค คลที่เ ป็น พยานซึ่ง ได้ บัน ทึก ตามความต้อ งการของเขาเกี่ย ว กับ การรัก ษาทางการแพทย์ ที่เ ขา ประสงค์ห รือ ไม่ป ระสงค์จ ะรับ การรัก ษา เมื่อ บุค คลผู้น ั้น ไม่ร ู้ส ก ตัว หรือ ไม่ ึ สามารถแสดงเจตจำา นงของตนเองได้ 33
  • 34. แนวคิด เรื่อ งหนัง สือ แสดงเจ ตนาฯ (Living Will)  เป็น สิท ธิผ ู้ป ว ย ได้ร ับ การรับ รองตาม ่ ปฏิญ ญาลิส บอนว่า ด้ว ยสิท ธิผ ู้ป ่ว ย (The World Medical Association Declaration on the Rights of the Patient) (1981, 2005) 10. สิท ธิใ นศัก ดิ์ศ รีข องผูป ว ย ้ ่ ค. ผูป่วยมีสิทธิที่จะได้รับการรักษาพยาบาลใน ้ วาระสุดท้ายอย่างมีมนุษยธรรม และมีสทธิที่จะได้รับ ิ 34 ความช่วยเหลือทุกอย่าง เพื่อจะช่วยให้ผู้ปวยเสีย ่
  • 35. ตาย ศาสตราจารย์แ พทย์ห ญิง สุม าลี นิม มาน นิต ย์  เมื่อใกล้ตาย ความอ่อนเพลียเป็นสิ่งที่ควร ยอมรับ ไม่จำาเป็นต้องให้การรักษาใดๆ สำาหรับความอ่อนเพลียที่เกิดขึ้น เพราะจะ เกิดผลเสียมากกว่าผลดี ควรให้ผู้ปวยใน ่ ระยะนี้ได้พักผ่อนให้เต็มที่  คนใกล้ตายจะเบื่ออาหาร และกินอาหาร น้อยลง จากการศึกษาพบว่าความเบื่อ อาหารที่เกิดขึ้นเป็นผลดีมากกว่าผลเสีย 35
  • 37. เนื้อ หาของกฎกระทรวง คำา นิย าม “หนัง สือ แสดงเจตนา” หมายความ ว่า หนังสือซึ่งบุคคลแสดงเจตนาไว้ล่วง หน้าว่าไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุข ที่เป็นไปเพียงเพือยืดการตายในวาระ ่ สุดท้ายของชีวิตตนหรือเพื่อยุติการทรมาน จากการเจ็บป่วย 37
  • 38. คำา นิย าม “บริก ารสาธารณสุข ที่เ ป็น ไปเพีย ง เพือ ยืด การตายในวาระสุด ท้า ยของ ่ ชีว ิต หรือ เพื่อ ยุต ิก ารทรมานจากการ เจ็บ ป่ว ย” หมายความว่า วิธการที่ผู้ ี ประกอบวิชาชีพเวชกรรมนำามาใช้กับผู้ทำา หนังสือแสดงเจตนาเพื่อประสงค์จะยืดการ ตายในวาระสุดท้ายของชีวิตออกไป โดยไม่ ทำาให้ผู้ทำาหนังสือแสดงเจตนาพ้นจากความ 38 ตายหรือยุติการทรมานจากการเจ็บป่วย
  • 39. คำา นิย าม “วาระสุด ท้า ยของชีว ิต ” หมายความว่า ภาวะของผู้ทำาหนังสือแสดงเจตนาอันเกิดจากการ บาดเจ็บหรือโรคที่ไม่อาจรักษาให้หายได้และจาก การพยากรณ์โรคตามมาตรฐานทางการแพทย์ เห็นว่า ภาวะนั้นนำาไปสู่การตายอย่างหลีกเลี่ยงไม่ ได้ในระยะเวลาอันใกล้จะถึง และให้รวมถึงภาวะ ของผูทำาหนังสือแสดงเจตนาที่ได้รับการวินจฉัย ้ ิ ตามมาตรฐานทางการแพทย์ว่า มีการสูญเสีย หน้าที่อย่างถาวรของเปลือกสมองใหญ่ที่ทำาให้ 39 ขาดความสามารถในการรับรู้และติดต่อสือสาร่
  • 40. 40
  • 41. 41
  • 42. ประเทศอัง กฤษ General Medical Council (GMC)  Withholding and withdrawing life-prolonging treatments: Good practice in decision-making This guidance develops the advice in Good Medical Practice (2006). It sets out the standards of practice expected of doctors when they consider whether to withhold or withdraw life-pr olonging treatments. 42 42
  • 43. ประเทศอัง กฤษ British Medical Association (BMA)  End-of-life decisions: BMA views  Advance decisions and proxy decision-making in medical treatment and research (2007)  Withholding and withdrawing life-prolonging medical treatment: guidance for decision makin g (3rd edition 2007)  End of life - withdrawing and withholding artificial nutrition and hydration (2007) 43 43
  • 44. ข้อ เสนอระยะยาว เพื่อ แก้ไ ข ปัญ หาการฟ้อ งร้อ งบุค ลากร ทางการแพทย์แ ละ สาธารณสุข 44
  • 45. สรุป จำา นวนคดีฟ ้อ งแพทย์ ตั้ง แต่ ปี พ .ศ. 2539 – 2553) (เฉพาะโจทย์ย น ฟ้อ งกระทรวงสาธารณสุข และสำา นัก ื่ งานปลัด ฯ) คดีแ พ่ง (121 คดี) * รวมคดีแ พ่ง ที่ย ัง อยู่ใ นชั้น 31 ศาล 64 คดี 40 ศาลชันต้น ้ * ทุน ทรัพ ย์ท ี่ฟ อ งประมาณ ้ ศาลอุ ท ธรณ์ 739.9 ล้า นบาทเศษ ศาลฎีกา * กระทรวงสาธารณสุข ชำา ระ 19 ถึงที่ สุ ด 6 จำาหน่าย 11 ตามคำา พิพ ากษาแล้ว ประมาณ 14 ถอนฟ้อ ง 15.7 ล้าคดีอาญา (14 คดี) นบาท 2 3 1 พนักงานสอบสวน พนักงานอั ยการ 2 ศาลชันต้น ้ ศาลอุ ท ธรณ์ 1 5 ถอนฟ้อ ง ถึง ที่ สุ ด 45 ที่ม า : กลุ่ม กฎหมาย สำา นัก งานปลัด กระทรวงสาธา
  • 46. พ.ร.บ.หลัก ประกัน สุข ภาพแห่ง ชาติ พ.ศ. 2545 มาตรา 41 ให้คณะกรรมการกันเงินจำานวน ไม่เกินร้อยละหนึ่งของเงินที่จะจ่ายให้หน่วย บริการไว้เป็นเงิน ช่ว ยเหลือ เบือ งต้น ให้กับผูรับ ้ ้ บริการ ในกรณีที่ผรับบริการได้รับความเสียหาย ู้ ที่เกิดขึ้นจากการรักษาพยาบาลของหน่วยบริการ โดยหาผู้กระทำาผิดมิได้หรือหาผู้กระทำาผิดได้แต่ ยังไม่ได้รับความเสียหายภายในระยะเวลาอัน สมควร ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขที่คณะกรรมการกำาหนด 46
  • 47. พ.ร.บ.หลัก ประกัน สุข ภาพแห่ง ชาติ พ.ศ. 2545  ข้อบังคับคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่ง ชาติว่าด้วย หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไข ใน การจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้น กรณีผู้รับบริการ ได้รับความเสียหายจากการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2549  ข้อบังคับคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่ง ชาติว่าด้วย หลักเกณฑ์การจ่ายเงินช่วยเหลือ 47 เพื่อการชดเชย กรณีผู้ให้บริการได้รับความเสีย
  • 48. สรุป สถิต ิก ารจ่า ยเงิน ช่ว ยเหลือ เบื้อ งต้น ตามมาตรา 41 แห่ง พรบ.หลัก ประกัน สุข ภาพแห่ง ชาติ พ.ศ. 2545 ผลการพิจ ารณา จำา นวนเงิน จำา นวน ช่ว ยเหลือ คำา ร้อ ง ตาม ม.41 (ราย) (บาท) ไม่เ ข้า เข้า เกณฑ์ เกณฑ์ (ราย) (ราย) 2547 99 ที่ม า :26า นัก งานหลัก ประกัน สุข ภาพแห่ง สำ 73 4,865,000 48
  • 49. สรุป จำา นวนเรื่อ งที่ข อรับ เงิน ช่ว ย เหลือ เบือ งต้น ้ และเรื่อ งอุท ธรณ์ จำา นวน(ราย) 900 810 800 700 658 เรือ งขอรับ ่ 600 511 เงินทัง หมด ้ 500 443 400 300 221 อุท ธรณ์ 200 99 60 58 74 67 100 12 32 0 2547 2548 2549 2550 2551 2552 ที่ม า : สำา นัก งานหลัก ประกัน สุข ภาพแห่ง 49
  • 50. จำา นวนผูป ว ยที่ไ ด้ร ับ ความเสีย หายและได้ร ับ การ ้ ่ ช่ว ยเหลือ ตาม ม.41 (ปี46-52) ผู้ไ ด้ร ับ สาขา ความเสีย เสีย ชีว ิต พิก าร บาดเจ็บ หาย กุม าร เวชกรรม 262 184 20 58 อายุร กรรม 395 289 36 70 ศัล ยกรรม 410 216 69 125 สูต ิ 1,032( 528(5 180( 324( นรีเ วช 46%) 1%) 18%) 31%) กรรม อื่น ๆ สำานักกฎหมาย สปสช. 166 กลุ่มงานพิทักษ์สิทธิ 46 5150 50 69
  • 51. สรุป ผลการจ่า ยเงิน ช่ว ยชดเชยความเสีย หายผู้ใ ห้บ ริก าร ม.18(4) ปี ประเภ ประเภ ประเภ รวม จ่า ยช่ว ย ท ท ท เสีย พิก าร บาด (คน) เงิน ชีว ิ เจ็บ (ล้า น ต บาท) 2547 1 0 10 11 0.20 2548 5 0 41 46 0.93 2549 0 0 48 48 0.32 2550 2 4 191 197 3.54 2551 2 2 469 473 9.40 2552 3 1 660 664 6.88 รว 13 7 1,419 1,439 21.29 ม 51
  • 52. ร่า งพ.ร.บ. คุ้ม ครองผู้เ สีย หายจากการรับ บริก ารสาธารณสุข พ .ศ. .... “ร่า งพระราชบัญ ญัต ิ คุม ครองผู้ร ับ บริก ารและผูใ ห้บ ริก าร ้ ้ ที่ไ ด้ร ับ ความเสีย หายจากการบริก าร สาธารณสุข พ.ศ. .... ” 52
  • 53. เหตุผ ลของการเสนอร่า ง พ.ร.บ.คุ้ม ครองผู้เ สีย หาย ฯ  การให้การช่วยเหลือเบื้องต้นกับผู้เสียหายจากการรับบริการ สาธารณสุขมีความจำากัด เฉพาะผู้ใช้บริการในระบบหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติเท่านั้น ไม่รวมถึงระบบสวัสดิการข้าราชการและ ระบบประกันสังคม หรือแม้แต่การใช้บริการของโรงพยาบาล เอกชน ทำาให้ผู้ได้รับความเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข ไม่มีทางเลือก ในการดำาเนินการที่จะได้รับการชดเชยความเสีย หาย  การฟ้องร้องตามกระบวนการยุติธรรม มีปัญหาหลายประการ และส่งผลต่อความสัมพันธ์ของผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์ และสาธารณสุขกับผู้ป่วย  การมีกฎหมายคุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการ สาธารณสุข ที่ครอบคลุมทุกคนโดยมีเป้าหมายเพือชดเชยความ ่ เสียหายที่เกิดขึ้น ลดคดีความในการฟ้องร้องและความขัดแย้ง ระหว่างแพทย์กับคนไข้  ดังนั้น เมื่อเกิดปัญหาความเสียหายดังกล่าวจึงควรให้มีการ 53
  • 54. ร่า งพ.ร.บ.คุ้ม ครองผู้เ สีย หาย จากการรับ บริก ารสาธารณสุข พ.ศ. .... มาตรา ๕ บุคคลผู้เสียหายมีสิทธิได้รับเงิน ช่วยเหลือเบื้องต้นและเงินชดเชยจากกองทุน ตามพระราชบัญญัตินี้ โดยไม่ต้องพิสูจน์ ความรับผิด 54
  • 55. ร่า งพ.ร.บ.คุ้ม ครองผู้เ สีย หายจาก การรับ บริก ารสาธารณสุข พ.ศ. .... มาตรา ๖ บทบัญญัติในมาตรา ๕ มิให้ใช้ บังคับในกรณีดังต่อไปนี้ (๑) ความเสียหายที่เกิดขึ้นตามปกติธรรมดา ของโรคนั้น แม้มีการให้บริการตามมาตรฐาน วิชาชีพ (๒) ความเสียหายซึ่งหลีกเลี่ยงมิได้จากการให้ บริการสาธารณสุขตามมาตรฐานวิชาชีพ (๓) ความเสียหายที่เมื่อสิ้นสุดกระบวนการ รักษาแล้วไม่มีผลกระทบต่อการดำารงชีวิตตาม ปกติ 55
  • 56. ร่า งพ.ร.บ.คุ้ม ครองผู้เ สีย หายจาก การรับ บริก ารสาธารณสุข พ.ศ. .... มาตรา ๗ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการสร้างเสริมความสัมพันธ์ ที่ดีในระบบบริการสาธารณสุข” ประกอบด้วย (๑) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขเป็น ประธานกรรมการ (๒) ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ปลัดกระทรวง การคลัง ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์ อธิบดีกรมคุมครองสิทธิ ้ และเสรีภาพ เลขาธิการคณะกรรมการคุมครองผู้ ้ บริโภค และ ผู้อำานวยการสำานักงบประมาณ (๓) ผูแทนสถานพยาบาล จำานวนสามคน ้ 56
  • 57. ร่า งพ.ร.บ.คุ้ม ครองผู้เ สีย หายจาก การรับ บริก ารสาธารณสุข พ.ศ. .... มาตรา ๒๐ “กองทุนสร้างเสริมความ สัมพันธ์ที่ดีในระบบบริการสาธารณสุข” มาตรา ๒๑ การจ่ายเงินสมทบของสถาน พยาบาลเอกชน 57
  • 58. ร่า งพ.ร.บ.คุ้ม ครองผู้เ สีย หายจาก การรับ บริก ารสาธารณสุข พ.ศ. .... มาตรา ๒๕ ผูเสียหายอาจยื่นคำาขอรับเงินค่าเสีย ้ หายตามพระราชบัญญัตนี้ตอสำานักงานหรือหน่วยงาน ิ ่ หรือองค์กรที่สำานักงานกำาหนด ภายในสามปีนบแต่วัน ั ที่ได้รู้ถงความเสียหายและรู้ตวผูให้บริการสาธารณสุข ึ ั ้ ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหาย แต่ทงนี้ตองไม่เกินสิบปีนับ ั้ ้ แต่วันทีรู้ถึงความเสียหาย ่ ในกรณีทผู้เสียหายถึงแก่ชีวต เป็นผูไร้ความ ี่ ิ ้ สามารถ หรือไม่สามารถยื่นคำาขอด้วยตนเองได้ ทายาท หรือผูอนุบาล หรือบุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งได้ ้ รับการมอบหมายเป็นหนังสือจากผูเสียหาย58 วแต่ ้ แล้
  • 59. ร่า งพ.ร.บ.คุ้ม ครองผู้เ สีย หายจาก การรับ บริก ารสาธารณสุข พ.ศ. .... มาตรา ๓๓ การทำาสัญญาประนีประนอม ยอมความ มาตรา ๓๘ กระบวนการไกล่เกลี่ย มาตรา ๔๒ การพัฒนาระบบความ ปลอดภัยและป้องกันความเสียหายของสถาน พยาบาล มาตรา ๔๕ การเปิดโอกาสให้ศาล พิจารณาโทษจำาเลยในคดีอาญา โดยศาล 59
  • 60. ข้อ เสนอระยะยาว เพื่อ แก้ไ ข ปัญ หาการฟ้อ งร้อ งบุค ลากร ทางการแพทย์แ ละสาธารณสุข 1. มีกลไกการพัฒนาระบบบริการและการ บริหารความเสียง ่ 2. พัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน การฝึก อบรม ที่เน้นการให้บริการสุขภาพด้วยหัวใจ ความเป็นมนุษย์ 3. เสนอให้มีกฎหมายเยียวยาผูเสียหายเบืองต้น ้ ้ โดยไม่ต้องฟ้องศาล 4. ปฏิรูปกลไกควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพ 60 (แพทยสภา) เพื่อให้มีความอิสระ มีความน่าเชือ ่