SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 7
Baixar para ler offline
1



                                    คนฉุกเฉินตามทันมั้ย ?????
                                                                                               ศรีทัย สีทิพย์

                                                                                        หน่วยตรวจฉุกเฉิน

                                                                          โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่

                                                                   คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

                “ห้องฉุกเฉิน”       นับว่าเป็นปราการสาคัญด่านแรกสาหรับแต่ละโรงพยาบาล หากเปรียบเสมือน
หนังเรื่อง “ขุนศึก”   ห้องฉุกเฉินอาจจะเปรียบเสมือนประตูด้านหน้า (Main Gate) ของเมืองอโยธยา ที่มีหน้าที่
รับผิดชอบในการคัดกรองคนเข้าประตูเมือง (Gate Keeper) ดูแลความเรียบร้อยของด้านหน้าเมืองก่อนส่งคนเข้า
ไปในกลางเมือง(หอผู้ป่วยใน)      จะแตกต่างกับประตูด้านหน้าเมืองอโยธยาตรงที่เปิดปิดเป็นเวลายามศึกสงคราม
แต่ชีวิตจริงประตูของห้องฉุกเฉิน ไม่เคยปิดทาการ ไม่ว่าจะเป็นยามสงบ(จันทร์ถึงศุกร์) หรือยามศึกสงคราม (วัน
เสาร์อาทิตย์ วันหยุดนักขัตฤกษ์ เทศกาลปีใหม่ เทศกาลสงกรานต์ วันลอยกระทง ไม่เคยถอนอัตรากาลังออก
นอกจากจะเพิ่มเพื่อเตรียมรับสถานการณ์ จะเห็นได้ว่า “ห้องฉุกเฉิน” ถือเป็นหน่วยงานหลักของโรงพยาบาล            ที
สาคัญอย่างยิ่งในการประเมิน คัดกรอง รักษา และเตรียมส่งนอนโรงพยาบาลหรือแม้กระทั่งส่งออกไปยังหัวเมือง
อื่น ๆ (Refer ไปยังโรงพยาบาลอื่น)

        ปัญหาสาคัญประการหนึ่งที่ห้องฉุกเฉินประสบเป็นอย่างมากก็คือ        การขาดอัตรากาลังที่มักมาพร้อมกับ
ภาระงานที่ล้นมือ ซึ่งประสบปัญหาอยู่แทบทุกโรงพยาบาล          รวมถึงความคาดหวังของผู้รับบริการในแต่ละแห่ง
(โดยคาดหวังว่าต้องบริการรวดเร็ว ดี มีคุณภาพ ปลอดภัยและประทับใจ) ซึ่งนับเป็นความท้าทายของผู้บริหารของ
แต่ละโรงพยาบาลที่ต้องแก้ไขและส่งเสริมในแต่ละประเด็น สาหรับประเด็นความท้าทายในระดับผู้ปฏิบัติงานนั้น
จะพบได้ในประเด็นสาคัญก็คือ “วิทยาการที่ก้าวไกล” รวมถึง “ความไม่เข้าในใจบางประเด็น”

        โดยในสภาวการณ์ปัจจุบัน ความเจริญทางเทคโนโลยีได้เข้ามาจนเราอาจตั้งตัวไม่ติด ไม่ว่าจะเป็นด้านการ
อุตสาหกรรม การสื่อสารคมนาคม การศึกษา หรือแม้กระทั่งการรักษาพยาบาล ในส่วนของการรักษาพยาบาล
นั้นมีการนาเทคโนโลยีมาใช้อย่างแพร่หลาย       และอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ผลิตขึ้นมาแต่ละชิ้นนั้น     นับว่าจะใช้
2


กาลังคนและกาลังความคิดของมนุษย์น้อยลงไปทุกขณะ ทาให้ชีวิตการทางานของบุคลากรทางด้านการแพทย์และ
การสาธารณสุขดูเหมือนว่าจะสบายกว่าเดิมมาก ไม่ว่าจะเป็นเครื่องวัดความดันแบบดิจิตอล ปรอทแบบดิจิตอล
เครื่องหยดให้สารน้าทางหลอดเลือดดา ฯลฯ หากมองย้อนดูผลลัพธ์ลึก ๆ ให้ดี ๆ อาจได้รับทราบถึงผลดีและ
ผลเสียที่แฝงมากับความเจริญก้าวหน้าทางด้านอุปกรณ์การแพทย์เหล่านี้

        สาหรับความรุนแรงของแต่ละโรคปัจจุบันนั้น             ก็มักมาพร้อมกับความเจริญรุดหน้าทางด้านเทคโนโลยี
ทางด้านการรักษาอย่างเห็นได้ชัด ยังจาได้เมื่อประมาณ 30 ปีก่อน อุบัติเหตุจราจรมีค่อนข้างน้อย เวลาผู้ป่วยมาใช้
บริการ อาการมักไม่หนักจนเกินไป ที่พบบ่อย ได้แก่ แผลถลอก แผลต้องเย็บ กระดูกหักบ้าง แต่ไม่รุนแรงถึงกับ
ชีวิตมากนัก มาบัดนี้ เกิดเหตุที เห็นอาการผู้ป่วยแล้วก็ต้องทาใจ เฟอร์นิเจอร์เพียบพร้อม ทั้งท่อช่วยหายใจ ท่อ
ระบายทรวงอก สายสวนปัสสาวะ น้าเกลือ สายยางให้อาหาร ส่วนโรคทางอายุรกรรมเช่นเดียวกัน เวลามีผู้ป่วย
เป็นหวัด ไข้ ไอ ระคายเคืองคอ เมื่อไปทาการตรวจรักษา ก็จะได้รับการรักษาแบบ ยาลดไข้ ยาบรรเทาอาการหวัด
แค่นี้อาการที่เป็นมาทั้งหลายก็เกือบหายไปหมด แต่ในปัจจุบันนี้หากจ่ายยาให้ผู้ป่วยเท่านี้ ผู้ป่วยที่มีความ(ไม่)รู้อาจ
ไม่พึงพอใจ หรือมีความหวังว่ามารักษาด้วยอาการเช่นนี้ต้องได้รับยาฆ่าเชื้อกลับไปรับประทานทุกครั้ง ซึ่งก็เป็นอีก
ประเด็นหนึ่งของการใช้ยาต้านจุลชีพเกินความจาเป็นในยุคโลกแห่ง IT ในปัจจุบัน ซึ่งถือว่า “ผู้ป่วยตามทันโรค”
หรือ “ผู้รักษาตาม(โรค)ผู้ป่วยไม่ทัน”

        ในส่วนของวิวัฒนาการดูแลรักษาผู้ป่วย        นับวันจะพัฒนามาเรื่อยๆ       ทั้งในส่วนการดูแลผู้ป่วยในระดับ
Prehospital care และ Intrahospital care โดยเฉพาะในส่วนของ Prehospital care นั้นต้องใช้ทักษะและความรู้
ค่อนข้างสูง โดยเฉพาะทักษะส่วนตัว (Individual skill) ทักษะทางด้านสังคม (Social skill) และการจัดการความรู้
(Knowledge management) ตัวอย่างที่พบเห็นได้บ่อย ๆ ได้แก่ การช่วยหายใจขั้นสูง หากอยู่ในแผนกอื่น ๆ ถาม
โดยรวมจะรู้จักเฉพาะ Endotracheal tube , Nasotracheal tube หรือ Tracheostomy tube แต่โดยจริงแล้ว การช่วย
หายใจขั้นสูงมีทั้ง   Esophageal Tracheal Combitube หรือแม้กระทั่ง Tracklight รวมถึง Exchanger tube ที่ใคร
ต่อใครอาจไม่รู้จัก        นั่นคือความท้าทายประการหนึ่งของคนทางานห้องฉุกเฉินและผู้ปฏิบัติงานหน่วยบริการ
การแพทย์ฉุกเฉินที่ต้องใช้ให้ถูก ให้เป็น และเกิดผลประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ป่วย
3




                                   LMA (Laryngeal mask

                                              airway)




                                      Esophageal Tracheal

                                              Combitube

       ความท้าทายประการต่อมาของผู้ปฏิบัติงานห้องฉุกเฉินและต้องตามให้ทันอยู่เสมอ ก็คือลักษณะของผู้มา
ใช้บริการที่ห้องฉุกเฉินนั้นมีหลายประเภท หลายโรค หลายอาการ เหมือนกับการ “ตั้งรับ” ได้ทุกกระบวนท่า
ผู้ป่วยมีปัญหาสาคัญประการใด ก็ต้องแก้ไขประการนั้น เพื่อให้เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย นอกจากนี้ยังต้องมี
ความสามารถในการจัดแบ่งผู้ป่วยให้เหมาะสมกับการรักษาตั้งแต่ Resuscitation(ฟ้า) , Emergent (แดง) , Urgent
4


(เหลือง) , Less urgent (เขียว) ไปจนถึง Non urgent (ขาว) กรณีผู้ป่วยกลุ่มสีเหลือง เขียว ขาว การรักษาไม่ซับซ้อน
มากเท่ากับผู้ป่วยกลุ่มสีฟ้าและสีแดง โดยเฉพาะผู้ป่วยกลุ่มสีฟ้าเนื่องจากผู้ป่วยแต่ละรายมานั้นมักจะมีภาวะ แทรก
ซ้อนและซับซ้อนเกินที่จะบรรยาย         ดังเป็นที่ทราบดีอยู่แล้วว่าห้องฉุกเฉินเป็นด่านแรกสุดในการรับผู้ป่วยอาการ
เร่งด่วน ผู้ป่วยที่ถูกส่งมาอาจไม่มีญาติ ผู้นาส่งก็ไม่ทราบประวัติที่ชัดเจน และไม่ทราบจะเริ่มต้นอย่างไร ฉะนั้นการ
ประมวลความรู้และความน่าจะเป็นในวิชาตรรกศาสตร์ ก็อาจช่วยได้ในบางประเด็น แต่บางครั้งจะพบว่าถูกผู้ป่วย
หลอกให้เราเชื่อย่างสนิทใจ เช่น ไม่ปวดท้องแต่บอกว่าปวดท้อง ไม่เจ็บคอบอกว่าเจ็บคอ แต่ขอใบรับรองแพทย์
ว่ามาตรวจจริงบ้าง โดยเฉพาะผู้ป่วยที่ต้องการใช้ยา (Drug addict) แต่ก่อนนั้นยังไม่มีการติดต่อสื่อสารระหว่าง
โรงพยาบาลและหน่วยงานให้บริการผู้ป่วยมากนัก ผู้ป่วยกลุ่มนี้มักจะเวียนไปโรงพยาบาลโน้นที โรงพยาบาลนี้ที
เพียงแค่ให้ได้รับยาที่ต้องการบอก บางรายมีความสามารถบอกชื่อโรคเป็นภาษาอังกฤษได้อย่างชัดเจน เช่นเป็น
Brain tumor บ้าง Bone metastasis CA บ้าง เนื้องอกบริเวณลาไส้บ้าง ต้องได้รับการฉีดยาประเภท Morphine หรือ
Pethidine บางรายเก่งมาก บอกว่าต้องฉีดพร้อม Dormicum ถึงจะดีขึ้น พร้อมกับบอกการออกฤทธิ์ของยาได้เหมือน
เรียนมาเอง บางรายบอกว่ารอวีซ่า เพื่อไปรับการผ่าตัดจากประเทศ....... บ้าง หรือบางกรณีได้รับข้อมูลเพิ่มเติมจาก
ญาติว่าผู้ป่วยแกลังตกบันได แกล้งหกล้ม เพื่อต้องการให้ตัวเองมีบาดแผล จะได้ขอฉีดยาอย่างสมเหตุสมผล ซึ่ง
ผู้ป่วยเหล่านี้พบได้ทั้งผู้ป่วยที่เป็นคนไทยและชาวต่างชาติ จนถึงปัจจุบันนี้การติดต่อสื่อสารระหว่างโรงพยาบาลมี
มากขึ้น (เครือข่าย) ทาให้เรารู้เท่าทันความคิดของผู้ป่วยเหล่านีได้มากกว่าเดิม
                                                              ้                 ต้องขอบคุณเทคโนโลยีทางการ
สื่อสารจริง ๆ

        นอกจากการรู้ทันความคิดผู้อื่นแล้วบุคลากรผู้ทางานห้องฉุกเฉินเองก็ต้องมีสมรรถนะในเรื่องยาพอสมควร
เพราะปัจจุบันมีหลายคนจดจาเฉพาะชื่อทางการค้า (Trade name) จนบางครั้งมีการเปลี่ยนบริษัทนาเข้ายาทาให้ชื่อยา
เปลี่ยนไปด้วย โดยเฉพาะยาที่เป็น High Alert Drug (HAD) นั้นสาคัญยิ่งในยามที่ต้องใช้ด่วน ยาบางตัวต้องผสม
ใน 5 % D/W แต่ยาบางตัวต้องผสมใน NSS เพราะหากผสมใน water for injection หรือ 5 % D/W ยาอาจตกตะกอน
ได้ ยาบางตัวห้ามฉีดเข้าเส้นเลือดดา (IV push) เด็ดขาด และต้องใช้วิธีหยดทางหลอดเลือดดา (IV drip) เท่านั้น
เช่น Cloxacillin ยาบางตัวขนาดเท่านี้ฉีดเข้าเส้นได้ แต่หากเกินนี้ต้องหยดเข้าหลอดเลือดเท่านั้น เป็นต้น เช่น ยา
Ceftriaxone (Cef-3) หากต้องการฉีดขนาด 1 กรัมสามารถฉีดเข้าเส้นเลือดช้า ๆ ได้ (ต้องฉีดแบบช้าจริง ๆ ไม่ใช่ฉีด
ให้แล้วเสร็จภายใน 3 นาที) แต่หากต้องการฉีดขนาด 2 กรัม          ต้องผสมใน 5 % D/W หรือ NSS 100 cc. drip
มากกว่า 30 นาที - 1 ชั่วโมง หากฉีดเข้าเส้นเลือดเร็ว ๆ ทาให้ผู้ป่วยเกิดอาการชักได้ เพราะยาชนิดนี้มีคุณสมบัติ
5


เป็น Epileptogenic agent       และต้องไม่ให้ในสารละลายที่มีแคลเซี่ยมเป็นส่วนประกอบ เพราะทาให้ยาเกิดการ
ตกตะกอนได้       โดยเฉพาะบุคลากรบางท่านอาจจะให้เซ็ตให้น้าเกลือที่มีแคลเซี่ยมเป็นส่วนประกอบ สาหรับ ยา
Cef-3 บางท่านอาจสั่งให้ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ แต่เวลาไปเบิกยามา กลับเป็นชนิดให้ทางเส้นเลือดดา ฉะนั้น ยาที่ควรให้
ทางกล้ามเนื้อควรจะเป็นยา Rocephine ขนาด 250 mg มากกว่า แล้วน้ายาที่ติดมากับหลอดยาก็เป็น Lidocaine
ฉะนั้นคนทีฉีดก็ต้องประเมินเรื่องการแพ้ยาชาในกลุ่มผู้ป่วยนี้ด้วย ยา HAD ของห้องฉุกเฉินที่มีใช้อยู่ในปัจจุบันมี
อยู่หลายตัว กลไกการออกฤทธิ์ค่อนข้างแรง และมีฤทธิ์ทไม่พึงประสงค์สูง หากใช้ยาอย่างไม่ระมัดระวัง จะทาให้
                                                  ี่
เกิด Medical error ได้สูงมาก เนื่องจากยาที่ให้ผู้ป่วยในกรณีเร่งด่วนเป็น stat order แม้จะบันทึกประวัติการแพ้ยาใน
ระบบคอมพิวเตอร์หรือประวัติผู้ป่วยแล้วก็ตาม ก็ยังพบอยู่เนืองๆ         และยาบางตัวต้องคานวณเป็นมิลลิกรัมหรือ
ไมโครกรัม เช่น การใช้ยาในผู้ป่วยทารกและเด็ก หรือแม้กระทั่งยา rt.PA (Embolytic agent) ในผู้ป่วย Stroke
Fast Track ต้องคานวณจากน้าหนักตัวผู้ป่วย ฉะนั้นต้องแม่นทุกขั้นตอนของการให้ยาผู้ป่วย

         นอกจากตัวอย่างเรื่องยาแล้ว      บุคลากรผู้ปฏิบัติงานห้องฉุกเฉินยังต้องตามให้ทันในเรื่องของ Clinical
Practice Guideline (CPG) PCT ต่าง ๆ เพราะแต่ละว่า PCT โดยมากแล้วจะเริ่มต้นที่ห้องฉุกเฉินแทบทั้งสิ้น ไม่ว่า
จะเป็น PCT Stroke , PCT STEMI , PCT Multiple Trauma (C - spine injury , Vascular , Blunt abdominal
injury , Penetrating injury) และอื่น ๆ อีกหลาย PCT ซึ่งบางครั้งหากไม่ตั้งสติดี ๆ อาจทาให้บุคลากรห้องฉุกเฉิน
สับสนกันพอสมควร โดยเฉพาะอย่างยิ่งช่วงเทศกาลการถูกเยี่ยมสารวจจากหลาย ๆ องค์กรเพื่อพัฒนาคุณภาพ ไม่ว่า
จะเป็น สรพ. (HA) หน่วยประกันสังคม โครงการบัตรสุขภาพถ้วนหน้า (บัตรทองหรือบัตร 30 บาท) ราชวิทยาลัย
ต่าง ๆ     และ กพร. ทุกครั้งก็ต้องมาเยี่ยมห้องฉุกเฉินกันทั้งสิ้น และแต่ละทีมก็จะใช้เวลาในการเยี่ยมกันนาน
เหมือนผูกพันกันมานาน PCT นี้ไม่ทันออกไป PCT นั้นก็เข้ามา รู้สึกดีใจที่มีคนชอบห้องฉุกเฉิน

         บุคลากรผู้ปฏิบัติงานที่ห้องฉุกเฉินต้องรู้เรื่องตัวบทกฎหมายที่สาคัญบางประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการ
รักษาพยาบาล ในเรื่องสิทธิการรักษาพยาบาล โดยเฉพาะบัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้าและบัตรประกันสังคม ซึง
                                                                                             ่
ความหมายของคาว่า “ภาวะฉุกเฉิน” อาจมองความหมายคนละประเด็นระหว่างผู้มาใช้บริการกับผู้ให้บริการ ใน
ห้องฉุกเฉินหลายแห่งมีปัญหาในเรื่องการตีความ เพราะบางทีผู้ป่วยบอกว่าอยู่ในภาวะฉุกเฉินแต่ประเด็นบุคลากร
ผู้ปฏิบัตงานบอกว่าไม่ฉุกเฉิน รวมถึงการใช้สิทธิ พรบ.บุคคลที่ 3 กรณีเกิดอุบัติเหตุจราจร ผู้ป่วยต้องใช้ พรบ.ที่ 3
         ิ
งบ 15,000 บาทแรกก่อน หลังจากนั้นถึงจะใช้สิทธิ์หลักได้ ยกเว้นประกันสังคมบางโรงพยาบาลบางที่อาจให้ใช้ได้
หากไม่ชี้แจงให้ละเอียด อาจเกิดวิวาทะสนทนาก็เป็นได้ ส่วนบัตรประกันสังคมเช่นเดียวกัน มีผู้ป่วยประกันสังคม
6


คิดว่าเจ็บป่วยจากเหตุอะไรก็ใช้ได้       แต่ทว่าหากเจ็บป่วยจากการทางาน ต้องใช้กองทุนทดแทน             ใช้สิทธิ์
ประกันสังคมไม่ได้ กว่าจะทาความเข้าใจกันได้ก็ต้องใช้เวลา ยังมีประเด็นยาเบิกได้ เบิกไม่ได้ ยาเบิกเงินคืนได้
ครึ่งเดียว (ยา ED NR NS) อุปกรณ์เบิกได้ อุปกรณ์เบิกได้ต้องใช้ใบรับรองแพทย์ อุปกรณ์ฝากขาย อุปกรณ์อยาก
ขายแต่ไม่มีขาย ฯลฯ เป็นต้น สิ่งรายละเอียดเหล่านี้ต้องให้คาแนะนาแก่ผู้ป่วยและญาติอย่างชัดแจ้ง เพราะบางที
เรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ อาจกลายเป็นเรื่องของ “น้าผึ้งหยดเดียว” ก็เป็นได้

        งานที่ยิ่งใหญ่อีกประการหนึ่งซึ่งถือว่าเป็นงานที่ท้าทายอย่างมาก สาหรับบุคลากรห้องฉุกเฉิน นั่นก็คือการ
เตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติที่อาจเกิดขึ้นทุกขณะ ไม่ว่าจะเป็นสาธารณภัยจากน้ามือของมนุษย์ และภัยจากธรรมชาติ
หากมองย้อนในอดีต บางโรงพยาบาลจะพบว่าแผนรับอุบัติภัยหมู่ที่มีอยู่นั้นมักอยู่ในกล่องที่ได้รับการใส่กุญแจเป็น
อย่างดี จะมีไว้เวลาที่เราต้องเตรียมรับการสารวจหรือโรงพยาบาลอื่นมาดูงานเท่านั้น นับตั้งแต่ปี 2540 เป็นต้นมา
เริ่มรู้สึกว่าเรามีอุบัติภัยหมู่ที่ทวีความรุนแรงและบ่อยครั้งมากขึ้น จนเป็นมาตรฐานของแต่ละโรงพยาบาลว่าต้องมี
แผนรับอุบัติภัยหมู่ ซึ่งมีแผนรวมโดยมากเน้นเฉพาะผู้ป่วย Trauma ต่อมามีการพัฒนาการครอบคลุมไปถึงผู้ป่วย
Non Trauma และพัฒนามาถึงแผนรับอุบัติภัยสารเคมี จนถึงภัยธรรมชาติทั้งน้าท่วม แผ่นดินไหว โคลนถล่ม แต่
แผนโดยมากจะเป็นแผนตั้งรับมากกว่าในเชิงรุก เพราะเป็นแผน “รับอุบัติภัยหมู่” ส่วนแผนอพยพผู้ป่วยหรือแผน
บรรเทาสาธารณภัยนั้นมีค่อนข้างน้อย แม้จะเป็นโรงพยาบาลระดับจังหวัด โรงพยาบาลศูนย์ หรือแม้กระทั่ง
โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยก็ตาม           ผู้เป็นแกนหลักในการดาเนินงานแผนเหล่านี้ก็คือบุคลากรห้องฉุกเฉิน    หากมี
อุบัติภัยอุบัติขึ้นชนิดตรงไปตรงมาเหมือนกับอุบัติเหตุจราจร การบริหารจัดการคงไม่ยากและหนักใจเท่ากับอุบัติภัย
จากสารเคมีที่ปัจจุบันเราพบเห็นบ่อยครั้งขึ้น นอกจากนี้ การขนส่งผู้ป่วย หากใช้เฉพาะรถพยาบาล ก็คงจะไม่ต้อง
เรียน/อบรมเพิ่มเติม ตั้งแต่ สพฉ. มีนโยบายในการขนส่งผู้ป่วยทางอากาศ ก็ไม่พ้นบุคลากรห้องฉุกเฉินอีกที่ต้องไป
เรียนรู้การขนส่งผู้ป่วยทางอากาศ นับว่าเป็นประสบการณ์ที่แปลกใหม่ ที่หน่วยงานอื่นไม่เคยสัมผัสและไม่อยาก
สัมผัสด้วย

        ในส่วนของการตรวจรักษาและการแก้ไขปัญหาทางด้านคลินิกยังไม่หนักใจเท่ากับการตามทัน “อารมณ์”
ของตนเองและบุคคลรอบข้าง ประสบการณ์ของตัวผู้เขียนเอง ในช่วงแรกของการทางานบางครั้งพบว่า มีอารมณ์
ขึ้น ๆ ลง ๆ ตามเหตุการณ์ที่ตนเองประสบ บางครั้งกังวล กลัว โมโห ท้อแท้ เบื่อหน่าย และรู้สึกหมดหวังเอาดื้อ
ๆ หากใจเราไม่หนักแน่นพออารมณ์ของเราก็แปรผันตามสิ่งเร้าหรือตัวกระตุ้นภายนอก และคราใดก็ตามที่เรานา
“อารมณ์ของเรา” ไปคล้อยตามพฤติกรรมของคนอื่น ๆ ก็จะทาให้เรารู้สึกไม่สนุกกับการทางาน เช่น อาจเจอผู้ป่วย
7


ไม่ยอมเย็บแผล ไม่ยอมเอกซเรย์ เจอญาติซักถาม(มากจนเกินไป) ผู้ป่วย VIP ที่เอาแต่ใจ พบเจอทีมงานที่ทางานไม่
ไปในทิศทางเดียวกัน ผลการตรวจเลือดหรือผลเอกซเรย์ออกล่าช้า ฯลฯ เหตุการณ์ต่าง ๆ ที่ไม่พึงประสงค์อาจมีผล
ต่ออารมณ์ และอารมณ์ก็จะมีผลทาให้เราแสดงพฤติกรรมที่ไม่น่าประทับใจออกไป สิ่งที่พบบ่อยที่สุดก็คือการใช้
คาพูดที่ปราศจากการยั้งคิด     ไม่ว่าเป็นบุคลากรระดับใดก็ตาม อาจทาให้ความสัมพันธ์ของบุคลากรในหน่วยงาน
รวมถึงภาพพจน์ของตัวบุคลากรและหน่วยงานไม่น่าประทับใจ

        จึงอาจกล่าวสรุปได้ว่า “คนฉุกเฉิน จะตามทันมั้ย ?????” ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ ทั้งส่วนตัว
ผู้ปฏิบัติงานเองและปัจจัยอื่นที่มีผลต่อเรียนรู้และใฝ่รู้ในความรู้และวิวัฒนาการรักษาใหม่        ๆ    ทั้งในระยะของ
Prehospital care และ Intrahospital care นวัตกรรมที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานที่มีประโยชน์ต่อผู้ป่วย ตลอดจนตัว
บทกฎหมายและสาระน่ารู้ต่าง ๆ ที่ส่งเสริมการปฏิบัติงานของบุคลากรห้องฉุกเฉิน                    โดยมีเป้าหมายสูงสุดให้
ผู้รับบริการมีความปลอดภัย ประทับใจ และบุคลากรผู้ปฏิบัติงานทางานอย่างมีความสุข ดังคาขวัญที่ว่า “งานได้ผล
คนเป็นสุข”

                                                   ชีวิตที่มีคุณค่า

                                               เป็นเหมือนดังดาบคม

                                       แม้ซ่อนอยู่ในฝัก ก็ยังน่าตระหนก

                                        กว่าดาบที่ชักออกมาแล้ว......ไร้คม

                                       ไม่มีปัญหา ถ้าฝันนั้นจะลอยไกล....

                             เราจะก้าวให้เร็วยิ่งขึ้น เร็วยิ่งขึ้นเท่าไหร่ ด้วยใจที่มั่นคง

                                        เราก็เข้าใกล้ความฝันเร็วขึ้นเท่านั้น

                                      จากหนังสือ “เพื่อนเอย ชีวิตนี้เป็นของเธอ”

ขอบพระคุณที่อ่านจนจบครับ

ศรีทัย สีทิพย์ suandok@gmal.com

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉิน
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉินTAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉิน
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉินtaem
 
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...Suradet Sriangkoon
 
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยสิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยSutthiluck Kaewboonrurn
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triagefreelance
 
Road map to preparedness management in er
Road map to preparedness management in erRoad map to preparedness management in er
Road map to preparedness management in erKrongdai Unhasuta
 
Implement life threaten cnpg
Implement life threaten cnpgImplement life threaten cnpg
Implement life threaten cnpgKrongdai Unhasuta
 

Mais procurados (13)

Prachinburi Triage Scale
Prachinburi Triage ScalePrachinburi Triage Scale
Prachinburi Triage Scale
 
17.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
17.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์17.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
17.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉิน
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉินTAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉิน
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉิน
 
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...
 
จริยธรรม
จริยธรรมจริยธรรม
จริยธรรม
 
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยสิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
Road map to preparedness management in er
Road map to preparedness management in erRoad map to preparedness management in er
Road map to preparedness management in er
 
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
 
สาธารณภัยกับศูนย์ประสานงาน
สาธารณภัยกับศูนย์ประสานงานสาธารณภัยกับศูนย์ประสานงาน
สาธารณภัยกับศูนย์ประสานงาน
 
Ayutthaya Triage Scale
Ayutthaya Triage ScaleAyutthaya Triage Scale
Ayutthaya Triage Scale
 
Integrated pharmaceutical care
Integrated pharmaceutical careIntegrated pharmaceutical care
Integrated pharmaceutical care
 
Implement life threaten cnpg
Implement life threaten cnpgImplement life threaten cnpg
Implement life threaten cnpg
 

Destaque

ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์taem
 
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บร...
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บร...คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บร...
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บร...Utai Sukviwatsirikul
 
กฎหมาย2552
กฎหมาย2552กฎหมาย2552
กฎหมาย2552puangpaka
 
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์Utai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑): สังคม รัฐและกฎหมาย สิทธิ หน้าที่และความร...
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑): สังคม รัฐและกฎหมาย สิทธิ หน้าที่และความร...ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑): สังคม รัฐและกฎหมาย สิทธิ หน้าที่และความร...
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑): สังคม รัฐและกฎหมาย สิทธิ หน้าที่และความร...Chacrit Sitdhiwej
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 

Destaque (18)

ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียน
 
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
 
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บร...
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บร...คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บร...
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บร...
 
Kanniga 31 jan
Kanniga 31 janKanniga 31 jan
Kanniga 31 jan
 
Medical Law
Medical LawMedical Law
Medical Law
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
2559 บุรีรัมย์
2559 บุรีรัมย์2559 บุรีรัมย์
2559 บุรีรัมย์
 
กฎหมาย2552
กฎหมาย2552กฎหมาย2552
กฎหมาย2552
 
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
 
เทคนิค ชลบุรี
เทคนิค ชลบุรีเทคนิค ชลบุรี
เทคนิค ชลบุรี
 
พยาบาลกับกฎหมาย สุริน
พยาบาลกับกฎหมาย สุรินพยาบาลกับกฎหมาย สุริน
พยาบาลกับกฎหมาย สุริน
 
10 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
10 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง10 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
10 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
 
2 p safety kanniga 60
2 p safety kanniga 602 p safety kanniga 60
2 p safety kanniga 60
 
การพัฒนาคุณภาพจากการทบทวน
การพัฒนาคุณภาพจากการทบทวนการพัฒนาคุณภาพจากการทบทวน
การพัฒนาคุณภาพจากการทบทวน
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑): สังคม รัฐและกฎหมาย สิทธิ หน้าที่และความร...
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑): สังคม รัฐและกฎหมาย สิทธิ หน้าที่และความร...ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑): สังคม รัฐและกฎหมาย สิทธิ หน้าที่และความร...
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑): สังคม รัฐและกฎหมาย สิทธิ หน้าที่และความร...
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาล
 
คำพิพากษาศาลฎีกา(แพ่ง)คดีร่อนพิบูลย์ 11พ.ค.59
คำพิพากษาศาลฎีกา(แพ่ง)คดีร่อนพิบูลย์ 11พ.ค.59คำพิพากษาศาลฎีกา(แพ่ง)คดีร่อนพิบูลย์ 11พ.ค.59
คำพิพากษาศาลฎีกา(แพ่ง)คดีร่อนพิบูลย์ 11พ.ค.59
 

Semelhante a คนฉุกเฉินตามทันมั๊ย ..อ.ศรีทัย สีทิพย์

TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินTAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินtaem
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางSuradet Sriangkoon
 
070618133400 (1).pptx
070618133400 (1).pptx070618133400 (1).pptx
070618133400 (1).pptxssuserab8097
 
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว Utai Sukviwatsirikul
 
สัมนาเครือข่ายพยาบาลฉุกเฉิน
สัมนาเครือข่ายพยาบาลฉุกเฉินสัมนาเครือข่ายพยาบาลฉุกเฉิน
สัมนาเครือข่ายพยาบาลฉุกเฉินtaem
 
CPR2010 update
CPR2010 updateCPR2010 update
CPR2010 updatetaem
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfporkhwan
 
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทกเภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทกpitsanu duangkartok
 
TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551
TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551
TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551taem
 
การดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuการดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuNantawan Tippayanate
 
Emergency Triage and BCLS ,ACLS 2015
Emergency Triage and BCLS ,ACLS 2015Emergency Triage and BCLS ,ACLS 2015
Emergency Triage and BCLS ,ACLS 2015karaket884
 
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทยโครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทยSurasak Tumthong
 

Semelhante a คนฉุกเฉินตามทันมั๊ย ..อ.ศรีทัย สีทิพย์ (20)

TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินTAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
 
4.1 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก
4.1 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก4.1 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก
4.1 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก
 
First aid by Narenthorn 2016
First aid by Narenthorn 2016First aid by Narenthorn 2016
First aid by Narenthorn 2016
 
070618133400 (1).pptx
070618133400 (1).pptx070618133400 (1).pptx
070618133400 (1).pptx
 
(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update
 
TRAUMA SYSTEM.pdf
TRAUMA SYSTEM.pdfTRAUMA SYSTEM.pdf
TRAUMA SYSTEM.pdf
 
TRAUMA SYSTEM.pdf
TRAUMA SYSTEM.pdfTRAUMA SYSTEM.pdf
TRAUMA SYSTEM.pdf
 
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
 
สัมนาเครือข่ายพยาบาลฉุกเฉิน
สัมนาเครือข่ายพยาบาลฉุกเฉินสัมนาเครือข่ายพยาบาลฉุกเฉิน
สัมนาเครือข่ายพยาบาลฉุกเฉิน
 
CPR2010 update
CPR2010 updateCPR2010 update
CPR2010 update
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
 
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทกเภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
 
TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551
TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551
TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551
 
Emergency department triage
Emergency department triageEmergency department triage
Emergency department triage
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
 
การดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuการดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msu
 
Emergency Triage and BCLS ,ACLS 2015
Emergency Triage and BCLS ,ACLS 2015Emergency Triage and BCLS ,ACLS 2015
Emergency Triage and BCLS ,ACLS 2015
 
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทยโครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
 

Mais de taem

ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563taem
 
Thai EMS legislation
Thai EMS legislationThai EMS legislation
Thai EMS legislationtaem
 
ACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 AgendaACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 Agendataem
 
ACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergencyACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergencytaem
 
ACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulationACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulationtaem
 
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasoundACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasoundtaem
 
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...taem
 
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014taem
 
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical useACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical usetaem
 
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...taem
 
ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change taem
 
ACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk managementACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk managementtaem
 
ACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCIACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCItaem
 
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014taem
 
ACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zoneACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zonetaem
 
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical careACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical caretaem
 
ACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast trackACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast tracktaem
 
ACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED directorACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED directortaem
 
ACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED designACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED designtaem
 
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAtaem
 

Mais de taem (20)

ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
 
Thai EMS legislation
Thai EMS legislationThai EMS legislation
Thai EMS legislation
 
ACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 AgendaACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 Agenda
 
ACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergencyACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergency
 
ACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulationACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulation
 
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasoundACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
 
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
 
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
 
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical useACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
 
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
 
ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change
 
ACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk managementACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk management
 
ACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCIACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCI
 
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
 
ACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zoneACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zone
 
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical careACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
 
ACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast trackACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast track
 
ACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED directorACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED director
 
ACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED designACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED design
 
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
 

คนฉุกเฉินตามทันมั๊ย ..อ.ศรีทัย สีทิพย์

  • 1. 1 คนฉุกเฉินตามทันมั้ย ????? ศรีทัย สีทิพย์ หน่วยตรวจฉุกเฉิน โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ “ห้องฉุกเฉิน” นับว่าเป็นปราการสาคัญด่านแรกสาหรับแต่ละโรงพยาบาล หากเปรียบเสมือน หนังเรื่อง “ขุนศึก” ห้องฉุกเฉินอาจจะเปรียบเสมือนประตูด้านหน้า (Main Gate) ของเมืองอโยธยา ที่มีหน้าที่ รับผิดชอบในการคัดกรองคนเข้าประตูเมือง (Gate Keeper) ดูแลความเรียบร้อยของด้านหน้าเมืองก่อนส่งคนเข้า ไปในกลางเมือง(หอผู้ป่วยใน) จะแตกต่างกับประตูด้านหน้าเมืองอโยธยาตรงที่เปิดปิดเป็นเวลายามศึกสงคราม แต่ชีวิตจริงประตูของห้องฉุกเฉิน ไม่เคยปิดทาการ ไม่ว่าจะเป็นยามสงบ(จันทร์ถึงศุกร์) หรือยามศึกสงคราม (วัน เสาร์อาทิตย์ วันหยุดนักขัตฤกษ์ เทศกาลปีใหม่ เทศกาลสงกรานต์ วันลอยกระทง ไม่เคยถอนอัตรากาลังออก นอกจากจะเพิ่มเพื่อเตรียมรับสถานการณ์ จะเห็นได้ว่า “ห้องฉุกเฉิน” ถือเป็นหน่วยงานหลักของโรงพยาบาล ที สาคัญอย่างยิ่งในการประเมิน คัดกรอง รักษา และเตรียมส่งนอนโรงพยาบาลหรือแม้กระทั่งส่งออกไปยังหัวเมือง อื่น ๆ (Refer ไปยังโรงพยาบาลอื่น) ปัญหาสาคัญประการหนึ่งที่ห้องฉุกเฉินประสบเป็นอย่างมากก็คือ การขาดอัตรากาลังที่มักมาพร้อมกับ ภาระงานที่ล้นมือ ซึ่งประสบปัญหาอยู่แทบทุกโรงพยาบาล รวมถึงความคาดหวังของผู้รับบริการในแต่ละแห่ง (โดยคาดหวังว่าต้องบริการรวดเร็ว ดี มีคุณภาพ ปลอดภัยและประทับใจ) ซึ่งนับเป็นความท้าทายของผู้บริหารของ แต่ละโรงพยาบาลที่ต้องแก้ไขและส่งเสริมในแต่ละประเด็น สาหรับประเด็นความท้าทายในระดับผู้ปฏิบัติงานนั้น จะพบได้ในประเด็นสาคัญก็คือ “วิทยาการที่ก้าวไกล” รวมถึง “ความไม่เข้าในใจบางประเด็น” โดยในสภาวการณ์ปัจจุบัน ความเจริญทางเทคโนโลยีได้เข้ามาจนเราอาจตั้งตัวไม่ติด ไม่ว่าจะเป็นด้านการ อุตสาหกรรม การสื่อสารคมนาคม การศึกษา หรือแม้กระทั่งการรักษาพยาบาล ในส่วนของการรักษาพยาบาล นั้นมีการนาเทคโนโลยีมาใช้อย่างแพร่หลาย และอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ผลิตขึ้นมาแต่ละชิ้นนั้น นับว่าจะใช้
  • 2. 2 กาลังคนและกาลังความคิดของมนุษย์น้อยลงไปทุกขณะ ทาให้ชีวิตการทางานของบุคลากรทางด้านการแพทย์และ การสาธารณสุขดูเหมือนว่าจะสบายกว่าเดิมมาก ไม่ว่าจะเป็นเครื่องวัดความดันแบบดิจิตอล ปรอทแบบดิจิตอล เครื่องหยดให้สารน้าทางหลอดเลือดดา ฯลฯ หากมองย้อนดูผลลัพธ์ลึก ๆ ให้ดี ๆ อาจได้รับทราบถึงผลดีและ ผลเสียที่แฝงมากับความเจริญก้าวหน้าทางด้านอุปกรณ์การแพทย์เหล่านี้ สาหรับความรุนแรงของแต่ละโรคปัจจุบันนั้น ก็มักมาพร้อมกับความเจริญรุดหน้าทางด้านเทคโนโลยี ทางด้านการรักษาอย่างเห็นได้ชัด ยังจาได้เมื่อประมาณ 30 ปีก่อน อุบัติเหตุจราจรมีค่อนข้างน้อย เวลาผู้ป่วยมาใช้ บริการ อาการมักไม่หนักจนเกินไป ที่พบบ่อย ได้แก่ แผลถลอก แผลต้องเย็บ กระดูกหักบ้าง แต่ไม่รุนแรงถึงกับ ชีวิตมากนัก มาบัดนี้ เกิดเหตุที เห็นอาการผู้ป่วยแล้วก็ต้องทาใจ เฟอร์นิเจอร์เพียบพร้อม ทั้งท่อช่วยหายใจ ท่อ ระบายทรวงอก สายสวนปัสสาวะ น้าเกลือ สายยางให้อาหาร ส่วนโรคทางอายุรกรรมเช่นเดียวกัน เวลามีผู้ป่วย เป็นหวัด ไข้ ไอ ระคายเคืองคอ เมื่อไปทาการตรวจรักษา ก็จะได้รับการรักษาแบบ ยาลดไข้ ยาบรรเทาอาการหวัด แค่นี้อาการที่เป็นมาทั้งหลายก็เกือบหายไปหมด แต่ในปัจจุบันนี้หากจ่ายยาให้ผู้ป่วยเท่านี้ ผู้ป่วยที่มีความ(ไม่)รู้อาจ ไม่พึงพอใจ หรือมีความหวังว่ามารักษาด้วยอาการเช่นนี้ต้องได้รับยาฆ่าเชื้อกลับไปรับประทานทุกครั้ง ซึ่งก็เป็นอีก ประเด็นหนึ่งของการใช้ยาต้านจุลชีพเกินความจาเป็นในยุคโลกแห่ง IT ในปัจจุบัน ซึ่งถือว่า “ผู้ป่วยตามทันโรค” หรือ “ผู้รักษาตาม(โรค)ผู้ป่วยไม่ทัน” ในส่วนของวิวัฒนาการดูแลรักษาผู้ป่วย นับวันจะพัฒนามาเรื่อยๆ ทั้งในส่วนการดูแลผู้ป่วยในระดับ Prehospital care และ Intrahospital care โดยเฉพาะในส่วนของ Prehospital care นั้นต้องใช้ทักษะและความรู้ ค่อนข้างสูง โดยเฉพาะทักษะส่วนตัว (Individual skill) ทักษะทางด้านสังคม (Social skill) และการจัดการความรู้ (Knowledge management) ตัวอย่างที่พบเห็นได้บ่อย ๆ ได้แก่ การช่วยหายใจขั้นสูง หากอยู่ในแผนกอื่น ๆ ถาม โดยรวมจะรู้จักเฉพาะ Endotracheal tube , Nasotracheal tube หรือ Tracheostomy tube แต่โดยจริงแล้ว การช่วย หายใจขั้นสูงมีทั้ง Esophageal Tracheal Combitube หรือแม้กระทั่ง Tracklight รวมถึง Exchanger tube ที่ใคร ต่อใครอาจไม่รู้จัก นั่นคือความท้าทายประการหนึ่งของคนทางานห้องฉุกเฉินและผู้ปฏิบัติงานหน่วยบริการ การแพทย์ฉุกเฉินที่ต้องใช้ให้ถูก ให้เป็น และเกิดผลประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ป่วย
  • 3. 3 LMA (Laryngeal mask airway) Esophageal Tracheal Combitube ความท้าทายประการต่อมาของผู้ปฏิบัติงานห้องฉุกเฉินและต้องตามให้ทันอยู่เสมอ ก็คือลักษณะของผู้มา ใช้บริการที่ห้องฉุกเฉินนั้นมีหลายประเภท หลายโรค หลายอาการ เหมือนกับการ “ตั้งรับ” ได้ทุกกระบวนท่า ผู้ป่วยมีปัญหาสาคัญประการใด ก็ต้องแก้ไขประการนั้น เพื่อให้เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย นอกจากนี้ยังต้องมี ความสามารถในการจัดแบ่งผู้ป่วยให้เหมาะสมกับการรักษาตั้งแต่ Resuscitation(ฟ้า) , Emergent (แดง) , Urgent
  • 4. 4 (เหลือง) , Less urgent (เขียว) ไปจนถึง Non urgent (ขาว) กรณีผู้ป่วยกลุ่มสีเหลือง เขียว ขาว การรักษาไม่ซับซ้อน มากเท่ากับผู้ป่วยกลุ่มสีฟ้าและสีแดง โดยเฉพาะผู้ป่วยกลุ่มสีฟ้าเนื่องจากผู้ป่วยแต่ละรายมานั้นมักจะมีภาวะ แทรก ซ้อนและซับซ้อนเกินที่จะบรรยาย ดังเป็นที่ทราบดีอยู่แล้วว่าห้องฉุกเฉินเป็นด่านแรกสุดในการรับผู้ป่วยอาการ เร่งด่วน ผู้ป่วยที่ถูกส่งมาอาจไม่มีญาติ ผู้นาส่งก็ไม่ทราบประวัติที่ชัดเจน และไม่ทราบจะเริ่มต้นอย่างไร ฉะนั้นการ ประมวลความรู้และความน่าจะเป็นในวิชาตรรกศาสตร์ ก็อาจช่วยได้ในบางประเด็น แต่บางครั้งจะพบว่าถูกผู้ป่วย หลอกให้เราเชื่อย่างสนิทใจ เช่น ไม่ปวดท้องแต่บอกว่าปวดท้อง ไม่เจ็บคอบอกว่าเจ็บคอ แต่ขอใบรับรองแพทย์ ว่ามาตรวจจริงบ้าง โดยเฉพาะผู้ป่วยที่ต้องการใช้ยา (Drug addict) แต่ก่อนนั้นยังไม่มีการติดต่อสื่อสารระหว่าง โรงพยาบาลและหน่วยงานให้บริการผู้ป่วยมากนัก ผู้ป่วยกลุ่มนี้มักจะเวียนไปโรงพยาบาลโน้นที โรงพยาบาลนี้ที เพียงแค่ให้ได้รับยาที่ต้องการบอก บางรายมีความสามารถบอกชื่อโรคเป็นภาษาอังกฤษได้อย่างชัดเจน เช่นเป็น Brain tumor บ้าง Bone metastasis CA บ้าง เนื้องอกบริเวณลาไส้บ้าง ต้องได้รับการฉีดยาประเภท Morphine หรือ Pethidine บางรายเก่งมาก บอกว่าต้องฉีดพร้อม Dormicum ถึงจะดีขึ้น พร้อมกับบอกการออกฤทธิ์ของยาได้เหมือน เรียนมาเอง บางรายบอกว่ารอวีซ่า เพื่อไปรับการผ่าตัดจากประเทศ....... บ้าง หรือบางกรณีได้รับข้อมูลเพิ่มเติมจาก ญาติว่าผู้ป่วยแกลังตกบันได แกล้งหกล้ม เพื่อต้องการให้ตัวเองมีบาดแผล จะได้ขอฉีดยาอย่างสมเหตุสมผล ซึ่ง ผู้ป่วยเหล่านี้พบได้ทั้งผู้ป่วยที่เป็นคนไทยและชาวต่างชาติ จนถึงปัจจุบันนี้การติดต่อสื่อสารระหว่างโรงพยาบาลมี มากขึ้น (เครือข่าย) ทาให้เรารู้เท่าทันความคิดของผู้ป่วยเหล่านีได้มากกว่าเดิม ้ ต้องขอบคุณเทคโนโลยีทางการ สื่อสารจริง ๆ นอกจากการรู้ทันความคิดผู้อื่นแล้วบุคลากรผู้ทางานห้องฉุกเฉินเองก็ต้องมีสมรรถนะในเรื่องยาพอสมควร เพราะปัจจุบันมีหลายคนจดจาเฉพาะชื่อทางการค้า (Trade name) จนบางครั้งมีการเปลี่ยนบริษัทนาเข้ายาทาให้ชื่อยา เปลี่ยนไปด้วย โดยเฉพาะยาที่เป็น High Alert Drug (HAD) นั้นสาคัญยิ่งในยามที่ต้องใช้ด่วน ยาบางตัวต้องผสม ใน 5 % D/W แต่ยาบางตัวต้องผสมใน NSS เพราะหากผสมใน water for injection หรือ 5 % D/W ยาอาจตกตะกอน ได้ ยาบางตัวห้ามฉีดเข้าเส้นเลือดดา (IV push) เด็ดขาด และต้องใช้วิธีหยดทางหลอดเลือดดา (IV drip) เท่านั้น เช่น Cloxacillin ยาบางตัวขนาดเท่านี้ฉีดเข้าเส้นได้ แต่หากเกินนี้ต้องหยดเข้าหลอดเลือดเท่านั้น เป็นต้น เช่น ยา Ceftriaxone (Cef-3) หากต้องการฉีดขนาด 1 กรัมสามารถฉีดเข้าเส้นเลือดช้า ๆ ได้ (ต้องฉีดแบบช้าจริง ๆ ไม่ใช่ฉีด ให้แล้วเสร็จภายใน 3 นาที) แต่หากต้องการฉีดขนาด 2 กรัม ต้องผสมใน 5 % D/W หรือ NSS 100 cc. drip มากกว่า 30 นาที - 1 ชั่วโมง หากฉีดเข้าเส้นเลือดเร็ว ๆ ทาให้ผู้ป่วยเกิดอาการชักได้ เพราะยาชนิดนี้มีคุณสมบัติ
  • 5. 5 เป็น Epileptogenic agent และต้องไม่ให้ในสารละลายที่มีแคลเซี่ยมเป็นส่วนประกอบ เพราะทาให้ยาเกิดการ ตกตะกอนได้ โดยเฉพาะบุคลากรบางท่านอาจจะให้เซ็ตให้น้าเกลือที่มีแคลเซี่ยมเป็นส่วนประกอบ สาหรับ ยา Cef-3 บางท่านอาจสั่งให้ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ แต่เวลาไปเบิกยามา กลับเป็นชนิดให้ทางเส้นเลือดดา ฉะนั้น ยาที่ควรให้ ทางกล้ามเนื้อควรจะเป็นยา Rocephine ขนาด 250 mg มากกว่า แล้วน้ายาที่ติดมากับหลอดยาก็เป็น Lidocaine ฉะนั้นคนทีฉีดก็ต้องประเมินเรื่องการแพ้ยาชาในกลุ่มผู้ป่วยนี้ด้วย ยา HAD ของห้องฉุกเฉินที่มีใช้อยู่ในปัจจุบันมี อยู่หลายตัว กลไกการออกฤทธิ์ค่อนข้างแรง และมีฤทธิ์ทไม่พึงประสงค์สูง หากใช้ยาอย่างไม่ระมัดระวัง จะทาให้ ี่ เกิด Medical error ได้สูงมาก เนื่องจากยาที่ให้ผู้ป่วยในกรณีเร่งด่วนเป็น stat order แม้จะบันทึกประวัติการแพ้ยาใน ระบบคอมพิวเตอร์หรือประวัติผู้ป่วยแล้วก็ตาม ก็ยังพบอยู่เนืองๆ และยาบางตัวต้องคานวณเป็นมิลลิกรัมหรือ ไมโครกรัม เช่น การใช้ยาในผู้ป่วยทารกและเด็ก หรือแม้กระทั่งยา rt.PA (Embolytic agent) ในผู้ป่วย Stroke Fast Track ต้องคานวณจากน้าหนักตัวผู้ป่วย ฉะนั้นต้องแม่นทุกขั้นตอนของการให้ยาผู้ป่วย นอกจากตัวอย่างเรื่องยาแล้ว บุคลากรผู้ปฏิบัติงานห้องฉุกเฉินยังต้องตามให้ทันในเรื่องของ Clinical Practice Guideline (CPG) PCT ต่าง ๆ เพราะแต่ละว่า PCT โดยมากแล้วจะเริ่มต้นที่ห้องฉุกเฉินแทบทั้งสิ้น ไม่ว่า จะเป็น PCT Stroke , PCT STEMI , PCT Multiple Trauma (C - spine injury , Vascular , Blunt abdominal injury , Penetrating injury) และอื่น ๆ อีกหลาย PCT ซึ่งบางครั้งหากไม่ตั้งสติดี ๆ อาจทาให้บุคลากรห้องฉุกเฉิน สับสนกันพอสมควร โดยเฉพาะอย่างยิ่งช่วงเทศกาลการถูกเยี่ยมสารวจจากหลาย ๆ องค์กรเพื่อพัฒนาคุณภาพ ไม่ว่า จะเป็น สรพ. (HA) หน่วยประกันสังคม โครงการบัตรสุขภาพถ้วนหน้า (บัตรทองหรือบัตร 30 บาท) ราชวิทยาลัย ต่าง ๆ และ กพร. ทุกครั้งก็ต้องมาเยี่ยมห้องฉุกเฉินกันทั้งสิ้น และแต่ละทีมก็จะใช้เวลาในการเยี่ยมกันนาน เหมือนผูกพันกันมานาน PCT นี้ไม่ทันออกไป PCT นั้นก็เข้ามา รู้สึกดีใจที่มีคนชอบห้องฉุกเฉิน บุคลากรผู้ปฏิบัติงานที่ห้องฉุกเฉินต้องรู้เรื่องตัวบทกฎหมายที่สาคัญบางประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการ รักษาพยาบาล ในเรื่องสิทธิการรักษาพยาบาล โดยเฉพาะบัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้าและบัตรประกันสังคม ซึง ่ ความหมายของคาว่า “ภาวะฉุกเฉิน” อาจมองความหมายคนละประเด็นระหว่างผู้มาใช้บริการกับผู้ให้บริการ ใน ห้องฉุกเฉินหลายแห่งมีปัญหาในเรื่องการตีความ เพราะบางทีผู้ป่วยบอกว่าอยู่ในภาวะฉุกเฉินแต่ประเด็นบุคลากร ผู้ปฏิบัตงานบอกว่าไม่ฉุกเฉิน รวมถึงการใช้สิทธิ พรบ.บุคคลที่ 3 กรณีเกิดอุบัติเหตุจราจร ผู้ป่วยต้องใช้ พรบ.ที่ 3 ิ งบ 15,000 บาทแรกก่อน หลังจากนั้นถึงจะใช้สิทธิ์หลักได้ ยกเว้นประกันสังคมบางโรงพยาบาลบางที่อาจให้ใช้ได้ หากไม่ชี้แจงให้ละเอียด อาจเกิดวิวาทะสนทนาก็เป็นได้ ส่วนบัตรประกันสังคมเช่นเดียวกัน มีผู้ป่วยประกันสังคม
  • 6. 6 คิดว่าเจ็บป่วยจากเหตุอะไรก็ใช้ได้ แต่ทว่าหากเจ็บป่วยจากการทางาน ต้องใช้กองทุนทดแทน ใช้สิทธิ์ ประกันสังคมไม่ได้ กว่าจะทาความเข้าใจกันได้ก็ต้องใช้เวลา ยังมีประเด็นยาเบิกได้ เบิกไม่ได้ ยาเบิกเงินคืนได้ ครึ่งเดียว (ยา ED NR NS) อุปกรณ์เบิกได้ อุปกรณ์เบิกได้ต้องใช้ใบรับรองแพทย์ อุปกรณ์ฝากขาย อุปกรณ์อยาก ขายแต่ไม่มีขาย ฯลฯ เป็นต้น สิ่งรายละเอียดเหล่านี้ต้องให้คาแนะนาแก่ผู้ป่วยและญาติอย่างชัดแจ้ง เพราะบางที เรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ อาจกลายเป็นเรื่องของ “น้าผึ้งหยดเดียว” ก็เป็นได้ งานที่ยิ่งใหญ่อีกประการหนึ่งซึ่งถือว่าเป็นงานที่ท้าทายอย่างมาก สาหรับบุคลากรห้องฉุกเฉิน นั่นก็คือการ เตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติที่อาจเกิดขึ้นทุกขณะ ไม่ว่าจะเป็นสาธารณภัยจากน้ามือของมนุษย์ และภัยจากธรรมชาติ หากมองย้อนในอดีต บางโรงพยาบาลจะพบว่าแผนรับอุบัติภัยหมู่ที่มีอยู่นั้นมักอยู่ในกล่องที่ได้รับการใส่กุญแจเป็น อย่างดี จะมีไว้เวลาที่เราต้องเตรียมรับการสารวจหรือโรงพยาบาลอื่นมาดูงานเท่านั้น นับตั้งแต่ปี 2540 เป็นต้นมา เริ่มรู้สึกว่าเรามีอุบัติภัยหมู่ที่ทวีความรุนแรงและบ่อยครั้งมากขึ้น จนเป็นมาตรฐานของแต่ละโรงพยาบาลว่าต้องมี แผนรับอุบัติภัยหมู่ ซึ่งมีแผนรวมโดยมากเน้นเฉพาะผู้ป่วย Trauma ต่อมามีการพัฒนาการครอบคลุมไปถึงผู้ป่วย Non Trauma และพัฒนามาถึงแผนรับอุบัติภัยสารเคมี จนถึงภัยธรรมชาติทั้งน้าท่วม แผ่นดินไหว โคลนถล่ม แต่ แผนโดยมากจะเป็นแผนตั้งรับมากกว่าในเชิงรุก เพราะเป็นแผน “รับอุบัติภัยหมู่” ส่วนแผนอพยพผู้ป่วยหรือแผน บรรเทาสาธารณภัยนั้นมีค่อนข้างน้อย แม้จะเป็นโรงพยาบาลระดับจังหวัด โรงพยาบาลศูนย์ หรือแม้กระทั่ง โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยก็ตาม ผู้เป็นแกนหลักในการดาเนินงานแผนเหล่านี้ก็คือบุคลากรห้องฉุกเฉิน หากมี อุบัติภัยอุบัติขึ้นชนิดตรงไปตรงมาเหมือนกับอุบัติเหตุจราจร การบริหารจัดการคงไม่ยากและหนักใจเท่ากับอุบัติภัย จากสารเคมีที่ปัจจุบันเราพบเห็นบ่อยครั้งขึ้น นอกจากนี้ การขนส่งผู้ป่วย หากใช้เฉพาะรถพยาบาล ก็คงจะไม่ต้อง เรียน/อบรมเพิ่มเติม ตั้งแต่ สพฉ. มีนโยบายในการขนส่งผู้ป่วยทางอากาศ ก็ไม่พ้นบุคลากรห้องฉุกเฉินอีกที่ต้องไป เรียนรู้การขนส่งผู้ป่วยทางอากาศ นับว่าเป็นประสบการณ์ที่แปลกใหม่ ที่หน่วยงานอื่นไม่เคยสัมผัสและไม่อยาก สัมผัสด้วย ในส่วนของการตรวจรักษาและการแก้ไขปัญหาทางด้านคลินิกยังไม่หนักใจเท่ากับการตามทัน “อารมณ์” ของตนเองและบุคคลรอบข้าง ประสบการณ์ของตัวผู้เขียนเอง ในช่วงแรกของการทางานบางครั้งพบว่า มีอารมณ์ ขึ้น ๆ ลง ๆ ตามเหตุการณ์ที่ตนเองประสบ บางครั้งกังวล กลัว โมโห ท้อแท้ เบื่อหน่าย และรู้สึกหมดหวังเอาดื้อ ๆ หากใจเราไม่หนักแน่นพออารมณ์ของเราก็แปรผันตามสิ่งเร้าหรือตัวกระตุ้นภายนอก และคราใดก็ตามที่เรานา “อารมณ์ของเรา” ไปคล้อยตามพฤติกรรมของคนอื่น ๆ ก็จะทาให้เรารู้สึกไม่สนุกกับการทางาน เช่น อาจเจอผู้ป่วย
  • 7. 7 ไม่ยอมเย็บแผล ไม่ยอมเอกซเรย์ เจอญาติซักถาม(มากจนเกินไป) ผู้ป่วย VIP ที่เอาแต่ใจ พบเจอทีมงานที่ทางานไม่ ไปในทิศทางเดียวกัน ผลการตรวจเลือดหรือผลเอกซเรย์ออกล่าช้า ฯลฯ เหตุการณ์ต่าง ๆ ที่ไม่พึงประสงค์อาจมีผล ต่ออารมณ์ และอารมณ์ก็จะมีผลทาให้เราแสดงพฤติกรรมที่ไม่น่าประทับใจออกไป สิ่งที่พบบ่อยที่สุดก็คือการใช้ คาพูดที่ปราศจากการยั้งคิด ไม่ว่าเป็นบุคลากรระดับใดก็ตาม อาจทาให้ความสัมพันธ์ของบุคลากรในหน่วยงาน รวมถึงภาพพจน์ของตัวบุคลากรและหน่วยงานไม่น่าประทับใจ จึงอาจกล่าวสรุปได้ว่า “คนฉุกเฉิน จะตามทันมั้ย ?????” ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ ทั้งส่วนตัว ผู้ปฏิบัติงานเองและปัจจัยอื่นที่มีผลต่อเรียนรู้และใฝ่รู้ในความรู้และวิวัฒนาการรักษาใหม่ ๆ ทั้งในระยะของ Prehospital care และ Intrahospital care นวัตกรรมที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานที่มีประโยชน์ต่อผู้ป่วย ตลอดจนตัว บทกฎหมายและสาระน่ารู้ต่าง ๆ ที่ส่งเสริมการปฏิบัติงานของบุคลากรห้องฉุกเฉิน โดยมีเป้าหมายสูงสุดให้ ผู้รับบริการมีความปลอดภัย ประทับใจ และบุคลากรผู้ปฏิบัติงานทางานอย่างมีความสุข ดังคาขวัญที่ว่า “งานได้ผล คนเป็นสุข” ชีวิตที่มีคุณค่า เป็นเหมือนดังดาบคม แม้ซ่อนอยู่ในฝัก ก็ยังน่าตระหนก กว่าดาบที่ชักออกมาแล้ว......ไร้คม ไม่มีปัญหา ถ้าฝันนั้นจะลอยไกล.... เราจะก้าวให้เร็วยิ่งขึ้น เร็วยิ่งขึ้นเท่าไหร่ ด้วยใจที่มั่นคง เราก็เข้าใกล้ความฝันเร็วขึ้นเท่านั้น จากหนังสือ “เพื่อนเอย ชีวิตนี้เป็นของเธอ” ขอบพระคุณที่อ่านจนจบครับ ศรีทัย สีทิพย์ suandok@gmal.com