O slideshow foi denunciado.
Seu SlideShare está sendo baixado. ×

เอกสารส่วนกลาง Dbd printed

Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio

Confira estes a seguir

1 de 90 Anúncio

Mais Conteúdo rRelacionado

Semelhante a เอกสารส่วนกลาง Dbd printed (20)

Mais recentes (20)

Anúncio

เอกสารส่วนกลาง Dbd printed

  1. 1.
  2. 2. AGENDA <ul><li>ความรู้เบื้องต้นด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ </li></ul><ul><li>การวิเคราะห์ความพร้อมก่อนเริ่มต้นทำพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ </li></ul><ul><li>การสร้างเว็บไซต์ </li></ul><ul><li>ระบบการชำระเงินและการขนส่งสินค้า </li></ul><ul><li>ระบบรักษาความปลอดภัยและการสร้างความน่าเชื่อถือในการประกอบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ </li></ul><ul><li>กลยุทธ์การทำการตลาดออนไลน์ </li></ul>
  3. 3.
  4. 4. <ul><li>พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic commerce ) หรือ อี - คอมเมิร์ช ( E - Commerce ) </li></ul><ul><li>หมายถึง การทำธุรกรรมผ่านสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ ในทุกๆ ช่องทางที่เป็นอิเล็กทรอนิกส์เช่น การซื้อขายสินค้าและบริการ การโฆษณาผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะเป็น โทรศัพท์ , โทรทัศน์ , วิทยุ , หรือแม้แต่ อินเทอร์เน็ต เป็นต้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดค่าใช้จ่าย และเพื่มประสิทธิภาพขององค์กร โดยการลดบทบาทของความสำคัญขององค์ประกอบทางธุรกิจลง เช่น ทำเลที่ตั้ง อาคารประกอบการ โกดังเก็บสินค้า ห้องแสดงสินค้า รวมถึงพนักงานขาย พนักงานแนะนำสินค้า พนักงานต้อนรับลูกค้าเป็นต้น ดังนั้นจึงลดข้อจำกัดของระยะทางและเวลา ในการทำธุรกรรมลงได้ </li></ul><ul><li>http :// th . wikipedia . org / wiki / E_commerce </li></ul>Electronic commerce , e - commerce or eCommerce , consists of the buying and selling of products or services over electronic systems such as the Internet and other computer networks . http :// en . wikipedia . org / wiki / Ecommerce
  5. 5. <ul><li>ธุรกิจ </li></ul><ul><li>ของคุณ </li></ul>คนในพื้นที่ หรือเดินผ่านไปมาหน้าร้าน Agent
  6. 6. ธุรกิจของคุณ เปิดบริการ 24/7 คนทั่วโลก / ประเทศ Agent Agent Agent
  7. 7.
  8. 8. <ul><li>ลดต้นทุนในการทำธุรกรรม เงินลงทุนต่ำ </li></ul><ul><li>ประหยัดค่าพิมพ์เอกสารและค่าโฆษณา </li></ul><ul><li>ลดการต่อรอง </li></ul><ul><li>รวดเร็ว ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย </li></ul><ul><li>เปิดตลาดใหม่ เข้าถึงกลุ่มลูกค้าทั่วประเทศและทั่วโลก </li></ul><ul><li>สามารถเข้าถึงลูกค้าได้ตรง ( 1:1) </li></ul><ul><li>ไม่ต้องมีพนักงานประจำ เพราะสามารถให้บริการแบบอัตโนมัติได้ </li></ul><ul><li>24/7 </li></ul>
  9. 9. <ul><li>ข้อมูลสถิติอินเทอร์เน็ตของไทย </li></ul><ul><li>และทั่วโลกที่ควรรู้ </li></ul>
  10. 10.
  11. 11.
  12. 12. North 17.84 % NorthEast 13.86 % Central 17.97 % Bangkok 36.02 % South 15.42 % Thailand Internet User by Geographics Source:National Statistical Office of Thailand (2008) ผู้ใช้อินเทอร์เน็ต กระจายอยู่ตามเมืองใหญ่ที่มี infrastructure ไปถึง แต่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
  13. 13. ประชากรคนใช้อินเทอร์เน็ตในไทย 13.4 ล้านคน (20 %) จากคนไทย 65 ล้านคน ข้อมูลจาก : NECTEC
  14. 14.
  15. 15.
  16. 16.
  17. 17. % Age 6-10 11-14 15-18 20-24 25-29 30-34 35-39 40-49 50-59 60 up 0.6 3.0 10.2 13.5 23.1 14.5 13.4 14.5 5.7 1.5 E-Commerce User by Age Source: National Statistical Office of Thailand (2008)
  18. 18. การตลาดออนไลน์ คือการใช้ช่องทาง internet ในการเผยแพร่ข้อมูลองค์กร สินค้าหรือบริการ และก่อให้เกิดการซื้อขาย รู้จักการตลาดออนไลน์
  19. 19. <ul><li>C2C ลูกค้า สู่ ลูกค้า (Consumer to Consumer) </li></ul><ul><li>B2C บริษัท สู่ ลูกค้า (Business to Consumer) </li></ul><ul><li>B2B บริษัท สู่ บริษัท (Business to Business) </li></ul><ul><li>B2G บริษัทสู่องค์กรรัฐบาล (Business to Government) </li></ul>
  20. 20. C2C Model ลูกค้า สู่ ลูกค้า (Consumer to Consumer) Ex. www.ThaiSecondhand.com, www.Ebay.com
  21. 21. B2C Model บริษัท สู่ ลูกค้า (Business to Consumer) Ex. www.Tohome.com ,
  22. 22. B2B บริษัท สู่ บริษัท (Business to Business) Ex. www.FoodMarketExchange.com , www.Alibaba.com
  23. 23. B2G Model B2G บริษัทสู่องค์กรรัฐบาล (Business to Government) Ex.EProcurement Service http://www.gprocurement.go.th
  24. 24. การสร้างรายได้จากตลาดออนไลน์ เป็นจริงได้ เพราะ .... <ul><li>การเติบโตทางเศรษฐกิจไม่ดี แต่การบริโภค การใช้จ่ายของลูกค้ายังมีอยู่เสมอและเปลี่ยนช่องทางการใช้จ่ายมาเป็นออนไลน์เพิ่มขึ้น จะเห็นได้จากจำนวนผู้ใช้ internet และยอดซื้อสินค้าออนไลน์ เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง </li></ul><ul><li>การแข่งขันในโลกปกติใช้การลงทุนสูง การแข่งขันในโลกออนไลน์ ใช้การลงทุนที่ต่ำกว่ามาก ( หลักพันขึ้นไป ) แต่ใช้ความคิด ความรู้ และทักษะเป็นหลัก ซึ่งเรียนรู้และฝึกฝนได้ </li></ul><ul><li>โลกออนไลน์เป็นโลกที่ ผู้แข่งขัน รายเล็กหรือรายใหญ่ ก็แข่งขันบนหน้าจอเดียวกัน </li></ul><ul><li>การเปลี่ยนช่องทางการโฆษณาจาก สื่อปกติ เป็นการโฆษณาออนไลน์ ซึ่งวัดผลได้มากกว่า ควบคุมค่าใช้จ่ายได้ง่ายกว่า ยืดหยุ่นกว่ า </li></ul>
  25. 25. การวางแผนธุรกิจหรือการวิเคราะห์ความพร้อม ก่อนเริ่มต้นทำธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
  26. 26. 5 ขั้นตอนสู่การสร้างยอดขาย online 1. เราทำอะไร / เราจะทำอะไร ? 2.STP S = Segmentation ( การจัดกลุ่มลูกค้า ) T = Targeting ( การเลือกลูกค้า / ตลาดเป้าหมาย ) P = Positioning ( การกำหนดจุดยืน )
  27. 27. <ul><li>SWOT analysis </li></ul><ul><li>Strength </li></ul><ul><li>Weakness </li></ul><ul><li>Opportunity </li></ul><ul><li>Threat </li></ul>
  28. 28. <ul><li>XX = Major target </li></ul><ul><li>X = Minor target </li></ul>
  29. 29. Positioning ลูกค้าพูดถึงเราว่าอย่างไร เมื่อเปรียบเทียบกับคู่แข่ง Quality Price
  30. 30. การสร้างเว็บไซต์
  31. 31. <ul><li>การประกาศซื้อ - ขาย (E-Classifieds) </li></ul><ul><li>รายการสินค้าออนไลน์ ( E-Catalog ) </li></ul><ul><li>ร้านค้าออนไลน์ (E-Shop, E-Tailor) </li></ul><ul><li>การประมูลสินค้า (E-Auction) </li></ul><ul><li>ตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ (E-Marketplace) </li></ul><ul><li>การสร้างเว็บไซต์เป็นจองตนเอง </li></ul>ประเภทต่าง ๆ ของการขายสินค้าออนไลน์
  32. 32. 1. การประกาศซื้อ - ขาย (E-Classifieds) <ul><li>ประกาศซื้อ - ขายสินค้าพร้อมรายละเอียดรูปภาพ </li></ul><ul><li>ใครสนใจก็สามารถติดต่อกันเองได้ ตัวอย่างเช่น ... www.ThaiSecondhand.com </li></ul>
  33. 33. 2. รายการสินค้าออนไลน์ ( E-Catalog ) <ul><li>แค็ตตาล๊อกสินค้า รูปแบบง่าย ๆ </li></ul><ul><li>มีรูปภาพ รายละเอียด ราคา ที่อยู่ติดต่อ </li></ul>
  34. 34. <ul><li>ร้านค้าเต็มรูปแบบซื้อสินค้าออนไลน์ได้ </li></ul><ul><li>มีระบบ ช๊อปปิ้งการ์ด , ระบบชำระเงิน ตัวอย่างเช่น ... www.Tohome.com, www.Selectmore.com </li></ul>3. ร้านค้าออนไลน์ (E-Shop, E-Tailor)
  35. 35. <ul><li>การประมูลสินค้าใครชนะประมูลจะมีโอกาสซื้อสินค้า </li></ul><ul><li>ประมูลหลายรูปแบบ Sealed Bid, Reverse Auction ตัวอย่างเช่น ... www.ebay.com, www.pramool.com </li></ul>4. การประมูลสินค้า (E-Auction)
  36. 36. 5. ตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ (E-Marketplace ) <ul><li>ตลาดนัดขนาดใหญ่ ที่มีการรวบรวมเว็บไซต์ของร้านค้าและบริษัทต่างๆ มากมาย </li></ul><ul><li>มีการแบ่งหมวดหมู่ของสินค้าเอาไว้เป็นสัดส่วน </li></ul><ul><li>ตัวอย่าง ..... www.TARAD.com , www.Alibaba.com </li></ul>
  37. 37. <ul><li>6. การสร้างเว็บไซต์เป็นของตัวเอง </li></ul>
  38. 38. <ul><li>Domain name มีความสำคัญเปรียบเสมือนชื่อของเจ้าของสินค้า หรือชื่อบริษัท เนื่องจากในโลกออนไลน์ ลูกค้าจะไม่จดจำชื่อเจ้าของสินค้าหรือชื่อบริษัท แต่จะใช้ โดเมนเนมในการเรียก และเข้าสู่หน้าเว็บไซต์ </li></ul><ul><li>ปัจจุบันการจดโดเมนเนม มีทางเลือกทั้งแบบโดเมนเนมจริง และเป็น subdomain </li></ul>
  39. 39. <ul><li>โดเมนเนมจริง จะเป็น ชื่อตามด้วยนามสกุล เช่น abc.com โดยสามารถตั้งชื่อและจดทะเบียนกับผู้ให้บริการได้หากโดเมนเนมไม่ซ้ำกับที่มีผู้จดทะเบียนไปแล้ว การตั้งชื่อโดเมนเนมใช้อักษรภาษาอังกฤษ a-z โดยไม่คำนึงว่าเขียนด้วยตัวใหญ่หรือตัวเล็ก ใช้ตัวเลข 0-9 และ ใช้ - ได้เท่านั้น ( การเข้าสู่เว็บไซต์ abc.com จะพิมพ์ว่า ABC.com หรือ AbC.com ก็ได้ จะเข้าสู่เว็บไซต์เดียวกัน ) ‏ </li></ul>
  40. 40. <ul><li>แนวทางการตั้งชื่อโดเมนเนม มีดังนี้ 1. ชื่อแสดงความเป็นธุรกิจ และ keyword ( คีย์เวิร์ดคือ สิ่งที่ลูกค้าต้องการ เช่น ชื่อสินค้าบริการ ) ตัวอย่างเช่น www.tourkrabi.com แสดงความเป็นธุรกิจทัวร์โดยเน้นไปที่จังหวัดกระบี่อย่างชัดเจน หรือ www.weddingthai.net แสดงให้เห็นธุรกิจเกี่ยวกับงานแต่งงาน </li></ul>เทคนิคการจด Domain Name
  41. 41. <ul><li>ข้อเสีย ของการตั้งชื่อแบบแสดงความเป็นธรุกิจ </li></ul><ul><ul><li>ไม่มีความแตกต่างที่เป็นเอกลักษณ์ ดังนั้นจึงสามารถถูกลอกเลียนแบบได้ง่ายเช่นอาจจะมีคุ่แข่งจดโดเมนเนม www.tourthaikrabi.com หรือ www.krabitour.com หรือ www.travelkrabi.com และอื่น ๆ อีกมากมาย ดังนั้น </li></ul></ul><ul><ul><li>เจ้าของเว็บไซต์กลุ่มหนึ่งจึงหลีกเลี่ยงที่จะใช้ชื่อแสดงความเป็นธุรกิจแต่เพียงอย่างเดียวในการจดโดเมนเนม </li></ul></ul>
  42. 42. <ul><li>2. สร้าง Brand แสดงความแตกต่างเป็นเอกลักษณ์ เจ้าของเว็บไซต์ที่หลีกเลี่ยงการจดชื่อโดเมนเนมที่แสดงความเป็นธุรกิจเพียงอย่างเดียว จะมาใช้ชื่อที่สร้าง Brand และแสดงความเป็นเอกลักษณ์ เช่น www.krabicosmo.com , www.ghousehuahin.com , www.tobestudio.net </li></ul>
  43. 43. <ul><li>3. จดจำง่าย ออกเสียงง่าย สะกดง่าย </li></ul><ul><ul><li>หากสามารถตั้งชื่อโดเมนเนมให้สั้นได้มากที่สุด จะทำให้จดจำได้ง่ายกว่า อย่างไรก็ตาม ชื่อโดเมนเนมที่ประกอบด้วยพยัญชนะภาษาอังกฤษ 2 หรือ 3 หรือ 4 ตัว และนามสกุล dot com ได้ถูกจดไปหมดแล้ว เช่น aa.com , ab.com , abc.com , mno.com , abcd.com , wxyz.com, minz.com etc จึงไม่จำเป็นต้องหาชื่อโดเมนเนมดังกล่าว ยกเว้นใช้นามสกุลอื่น </li></ul></ul><ul><ul><li>การสะกดชื่อควรเป็นมาตรฐานทั่วไป ไม่สะกดผิด </li></ul></ul>
  44. 44. 4. ไม่ copy เลียนแบบเว็บไซต์ที่มีชื่อเสียง เช่น ไม่ตั้งชื่อโดเมนเนมว่า www.AmazonThaiBook.com เพราะมีโอกาสโดนฟ้องร้องสูงมากเนื่องจากทำธุรกิจเดียวกับเว็บไซต์หลักคือ Amazon.com นอกจากนั้น ภาพลักษณ์ของโดเมนเนมที่เลียนแบบยังขาดความน่าเชื่อถือ 5. ไม่ยาวเกินไป หากชื่อยาวต้องจดจำง่าย เช่น www.OpenWorldThailand.com , www.GoodRateHotel.com , www.FlowerHandmade.com จะเห็นได้ว่า ชื่อเว็บไซต์แม้จะยาวแต่ประกอบด้วยคำภาษาอังกฤษที่จำง่ายเช่น Thailand , Handmade ซึ่งประกอบกันแล้วทำให้ชื่อยาว แต่เข้าใจง่าย อย่างไรก็ตามการประกอบกันยาวเกินไปก็ยังไม่นับว่าเป็นชื่อที่ดีนัก เช่น www.TheBestFlowerHandmadeInThailand.com ก็นับว่ายาวเกินไป เทคนิคการจด Domain Name
  45. 45. 6. ระวังเรื่อง - (Hyphen) หรือการเติม S หากต้องการจดชื่อที่มี S หรือใช้สัญญลักษณ์ - ดังกล่าว ต้องพิจารณาว่า เว็บไซต์อื่นที่จดทะเบียนไปแล้วและไม่มีสัญลักษณ์ทำธุรกิจเดียวกันกับเราหรือไม่ ส่วนชื่อที่มี - หากไม่จำเป็นไม่ควรใช้ และต้องพิจารณาว่าเว็บไซต์ที่ใช้ชื่อแบบไม่มี - ทำธุรกิจเดียวกับเราในประเทศของเราหรือไม่ ถ้าใช่ ยิ่งไม่ควรใช้ชือทีมี - อย่างยิ่ง เทคนิคการจด Domain Name
  46. 46. 7. ชื่อแสดงความน่าเชื่อถือ ลูกค้าเว็บไซต์โดยเฉพาะด้านธุรกิจย่อมต้องการความน่าเชื่อถือก่อนจะตัดสินใจทำธุรกรรมต่าง ๆ ด้วย ดังนั้น ไม่ตั้งชื่อที่แสดงความเป็นเล่น ๆ ยกเว้นเป็นเว็บ content หรือ social ที่ต้องการภาพลักษณ์ที่สบาย ๆ เช่น ระวังถ้าต้องการตั้งชื่อว่า AccountantKukKik.com ( กุ๊กกิ๊ก ) จะขัดกับภาพลักษณ์ที่ต้องการความจริงจังในการทำธุรกิจ 8. ตั้งชื่อที่ไม่มีความหมายได้ หากชื่อนั้นจดจำง่าย และเจ้าของเว็บไซต์มีการทำตลาดอย่างต่อเนื่องได้ ตัวอย่างเว็บไซต์ต่างประเทศที่ชื่อไม่มีความหมายแต่ประสบความสำเร็จมีมากมาย เช่น www.google.com , www.ebay.com , www.yahoo.com เป็นต้น เทคนิคการจด Domain Name
  47. 47. นามสกุลของเว็บไซต์ แบ่งได้เป็นหลายกลุ่มคือ .com .net .org .biz .info .co.th .go.th .gov .tv .asia เว็บไซต์แต่ละสกุลนั้นหมายถึงอะไร .com (.com = Commercial ) ใช้สำหรับเว็บไซต์ที่เกี่ยวกับธุรกิจการค้า .net (.net = Network) ใช้สำหรับเว็บไซต์ขององค์กรใด หรือบริษัทใด ที่ ทำงานเกี่ยวกับเครือข่าย หรือ Network .org (.org = Organization) ใช้สำหรับเว็บไซต์องค์กรที่ไม่หวังผลกำไร เช่นสมาคม หรือมูลนิธิ .biz (.biz = Business) ใช้สำหรับเว็บไซต์ขององค์กรที่เกี่ยวกับธุรกิจการค้า
  48. 48. .info (.info = Information) ใช้สำหรับเว็บไซต์ที่นำเสนอข้อมูลเป็นหลัก .edu (.edu = Education) ใช้สำหรับเว็บไซต์ของสถาบันการศึกษา .gov (.gov = Government) ใช้สำหรับเว็บไซต์ของรัฐบาล .mil (.mil = Military) ใช้สำหรับหน่วยงานทางทหาร สำหรับโดเมนรหัสประเทศนั้น แสดงให้เห็นว่า โดเมนนั้นเปิดทำการในประเทศใด เช่น .uk คือเว็บไซต์ของประเทศอังกฤษ .jp คือเว็บไซต์ของประเทศญี่ปุ่น สำหรับของไทย ใช้ .th ซึ่งยังมีรายละเอียดอีกมาก เช่น แบ่งกลุ่มเป็น .or.th , .ac.th , .co.th , .go.th , .in.th ฯลฯ รายละเอียดการจดโดเมนเนมที่ใช้นามสกุล .th ศึกษาได้จาก http://www.thnic.co.th/index.php?page=policy
  49. 49. <ul><li>ในกรณีที่ไม่ต้องการมี domain name เป็นของตัวเอง สามารถใช้ sub domain name แทนได้ เช่น abc.domainservice.com </li></ul><ul><li>ข้อดี คือ มักไม่เสียค่าบริการ เนื่องจากเจ้าของโดเมนเนม เปิดให้ใช้ฟรี </li></ul><ul><li>ข้อเสีย คือ </li></ul><ul><li>ไม่ได้เป็นเจ้าของชื่ออย่างแท้จริง เพราะเป็นส่วนหนึ่งของโดเมนเนมเจ้าของ ย้ายผู้ให้บริการเว็บไซต์ไม่ได้ ไม่สามารถนำเชื่อโดเมนเนมนี้ไปใช้กับผู้ให้บริการเว็บไซต์รายอื่น ชื่อจะถูกยกเลิก เมื่อโดเมนเนมจริงถูกยกเลิก </li></ul><ul><li>sub domain มักอยู่รวมกันใน Server หนึ่ง ไม่มีการบริหาร bandwidth อาจเกิดปัญหากับเว็บไซต์ด้านความเร็วและเสถียรภาพ </li></ul><ul><li>มีโอกาสติดอันดับใน search engine น้อยกว่า </li></ul><ul><li>มี features และ พื้นที่ใช้งานน้อย ขึ้นกับเจ้าของ domainname </li></ul><ul><li>ผู้ ให้บริการอาจไม่รับผิดชอบคุณภาพการบริการ </li></ul>
  50. 50. การเช่า Hosting และหลักการเลือก Hosting ที่ดีและมีประสิทธิภาพ
  51. 51. <ul><li>พิจารณาความเร็วในการรับ – ส่งข้อมูล เว็บโฮสติ้งที่ดีจะต้องสามารถรับ – ส่ง ข้อมูลได้รวดเร็ว และรองรับการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายอินเตอร์เน็ตทั้งใน และต่างประเทศได้ </li></ul><ul><li>พิจารณาความน่าเชื่อถือของผู้ให้บริการ ซึ่งมีความสำคัญมาก โดยผู้ให้บริการเว็บโฮสติ้งที่มีคุณภาพ จะคอยดูแลเว็บไซต์ที่อยู่บนเว็บโฮสติ้งนั้นให้มีจำนวนที่เหมาะสม และผู้ใช้เว็บไซต์สามารถเข้าถึงได้ตลอดเวลา ด้วยความรวดเร็ว </li></ul><ul><li>ระบบสำรองข้อมูล เว็บโฮสติ้งที่ดีจะต้องมีระบบสำรองข้อมูล เพื่อป้องกันกรณีฉุกเฉิน ที่ก่อให้เกิดความเสียหายของข้อมูลในเว็บไซต์ การสำรองข้อมูลตามปรกติจะพิจารณาจากความถี่ในการเก็บข้อมูล และรูปแบบเข้ามาเกี่ยวข้อง เช่น สำรองข้อมูลทุกวันแบบครบทุกข้อมูล หรือสำรองข้อมูลทุกวันในบางข้อมูล หรือ สำรองข้อมูลทุกเดือนในบางข้อมูล เป็นต้น </li></ul>เว็บโฮสติ้ง คือ บริการให้เช่าพื้นที่ รับฝากเว็บไซต์บนเว็บเซิร์ฟเวอร์ เทคนิคการเลือก Hosting
  52. 52. <ul><li>โดเมนเนม </li></ul><ul><ul><li>ปรกติแล้วการให้บริการเว็บโฮสติ้ง มักคิดค่าให้บริการโดเมนเนมรวมไปด้วย จึงเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่จะนำมาพิจารณาเปรียบเทียบ เพราะหากไม่รวมค่าบริการโดเมนเนม ผู้ใช้บริการเว็บไซต์จะต้องเสียค่าบริการโดเมนเนมเพิ่ม </li></ul></ul><ul><li>ระบบอีเมล </li></ul><ul><ul><li>ตามปรกติแล้ว เจ้าของเว็บไซต์จะสร้าง หรือไม่สร้างอีเมลของระบบเว็บไซต์ก็ได้ แต่การมีทีมีอีเมลของระบบเว็บไซต์ตนเองย่อมสร้างความน่าเชื่อถือได้มากกว่าการใช้ฟรีอีเมล ตัวอย่างเช่น เว็บไซต์ชื่อ abc.com หากเจ้าของเว็บไซต์สร้างระบบอีเมลของตนเอง ก็สามารถใช้ชื่อ email เป็น [email_address] หรือ [email_address] ฯลฯ ตามความต้องการของเจ้าของเว็บไซต์ ราคาของ hosting ขึ้นกับจำนวน email account ที่ต้องการและพื้นที่รวมของ email account ทั้งหมด </li></ul></ul>เทคนิคการเลือก Hosting
  53. 53. ระบบการชำระเงิน และการขนส่งสินค้า
  54. 54. ระบบการชำระเงิน มีวิธีการดังต่อไปนี้
  55. 55.
  56. 56.
  57. 57.
  58. 58.
  59. 59.
  60. 60.
  61. 61. <ul><li>ขนส่งด้วยตัวเอง </li></ul><ul><li>ใช้บริการไปรษณีย์ </li></ul><ul><li>ใช้บริการขนส่งเอกชน </li></ul>
  62. 62. ระบบรักษาความปลอดภัยและ การสร้างความน่าเชื่อถือ ในการประกอบธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
  63. 63. แบ่งเป็น 2 ด้าน คือ 1. เทคนิคการรักษาความปลอดภัยของเว็บไซต์ในฐานะของเจ้าของเว็บไซต์ที่ไม่ต้องการให้เว็บไซต์ถูกคุกคามจากผู้ไม่หวังดี หรือผู้ที่ไม่มีสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูล 2. เทคนิคการรักษาความปลอดภัยให้กับผู้เข้าชมเว็บไซต์ ตลอดจนการสร้างเว็บไซต์ให้เป็นที่น่าเชื่อถือและแสดงออกถึงความปลอดภัยในการเข้ามาใช้งาน เทคนิคการรักษาความปลอดภัย
  64. 64. มาตราการรักษาความปลอดภัยโดยทั่วไปจะใช้เทคโนโลยีเข้ามาสร้างระบบป้องกัน โดยจะใช้การเข้ารหัสเป็นหลักในการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล สำหรับเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซที่มีการทำธุรกรรมทางออนไลน์ ส่วนใหญ่จะมีรหัสป้องกัน หรือใช้บริการของหน่วยงานที่มีการเข้ารหัส สังเกตได้จากชื่อโปรโตคอลที่เป็น https:// เช่น และจะมีรูปแม่กุญแจ ที่ด้านล่างบราวเซอร์ที่ใช้งาน
  65. 65. SSL (Secure Sockets Layer) ‏ SSL (Secure Sockets Layer) คือ ระบบการรักษาความปลอดภัยในเว็บไซต์ โดยการเข้ารหัส (encrypt) ข้อมูลตัวมันเอง ใช้สำหรับการตรวจสอบ และยืนยันว่ามีตัวตนจริง ซื้งสามารถนำมาตรวจสอบผู้ขายสินค้า โดยระบบจะทำการติดต่อไปยังเว็บเซิร์ฟเวอร์ที่มีระบบ SSL หลังจากนั้นจะส่งใบรับรอง (server Certificate) กลับมาพร้อมการเข้ารหัส จากนั้นคอมพิวเตอร์ของฝั่งผู้รับจะทำการตรวจสอบใบรับรองอีกที เพิ่อตรวจสอบตัวตนของฝั่งผู้ค้า ทำให้การติดต่อสื่อสารถึงกันได้อย่างปลอดภัย เทคนิคการรักษาความปลอดภัย
  66. 66. Verified by VISA และ MasterCard SecureCode คือ นวัตกรรมใหม่ ที่ผสมผสานระหว่างเทคโนโลยี และการทำธุรกรรมทางการเงิน โดยออกแบบขึ้นเพื่อเพิ่มความมั่นใจ ความสะดวกสบาย ความปลอดภัยให้กับผู้บริโภค ในการนำบัตรวีซ่าและมาสเตอร์ไปใช้สำหรับการชำระเงินทางอินเตอร์เน็ตเช่นเดียวกับการใช้บัตรวีซ่าซื้อสินค้าตามร้านค้าปกติ โดยผู้ให้บริการบัตรเครดิต วีซ่า อินเตอร์เนชั่นแนล และมาสเตอร์คาร์ด อินเตอร์เนชั่นแนล ร่วมกันพัฒนาขึ้นเพื่อเพิ่มความปลอดภัยของการชำระค่าสินค้าและบริการผ่านบัตรเครดิตทางอินเตอร์เน็ต ด้วยระบบสอบถามรหัสผ่านส่วนตัว (Password) และระบบการแสดงข้อความยืนยันส่วนตัว (Prosonal Message) ในทุกครั้งที่มีการชำระเงินทางอินเตอร์เน็ต เทคนิคการรักษาความปลอดภัย
  67. 67. <ul><li>การออกแบบ รูปแบบแสดงผล และสีสันของเว็บไซต์ควรแสดงออกถึงความน่าเชื่อถือ เช่น การใช้รูปแบบที่แสดงออกถึงความจริงจังในการทำธุรกิจ จริงจังในการขายสินค้าและบริการ </li></ul><ul><li>เมนูต่าง ๆ ของเว็บไซต์ควรถูกจัดวางอย่างเป็นระเบียบ </li></ul><ul><li>ควรมีเมนู ติดต่อเรา หรือ Contact us ใส่รายละเอียดที่แสดงถึงชื่อองค์กร หรือชื่อเจ้าของเว็บไซต์ ที่ตั้งสำนักงาน </li></ul><ul><li>หมายเลขโทรศัพท์ ควรเป็นหมายเลขโทรศัพท์พื้นฐาน เพราะจะแสดงความน่าเชื่อถือมากกว่าการมีหมายเลขโทรศัพท์มือถือเพียงอย่างเดียว </li></ul>เทคนิค การสร้างความน่าเชื่อถือให้กับเว็บไซต์
  68. 68. <ul><li>มีแผนที่ที่ตั้งสำนักงาน รูปถ่ายสถานที่ รูปถ่ายผู้บริหาร หรือเจ้าของ ธุรกิจ ซึ่งสามารถช่วยให้เว็บไซต์มีความน่าเชื่อถือ </li></ul><ul><li>มีเมนูประสบการณ์ผู้ใช้สินค้า หรือบริการ เจ้าของเว็บไซต์สามารถนำตัวอย่างลูกค้า ที่เคยซื้อสินค้า หรือเคยใช้บริการ ขึ้นแสดงบนหน้าเว็บไซต์เพื่อแสดงให้เห็นว่าเว็บไซต์นี้เคยให้บริการกับลูกค้ารายอื่น ๆ </li></ul><ul><li>ผู้ใช้สินค้ามาแสดงเพื่อบอกความน่าเชื่อถือนั้นจะต้องเป็นลูกค้าของเว็บไซต์จริง และเป็นผู้ที่มีลักษณะสอดคล้องกับเว็บไซต์ </li></ul><ul><li>สมัครขอเลขพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ กับทางกรมพัฒนาธุรกิจการค้า </li></ul>เทคนิค การสร้างความน่าเชื่อถือให้กับเว็บไซต์
  69. 69. เครื่องหมายรับรองการจดทะเบียนผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
  70. 70. ผู้มีหน้าที่จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ <ul><li>ซื้อขายสินค้าหรือบริการผ่านครือข่ายอินเทอร์เน็ต </li></ul><ul><li>บริการอินเทอร์เน็ต (ISP) </li></ul><ul><li>ให้เช่าพื้นที่ของเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย </li></ul><ul><li>บริการเป็นตลาดกลางในการซื้อขายสินค้าหรือบริการ </li></ul><ul><li>(E-Marketplace) </li></ul>
  71. 71. ประโยชน์ที่ได้รับ <ul><li>สร้างความน่าเชื่อถือให้แก่ผู้ประกอบการในระดับหนึ่ง </li></ul><ul><li>ประชาสัมพันธ์ผ่าน www.dbd.go.th/edirectory/ </li></ul><ul><li>ยื่นขอใช้เครื่องหมายรับรองความน่าเชื่อถือ ( Verified ) จากกรมพัฒนาธุรกิจการค้าได้ </li></ul><ul><li>ได้รับสิทธิพิเศษต่าง ๆ เช่น การเข้าร่วมการอบรมสัมมนา การได้รับคำแนะนำ และการได้รับข้อมูลข่าวสารด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ </li></ul>
  72. 72. เอกสารที่ใช้ประกอบการจดทะเบียน <ul><li>คำขอจดทะเบียนพาณิชย์ ( แบบ ทพ .) และ รายละเอียดเกี่ยวกับเว็บไซต์ ( เอกสารแนบ ) ‏ </li></ul><ul><li>สำเนาบัตรประจำตัว </li></ul><ul><ul><li>กรณีบุคคลธรรมดา ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน </li></ul></ul><ul><ul><li>กรณีนิติบุคคล ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวผู้จัดการของห้างหุ้นส่วน หรือของกรรมการ ผู้มีอำนาจของบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัด </li></ul></ul><ul><li>หนังสือมอบอำนาจ ( ถ้ามี ) </li></ul><ul><li>หนังสือชี้แจง ( กรณียื่นล่าช้าหรือเกินกำหนด ) </li></ul>
  73. 73. สถานที่จดทะเบียน <ul><li>ผู้ประกอบการที่มีสํานักงานแห่งใหญ่ตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร ให้ยื่นคําขอจดทะเบียนพาณิชย ์ ต่อสํานักงานเขตต่าง ๆ และศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ‏ </li></ul><ul><li>ผู้ประกอบการที่มีสํานักงานแห่งใหญ่ตั้งอยู่จังหวัดอื่น นอกจากกรุงเทพมหานคร ให้ยื่นคําขอจดทะเบียนพาณิชย์ต่อองค์การบริหารส่วนจังหวัดนั้น ๆ หรือ เมืองพัทยา แล้วแต่กรณี </li></ul>
  74. 74. ขั้นตอนการขอรับเครื่องหมาย Registered
  75. 75. เครื่องหมายรับรองความน่าเชื่อถือในการประกอบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ www.trustmarkthai.com
  76. 76. ประโยชน์ที่ได้รับ <ul><li>แสดงให้เห็นว่าเว็บไซต์ของท่าน มีความน่าเชื่อถือ มีแนวปฏิบัติในการดำเนินธุรกิจที่ดี ผ่านการรับรองจากกรมพัฒนาธุรกิจการค้าแล้ว </li></ul><ul><li>เว็บไซต์มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับในระดับสากล </li></ul><ul><li>สร้างความแตกต่างและสร้างศักยภาพในการแข่งขันให้กับเว็บไซต์ </li></ul><ul><li>ขยายโอกาสในการสร้างตลาดใหม่ๆ ให้กับสินค้า / บริการและเสริมสร้างภาพลักษณ์ให้กับเว็บไซต์ </li></ul><ul><li>เพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์ให้กับเว็บไซต์โดยกรมฯจะประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆ เพื่อให้บริโภคตระหนักถึงความสำคัญของเครื่องหมายรับรองฯ </li></ul>
  77. 77. คุณสมบัติของผู้ขอเครื่องหมายรับรองฯ <ul><li>เป็นนิติบุคคล </li></ul><ul><li>จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์มาแล้ว ไม่น้อยกว่า 6 เดือน </li></ul><ul><li>เป็นเจ้าของชื่อโดเมนนั้น </li></ul><ul><li>มีคุณสมบัติตรงตามหลักเกณฑ์ข้อบังคับการขอใช้เครื่องหมายรับรองฯ </li></ul>หลักเกณฑ์ 8 ข้อ <ul><li>ความโปร่งใสของผู้ประกอบธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ </li></ul><ul><li>การตลาดและประชาสัมพันธ์ </li></ul><ul><li>การให้ข้อมูลของสินค้าและบริการที่ชัดเจนเพียงพอ </li></ul><ul><li>การยืนยันการสั่งซื้อ การจัดส่งสินค้า และการบริการ </li></ul><ul><li>ระบบความปลอดภัยในการทำธุรกรรม </li></ul><ul><li>การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของผู้บริโภค </li></ul><ul><li>ช่องทางในการติดต่อสื่อสาร และรับเรื่องราวร้องทุกข์ของผู้บริโภค </li></ul><ul><li>การคุ้มครองสิทธิเด็กและเยาวชน </li></ul>
  78. 78. ขั้นตอนการพิจารณาเครื่องหมายรับรองฯ ผู้ประกอบการ www.trustmarkthai.com ตรวจสอบคุณสมบัติเบื้องต้น ตรวจสอบหลักเกณฑ์ 8 ข้อ ผ่าน ไม่ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน แจ้งกลับว่าขั้นตอนใดที่ ตรวจสอบไม่ผ่าน เพื่อให้ส่ง ข้อมูลกลับมาตรวจสอบใหม่ สุ่มตรวจ ไม่ผ่าน ปฏิเสธ
  79. 79. กลยุทธ์การทำการตลาดออนไลน์ ( e - Marketing ) , CRM Online เทคนิคการทำ SEO ให้กับเว็บไซต์
  80. 80. 1995 2008 2050 ? Digital Media $ Non-Digital Media Today
  81. 81. ReadyPlanet.com อนุญาตให้เผยแพร่เพื่อความรู้ ไม่ใช้เพื่อการค้า <ul><li>Search Engine Marketing </li></ul><ul><li>Search Engine Optimization </li></ul><ul><li>Submit link / แลก link / Banner </li></ul><ul><li>ประชาสัมพันธ์ใน social network website </li></ul><ul><li>Email marketing </li></ul><ul><li>สร้างระบบสมาชิก </li></ul><ul><li>ฯลฯ </li></ul>วิธีการทำการตลาดออนไลน์
  82. 82. Search Engine Marketing & Search Engine Optimization Search Keywords PPC Advertising ผลค้นหาธรรมชาติ Natural Search, Organic Search
  83. 83. Traffic www.YourWebsite.com Traffic ผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์ ผู้ที่ติดต่อกับเว็บไซต์ ลูกค้า ความสำเร็จ คือการสร้างให้เกิดผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์ เพื่อให้เกิดผู้ที่ติดต่อ และเกิดลูกค้าในที่สุด Conversion : from Visitors to be Customers Visitors Leads Customers
  84. 84. <ul><li>ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตนิยมใช้ Search Engines มากขึ้น </li></ul><ul><li>จำนวนเว็บไซต์เพิ่มขึ้นมาก </li></ul><ul><li>85% ของลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย จะเข้าเว็บไซต์ผ่านการค้นหาด้วย search engines </li></ul><ul><li>>80 – 90% ของการค้นหาไม่ได้คลิกเกินกว่าหน้าแรก </li></ul>ทำไมต้องทำ SEO ?
  85. 85. <ul><li>Relevance and Popularity </li></ul><ul><li>Relevance – ความตรงประเด็นหรือความเกี่ยวข้อง ของเอกสาร ( หน้าเว็บ ) </li></ul><ul><li>Popularity – ความนิยมของเอกสาร โดยมากวัดโดยการอ้างอิงจากเอกสารอื่น เช่นระบบ PageRank ของ Google </li></ul>แนวคิดการจัดอันดับของ Search Engine
  86. 86. <ul><li>เทคนิคการโปรโมตเว็บไซต์ ด้วยอีเมล์ </li></ul><ul><li>(e-mail Marketing) </li></ul>
  87. 87. <ul><li>Targeted E-Mail Marketing ( เป้าหมายชัดเจน ) </li></ul><ul><ul><li>สร้าง Mail Marketing ของตัวเอง </li></ul></ul><ul><li>Untargeted E-Mail Marketing ( ไม่ระบุเป้าหมาย ) </li></ul><ul><ul><li>ไปยืมรายชื่อคนอื่นๆส่ง inetgiant.com, jigsaw.com, MailCreations.com, Briefme.com, Colonize.com,, TargetMails.com </li></ul></ul><ul><li>การส่งเมล์มั่ว หรือ SPAM ไม่ถือเป็น E-Mail Marketing </li></ul>
  88. 88. <ul><li>ทำฐานข้อมูล รายชื่ออีเมล์ลูกค้า (Mailing List) ‏ </li></ul><ul><li>แจ้งรับข่าวสาร จากหน้าเว็บไซต์ </li></ul><ul><li>แจ้งผู้รับเมล์ว่าเราคือใคร </li></ul><ul><li>ส่งอีเมล์ เวลามีเรื่องอัพเดต สม่ำเสมอ แต่ไม่ถี่เกินไป </li></ul><ul><li>ส่งแบบ Bcc (Blind carbon copy) ‏ </li></ul><ul><li>เปิดโอกาส ให้ผู้รับอีเมล์ยกเลิกอีเมล์ข่าวสารได้เสมอ </li></ul><ul><li>ทำ Signature เวลาส่ง หรือ ตอบอีเมล์ผู้อื่น </li></ul><ul><li>อย่า SPAM อย่าไปดูดรายชื่ออีเมล์จากที่อื่น </li></ul>การโปรโมทด้วยอี - เมล ์
  89. 89. ศาลซีแอตเทิลสั่งจำคุกชายวัย 28 ปี ชื่อ Robert Soloway ราชาสแปมเมล์ ผู้ต้องหาคดีส่งอีเมลขยะหลายล้านฉบับ ทำเงิน มากกว่า 3 แสนเหรียญสหรัฐในปี 2005 งานนี้นอกจากติดคุก 26 ปี ( ลดโทษจากเดิม 65 ปี ) แล้วยังต้องเสียค่าปรับอีกเบ็ดเสร็จ 7.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ที่มา : ผู้จัดการออนไลน์ วันที่ 19 มีนาคม 2551 Spam mail case
  90. 90. Thank You กรมพัฒนาธุรกิจการค้า โทร . 0 2547 5961 www.dbd.go.th สมาคมผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ไทย www.thaiecommerce.org

Notas do Editor

  • การให้เครื่องหมายรับรองการจดทะเบียนผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ( Registered) ( เริ่มดำเนินการ 19 พฤษภาคม 2546) เพื่อยืนยันการมีตัวตนของผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล ที่ทำธุรกิจเกี่ยวกับการซื้อขายสินค้าหรือบริการโดยวิธีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต บริการ อินเทอร์เน็ต ให้เช่าพื้นที่ของเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย บริการเป็นตลาดกลางในการซื้อขายสินค้าหรือบริการ โดยวิธีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จะต้องไปจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โดยในเขตกรุงเทพมหานคร สามารถจดทะเบียนพาณิชย์ได้ที่สำนักงานเขตที่มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในเขตท้องที่ สำหรับภูมิภาค สามารถจดทะเบียนพาณิชย์ได้ที่องค์การบริหารส่วนจังหวัดที่มีสำนักงานตั้งอยู่ในท้องที่จังหวัดนั้น โดยเว็บไซต์ที่จดทะเบียนแล้ว จะปรากฏเครื่องหมาย Registered อยู่บนหน้าเว็บไซต์ เพื่อให้ผู้บริโภคสามารถตรวจสอบสถานะและการมีอยู่จริงของผู้ประกอบการ และรายชื่อผู้ประกอบการทั้งหมดจะรวบรวมอยู่ในฐานข้อมูลผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งมีการเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า (www.dbd.go.th/edirectory/) ปัจจุบันมีผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์จำนวน 6,285 ราย แบ่งเป็น นิติบุคคล จำนวน 2,034 ราย ( ร้อยละ 32.36) และบุคคลธรรมดา จำนวน 4,251 ราย ( ร้อยละ 67.64) หมวดหมู่เว็บไซต์ที่มาจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 3 อันดับแรก ได้แก่ คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต ท่องเที่ยว การแพทย์และสุขภาพ
  • SERPs ย่อมาจาก Search Engine Result Pages ผลลัพท์การค้นหาทางด้านซ้าย (SERPs) บางคนเรียกว่า Organic Search, Natural Search การโฆษณาระบบ pay per click (Sponsor Links) ในบาง keywords จะมีโฆษณาบางตัวจะถูกนำมาแสดงทางด้านซ้าย

×