SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 25
บทที่  1  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฟิสิกส์ วฟ .401  ฟิสิกส์ 1
การแบ่งวิชาวิทยาศาสตร์ออกเป็นวิทยาศาสตร์แขนงต่าง ๆ วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์กายภาพ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ พฤกษาศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ธรณีวิทยา ดาราศาสตร์ อุตุนิยมวิทยา สมุทรศาสตร์ สัตวศาสตร์
ความหมายของคำว่า “ ฟิสิกส์ ” ,[object Object],[object Object],ฟิสิกส์ เป็นส่วนหนึ่งของวิทยาศาสตร์  (science)  เป็นวิทยาศาสตร์กายภาพซึ่งว่าด้วยสิ่งไม่มีชีวิต ในธรรมชาติโดยเน้นถึงกิจกรรม การค้นคว้า หาความจริงจากธรรมชาติ
ตัวอย่างแขนงวิชาของฟิสิกส์ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ปริมาณทางฟิสิกส์ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ปริมาณทางฟิสิกส์ จำแนกตามหน่วยได้  2  พวก ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
หน่วยฐาน ในระบบ  SI   7  หน่วย m kg s A K cd mol เมตร   (metre) กิโลกรัม   (kilogram) วินาที   (second) แอมแปร์   (Ampere) เคลวิน   (Kelvin) แคนเดลา   (Candela) โมล   (mole) 1.   ความยาว   (length) 2.   มวล   (mass) 3.  เวลา   (time) 4.  กระแสไฟฟ้า   (electric current) 5.  อุณหภูมิ   (temperature) 6.  ความเข้มของการส่องสว่าง (luminous intensity) 7.   ปริมาณของสสาร (amount of substance) สัญลักษณ์ หน่วย ปริมาณ
หน่วยอนุพันธ์ ในระบบ  SI   ที่ควรทราบ m 2 m 3 N J (N. m) W (J/s) m/s m/s 2 Hz C V Pa,N/m 2 Kg/m 3 Kg.m / s 2 ตารางเมตร ลูกบาศก์เมตร นิวตัน   (newton) จูล   (Joule) วัตต์  (watt) เมตร / วินาที เมตร / วินาที   2 เฮิรตซ์  (Hertz) คูลอมป์   (Coulomb) โวลต์  (Volt) พาสคัล (Pascal), นิวตัน  /  ตร . เมตร กิโลกรัม  /  ลบ . เมตร กิโลกรัม . เมตร   /   วินาที พื้นที่  (Area) ปริมาตร  (Volume) แรง  (Force) พลังงาน   (Energy) กำลัง  (Power) ความเร็ว  (Velocity) ความเร่ง  (Acceleration) ความถี่  (Frequency) ประจุไฟฟ้า  (Electric charge) ความต่างศักย์ไฟฟ้า ความดัน  (Pressure) ความหนาแน่น  (Density) โมเมนตัม  (Momentum) สัญลักษณ์ หน่วย ปริมาณ
คำอุปสรรค  (   ตัวนำหน้าหน่วย  ) m n P f มิลลิ  (mili) ไมโคร   (micro) นาโน  (nano) พิโก  (pico) เฟมโต  (femto) 10 -3 10 -6 10 -9 10 -12 10 -15 - หน่วยมาตรฐานกลาง 10 0 T G M k เทระ   (tera) จิกะ   (giga) เมกะ   (mega) กิโล   (kilo) 10 12 10 9 10 6 10 3 สัญลักษณ์ คำอุปสรรค ( เติมหน้าหน่วย ) ตัวคูณ
การวัด การวัดปริมาณต่าง ๆ จะถูกต้องและเที่ยงตรงมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับหลาย ๆ ปัจจัย  ปัจจัยสำคัญ ได้แก่ -  เครื่องมือวัด -  วิธีการวัด -  ตัวผู้วัด -  สภาพแวดล้อมขณะทำการวัด
เลขนัยสำคัญ คือ ปริมาณเลขที่ได้จาการวัด หรือ การทดลอง หลักการนับเลขนัยสำคัญ 1. ไม่ใช่ศูนย์นับทั้งหมด 3. เลขศูนย์ทางซ้ายไม่นับ 4. เลขศูนย์ทางขวา หลังจุดทศนิยมนับทั้งหมด 5. เลขศูนย์ทางขวาจำนวนเต็มอาจนับหรือไม่นับก็ได้ 2.  เลขศูนย์ที่อยู่ระหว่างตัวเลขนัยสำคัญ ถือเป็น  เลขนัยสำคัญ
การบันทึกเลขนัยสำคัญ 1. เลขตัวสุดท้ายได้จากการคาดคะเน 2. เลขทุกตัวก่อนตัวสุดท้าย อ่านได้จากสเกล 3. ต้องบอกความไม่แน่นอนในการคาดคะเน เช่นบอกความละเอียด
การคำนวณเลขนัยสำคัญ 1. การบวกลบ  ผลลัพธ์ ควรมีจำนวนตัวเลขหลังจุดทศนิยมเท่ากับจำนวนตัวเลขหลังจุดทศนิยมที่น้อยที่สุดในกลุ่มที่นำมาบวกหรือลบกัน 2. การคูณหารกัน ผลลัพธ์ ควรมีจำนวนตัวเลขนัยสำคัญเท่ากับจำนวนตัวเลขนัยสำคัญที่น้อยที่สุดในกลุ่มที่นำมาคูณหารกัน
ความคลาดเคลื่อนของการวัด คือ โอกาสที่ผลการวัดจะคลาดเคลื่อนจากความเป็นจริง เกิดขึ้นที่เลขตัวสุดท้ายของผลการบันทึก ซึ่งได้จากการคาดคะเน ใช้สัญลักษณ์  แทนค่าความคลาดเคลื่อนของ  A
การบวกลบ,คูณหารความคลาดเคลื่อน - การบวก  -  การลบ -  การคูณ -  การหาร
การหาเปอร์เซ็นต์ความคลาดเคลื่อนแต่ละตัว (%A) เปอร์เซ็นต์ความคลาดเคลื่อนของปริมาณ  (A) %
ปริมาณทางฟิสิกส์  จำแนกตามคุณลักษณะเฉพาะได้  2  ชนิด ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
เวกเตอร์ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การบวกลบเวกเตอร์ 1.  วิธีการเขียนรูป 2.  วิธีการคำนวณ ,[object Object],[object Object]
วิธีการเขียนรูปแบบหางต่อหัว ,[object Object],1.  เขียนลูกศร แทนเวกเตอร์แรกตามขนาดและทิศทาง 2.  นำหางของเวกเตอร์ที่  2  ต่อกับหัวลูกศรของ เวกเตอร์แรก 3.  ถ้ามีเวกเตอร์ย่อยๆ อีกให้กระทำเหมือนข้อ 2  จนครบ 4.  เวกเตอร์ลัพธ์ หาได้โดยการลากลูกศรจากหางของ เวกเตอร์แรกไปยังหัวลูกศรของเวกเตอร์อันสุดท้าย
การหาเวกเตอร์ลัพธ์ด้วยวิธีการคำนวณ ,[object Object],[object Object],R = A - B  เมื่อ   A > B R = B - A  เมื่อ   B > A -  เวกเตอร์ทั้งสองสวนทางกัน   R = A + B -  เวกเตอร์ทั้งสองไปทางเดียวกัน
คำนวณหาทิศทางได้จากสมการ คือมุมระหว่าง  R   กับ  A -  เวกเตอร์ทั้งสองทำมุม  ต่อ กัน
[object Object],-  แยกเวกเตอร์เหล่านั้นให้อยู่บนแกน  x  และ  y -  เวกเตอร์ที่อยู่บนแกน  x  และ  y  แล้วไม่ต้องแยก -  รวมเวกเตอร์ -  ตั้งแกนตั้งฉากกัน  2  แกน ที่จุดตัดของเวกเตอร์เหล่านั้น  ( x , y ) -  หาขนาดของเวกเตอร์ลัพธ์ได้จาก
หาทิศทางของเวกเตอร์ลัพธ์ ได้จาก เมื่อ  คือมุมที่เวกเตอร์ลัพธ์กระทำกับแกน  X
การแปลความหมายข้อมูล การบันทึกข้อมูลทางฟิสิกส์ สามารถทำได้หลายแบบด้วยกันคือ 1. การบันทึกข้อมูลในตาราง 2. การนำเสนอข้อมูล สามารถทำได้หลายแบบ เช่น  แผนภูมิแท่ง แผนภูมิวงกลม เป็นต้น 3. การเขียนกราฟระบบพิกัดฉาก  เป็นการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณเป็นตัวแปรสองตัว แล้วนำค่าทั้งสองมาพล๊อตลงในกราฟของแกน  x  และ  y

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a Phy 1

บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์PumPui Oranuch
 
หน่วย1 กฏของโอห์ม
หน่วย1 กฏของโอห์มหน่วย1 กฏของโอห์ม
หน่วย1 กฏของโอห์มPornsak Tongma
 
บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณบทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณguest6eaa7e
 
เซเรบอส Brands วิชาฟิสิกส์ (192 หน้า)
เซเรบอส Brands วิชาฟิสิกส์ (192 หน้า)เซเรบอส Brands วิชาฟิสิกส์ (192 หน้า)
เซเรบอส Brands วิชาฟิสิกส์ (192 หน้า)findgooodjob
 
ตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุdnavaroj
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำthanakit553
 
Conic section-clip vidva
Conic section-clip vidvaConic section-clip vidva
Conic section-clip vidvaYoothapichai KH
 
2. ชุดที่ 1การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสง
2. ชุดที่ 1การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสง2. ชุดที่ 1การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสง
2. ชุดที่ 1การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสงwanpa krittiyawan
 
เรื่องที่1การวัด
เรื่องที่1การวัดเรื่องที่1การวัด
เรื่องที่1การวัดApinya Phuadsing
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1Chakkrawut Mueangkhon
 

Semelhante a Phy 1 (20)

Lesson01
Lesson01Lesson01
Lesson01
 
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
 
หน่วย1 กฏของโอห์ม
หน่วย1 กฏของโอห์มหน่วย1 กฏของโอห์ม
หน่วย1 กฏของโอห์ม
 
เวกเตอร์และสเกลาร์ พื้นฐาน
เวกเตอร์และสเกลาร์ พื้นฐานเวกเตอร์และสเกลาร์ พื้นฐาน
เวกเตอร์และสเกลาร์ พื้นฐาน
 
set1
set1set1
set1
 
บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณบทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 
เซเรบอส Brands วิชาฟิสิกส์ (192 หน้า)
เซเรบอส Brands วิชาฟิสิกส์ (192 หน้า)เซเรบอส Brands วิชาฟิสิกส์ (192 หน้า)
เซเรบอส Brands วิชาฟิสิกส์ (192 หน้า)
 
ตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุ
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
P01
P01P01
P01
 
Conic section-clip vidva
Conic section-clip vidvaConic section-clip vidva
Conic section-clip vidva
 
2. ชุดที่ 1การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสง
2. ชุดที่ 1การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสง2. ชุดที่ 1การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสง
2. ชุดที่ 1การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสง
 
เรื่องที่1การวัด
เรื่องที่1การวัดเรื่องที่1การวัด
เรื่องที่1การวัด
 
วิทยาศาสตร์ ปลาย
วิทยาศาสตร์  ปลายวิทยาศาสตร์  ปลาย
วิทยาศาสตร์ ปลาย
 
2การวัด
2การวัด2การวัด
2การวัด
 
Applications of infrared ray for drying agricultural products
Applications of infrared ray for drying agricultural productsApplications of infrared ray for drying agricultural products
Applications of infrared ray for drying agricultural products
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
 
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
 

Phy 1