SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 13
Baixar para ler offline
เอกสารหมายเลข มคอ.3
ชื่อสถาบัน อุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร
หมวดที่ 1 ขอมูลโดยทั่ว ไป
1. รหัสและชื่อวิชา
รหัสวิชา 2553338 ชื่อวิชา องคกรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาทองถิ่นและชุมชน
2. จํานวนหนวยกิต
3 (3-0-6)
3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา
กลุมวิชาการบริหารงานทองถิ่น
4. อาจารยผูรับผิดชอบรายวิชาและอาจารยผูสอน
ศุภวัฒน ปภัสสรากาญจน
5. ภาคการศึกษา/ชั้นปที่เรียน
ภาคเรียนที่ 3 ชั้นปที่ 3
6. รายวิชาที่ตองเรียนมากอน (Pre - requisite)
ไมมี
7. รายวิชาที่เรียนพรอมกัน (Co-requisite) (ถามี)
8. สถานที่เรียน มหาราชภัฏสวนดุสิต
9. วันที่จัดทําหรือปรับปรุงรายละเอียดครั้งลาสุด
7 ธันวาคม 2559
หมวดที่ 2 จุดมุงหมายและวัตถุประสงค
1. จุดมุงหมายของรายวิชา
ศึกษาเพื่อใหเกิดความรูความเขาใจในแนวคิดทฤษฎีการจัดการ และความหมายขององคกร
พัฒนาเอกชนและประชาสังคม เขาใจในบทบาท การเจริญเติบโตขององคกรพัฒนาเอกชน และความ
เขาใจในการจัดการดานบทบาท ความสัมพันธ การจัดการภายในองคกร และความรวมมือในการพัฒา
รวมทั้งแนวโนมของการพัฒนาโดยองคกรพัฒนาเอกชน
2. วัตถุประสงคในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
2.1 เพื่อใหนักศึกษามีความเขาใจบทบาทและการจัดการองคกรพัฒนาเอกชนมากยิ่งขึ้น
2.2 เพื่อใหนักศึกษาสามารถวิเคราะหแนวโนม และอนาคตขององคกรพัฒนาเอกชนเพื่อจะไดทราบ
และเขาใจถึงการดําเนินการและการจัดการในอนาคตขององคกรพัฒนาเอกชน และสามารถนํามาใช
ประโยชนตอการประยุกตเพื่อการทํางานในสายงานในอนาคต
หมวดที่ 3 ลักษณะและการดําเนินการ
1. คําอธิบายรายวิชา
ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีการจัดการและความหมายขององคกรพัฒนาเอกชนและประชาสังคม โดยมุงเนนบทบาทและ
การเติบโตขององคกรพัฒนาเอกชน การจัดการดานบทบาทขององคกรพัฒนาเอกชนการจัดการดานความสัมพันธขององคกร
เอกชน การจัดการภายในองคกรพัฒนาเอกชน องคกรเอกชน และการจัดการความรวมมือกับประชาสังคมอื่นในการพัฒนา
ทองถิ่นและชุมชนทั้งในประเทศไทยและตางประเทศ การวิเคราะหแนวโนมของการพัฒนาโดยองคกรดังกลาว
2. จํานวนชั่วโมงที่ใชตอภาคการศึกษา
บรรยายสอนเสริมบรรยาย
45ชั่วโมง/ภาค
การศึกษา
ตามความตองการของ
นักศึกษา
การฝกปฏิบัติงาน/
ภาคสนาม/การฝกงาน
6 ชั่วโมงตอภาการศึกษา
(ศึกษาดูงานในสถานที่จริง)
การศึกษาดวยตนเอง
12 ชั่วโมงตอ
สัปดาห
3. จํานวนชั่วโมงตอสัปดาหที่อาจารยให คําปรึกษาและแนะนําทางวิชาการแกนักศึกษาเปนรายบุคคล
หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรูของนักศึกษา
1. คุณธรรม จริยธรรม
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ตองพัฒนา
พัฒนาผูเรียนใหมีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของขอมูลสวนบุคคลการไมลอก
เลียนและไมละเมิดลิขสิทธิ์ทางปญญา มีความซื่อสัตย ซื่อตรงในการทางาน การศึกษา มีความรับผิดชอบตอตนเองและสังคม
โดยมีคุณธรรมและจริยธรรมดังนี้
(1) มีวินัย ตรงตอเวลาและความรับผิดชอบตอตนเองและสังคม
(2) ตระหนักในคุณคาและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตยสุจริต
(3) มีภาวะความเปนผูนําและผูตาม สามารถทํางานเปนทีมและสามารถแกไขปญหาขอขัดแยงรวมกัน
(4) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2 วิธีการสอน
การสอนเนนผูเรียนเปนสําคัญ มีการบรรยายถึงเนื้อหาหลักของวิชาใหผูเรียนทําการคนควา หรือทําความเขาใจ
ประเด็นปลีกยอยดวยตนเองเนนใหผูเรียนไดมีการฝกฝนทักษะดานตางๆ รูจักวิเคราะหสังเคราะหและแกปญหาดวยตนเองมี
การพัฒนาคนหาความรูแลวมาเสนอเพื่อสรางทักษะในการอภิปรายและการนําเสนอ การจัดการเรียนการสอนจะแทรก
เนื้อหา/กิจกรรมที่สงเสริมดานคุณธรรม จริยธรรม ทั้งนี้ ไดนํารูปแบบการเรียนการสอนแบบตางๆเพื่อทําใหผูเรียนเกิด
ทักษะในการเรียนรู ทักษะในการคิดอยางมีระบบและการวิจัย และการแกปญหา มีความรูในเรื่องที่ตนเองสนใจมีทักษะ
ในการนํา เสนอและอภิปราย ยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่นและเปนผูมีคุณธรรม จริยธรรมในตนเองวิชาชีพและสังคม
1.3 วิธีการประเมินผล
(1) นักศึกษาประเมินการเรียนรูดวยตนเอง โดยใชแบบสอบถามมาตรฐานที่ วัดคุณธรรมจริยธรรม
(2) ประเมินโดยสังเกตพฤติกรรมและการแสดงออกระหวางการอภิปรายโดยมีการบันทึกผลการ
ประเมินหลักฐานแจงใหนักศึกษาทราบดวยทุกครั้ง
(3) ประเมินความซื่อสัตยจากการพูดคุยสัมภาษณเพื่อนรวมงานและผูเกี่ยวของ
2. ความรู
เชื่อมโยงความรูทางทฤษฎีกับการประยุกตใหเกิดผลตอความเขาใจกระบวนการขั้นตอนและวิธีการตางๆ ใน
ดานการจัดการขององคกรพัฒนาเอกชน ทั้งภายในองคกร ภายนอกองคกร เชน การประสานความรวมมือระหวาง
ภาคีตางๆ ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศ
2.1 ความรูที่ตองไดรับ
(1) มีความรูและความเขาใจเกี่ยวกับหลักการ แนวคิด ทฤษฎีและเนื้อหาสาระสําคัญของรายวิชาที่เกี่ยวของ
กับรัฐประศาสนศาสตร
(2) สามารถศึกษคนควาและพัฒนาตนเองไดอยางตอเนื่อง
(3) สามารถนําความรูและประสบการณไปรวมพัฒนาแกไขปญหาและนําความรูทางรัฐประศาสนศาสตรไป
ประยุกตไดจริง
(4) สามารถบูรณาการความรูในที่ศึกษากับความรูในศาสตรอื่น ๆ ที่เกี่ยวของมาไดตลอดเวลาที่นักศึกษาทํา
การแกไขปญหาไดอยางถูกตองและเหมาะสม
2.2 วิธีการสอน
(1) บรรยาย อภิปราย การทํางานกลุม การนาเสนอรายงาน การวิเคราะหกรณีศึกษา และมอบหมายให
คนควาหาบทความ ขอมูลที่เกี่ยวของ โดยนามาสรุปและนําเสนอ การศึกษาโดยใชปญหา Problem-based Learning
และ เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง
(2) บอกถึงแหลงขอมูลเพื่อใหนักศึกษาไดคนควาขอมูลเพื่อการเรียนรูไดดวยตนเอง
(3) จัดประชุม แบงงาน ติดตามงานเปนระยะเวลาที่กําหนดหรือตามความเหมาะสม
(4) การดูงานและศึกษาจากสถานที่จริง
(5) จัดทํารายงานผลวิเคราะหความตองการและนําเสนอ
2.3 วิธีการประเมิน
(1) ทดสอบยอย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ดวยขอสอบที่เนนการวัดหลักการและทฤษฎี ประเมินจากการ
นําเสนอผลการคนควาขอมูล กรณีศึกษา หรือโจทยจาก Problem-based Learning
(2) ประเมินผลจากผลงานที่ได รับมอบหมาย ตามหัวขอที่ กําหนด โดยอางอิงทฤษฎีในวิชาที่เกี่ยวของ
(3) ประเมินจากการมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็นและการไดรับการยอมรับจากผูอื่นที่เกี่ยวของ
3. ทักษะทางปญญา
พัฒนาความสามารถในการคิดอยางมีการคิดอยางเปนระบบ มีการวิเคราะห ประยุกตแนวคิดกับปรากการณ
การพัฒนาชุมชนไดเปนอยางดี สามารถเสนอแนะวิธีการพัฒนาแกไขปญหาของการพัฒนาชุมชน
3.1 ทักษะทางปญญาที่ตองพัฒนา
(1) มีความสามารถในการคิด วิเคราะหอยางมีวิจารณญาณเปนระบบ และมีตรรกะ
(2) มีความสามารถในการถายทอด และแลกเปลี่ยนความรูกับผูอื่น
(3) สามารถรวบรวมขอมูลศึกษาวิเคราะหประเด็นปญหาที่เกี่ยวของกับสังคมชุมชนเพื่อเสนอแนวทางแกไขได
(4) สามารถประยุกตใชความรูและทักษะตามกรอบทฤษฎี แนวคิด ประสบการณและตัวอยางที่ศึกษามาทํา
การแกไขปญหาไดอยางถูกตองและ
3.2 วิธีการสอน
(1) การมอบหมายโจทยปญหา ใหฝกการคนหาความตองการและวิเคราะหผลความตองการ
(2) จัดทํารายงานผลวิเคราะหความตองการและนําเสนอ
(3) ประชุมรวมกันระหวาง อาจารยที่ปรึกษาและนักศึกษา
(4) มอบหมายโจทยปญหา ดานการพัฒนาภายใตปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(5) การนําเสนอดวยการจัดทํารายงานและการนําเสนอรวมกัน
3.3 วิธีการประเมินผล
ประเมินผลจากผลงานที่ไดรับมอบหมาย ตามหัวขอที่กําหนด โดยอางอิงทฤษฎีในวิชาที่เกี่ยวของและควรนํามา
เปนพื้นฐานในการนามาแกปญหา ประยุกตในการใช
4. ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบที่ตองพัฒนา
(1) มีความสามารถในการสื่อสารกับผูอื่นที่มีความแตกตาง และหลากหลายไดอยางเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
(2) มีความเขาใจผูอื่นและสังคมและสามารถปรับตัวใหเขากับสังคม
(3) สามารถแกไขปญหาหรือความขัดแยงที่อาจเกิดขึ้นจากการทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ
(4) มีจิตสาธารณะและรับผิดชอบตอตนเองและสังคม
4.2 วิธีการสอน
(1) สรางกิจกรรมเพื่อใหเกิดความรูรักสามัคคี พรอมทํางานเปนทีม
(2) มอบหมายงานที่ตองทางานรวมกันเปนทีม
(3) มีการแบงงานกันอยางชัดเจน มอบหมายงานที่ตองพูดคุย ประชุมรวมกัน เพื่อมอบหมายงาน
ติดตามงานประเมินผล
4.3 วิธการประเมินผล
(1) ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม จากการสัมภาษณ ผูรวมงาน หรือผูเกี่ยวของ
(2) ประเมินจากขอมูลที่ไดรับจากที่นักศึกษาไปสัมภาษณ
(3) ประเมินจากการมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น และการไดรับการยอมรับจากเพื่อนรวมงานหรือ
ผูเกี่ยวของ
5. ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลขและการใชเทคโนโลยีสารสเทศ
5.1 ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ
(1) มีทักษะในการใชเครื่องมือและอุปกรณที่จําเปนตอการใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพ
(2) สามารถสื่อสารแนะนําเสนอผลงานไดอยางมีประสิทธิภาพทั้งดานการพูด การเขียน ตลอดจนสามารถ
เลือกใชสื่อและเครื่องมือในการนําเสนอผลงานไดอยางเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
(3) ทักษะในการใชสารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอยางเหมาะสม
(4) สามารถใชขอมูลสถิติและตัวเลข ในการวิเคราะหขอมูลไดอยางเหมาะสม
5.2 วิธีการสอน
(1) มอบหมายงานผานระบบเทคโนโลยี การใชทักษะดานเทคโนโลยีในการนําเสนอขอมูล
(2) มอบหมายงานที่ตองมี การสื่อสารโดยใชภาษาทั้งไทยและตางประเทศ ทั้งการพูดเขียนในการประสาน
การทํางาน
(3) มอบหมายงานที่ตองใชเทคโนโลยี ในการแกปญหาหรือนําเสนองาน
5.3 วิธีการประเมินผล
(1) ประเมินจากเอกสาร ที่นาเสนอโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศเปนสื่อ
(2) ประเมินจากเอกสารที่เขียน เชน E-Mail ที่ใชสื่อสารเพื่อการทํางาน
(3) ประเมินจากผลการแกปญหาวา โดยเนนความถูกตองและเหมาะสม
1.แผนการสอน
สัปดาห์ที หัวข้อ/รายละเอียด จํานวน
ชัวโมง
กิจกรรมการเรียนการสอน/
สือทีใช้
ผู้สอน
1 1.ภาพรวมแนวการเรียนการสอนวิธีการเรียนการสอนและ
การประเมินผลการเรียนรู้
2.การมอบหมายงานการอธิบายถึงกระบวนการทํางาน
และวิธีการประเมินผลงานทีได้รับมอบหมาย
1.1 ความหมายขององค์กรพัฒนาเอกชน (NGOs)
1) นิยามขององค์กรพัฒนาเอกชน(TermoffNGOs)
2) โครงสร้างขององค์กรพัฒนาเอกชน
1.2ภาคประชาสังคมกับองค์กรพัฒนาเอกชน
1.3ประเภทขององค์กรพัฒนาเอกชน
3 -นักศึกษาทําการศึกษาเอกสาร
ประกอบการสอน
-powerpoint
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
2 บทบาทขององคกรพัฒนาเอกชนตอประชาสังคม
1.เงื่อนไขแวดลอมของประชาสังคม
1.1 การเปลี่ยนแปลงการเมืองโลก
1.2 เงินทุนกับการพัฒนา
1.3 ความหมายของประชาสังคม
2. บทบาทขององคกรพัฒนาเอกชนในประชาสังคม
2.1 ประชาสังคมในกระแสโลก
2.2 การเคลื่อนไหวทางสังคมขององคกรเอกชนของ
ไทย
2.3 บทบาทขององคกรพัฒนาเอกชนที่มีตอประชา
สังคมในอนาคต
3 -นักศึกษาทําการศึกษาเอกสาร
ประกอบการสอน
-powerpoint
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล
สัปดาห์ที หัวข้อ/รายละเอียด จํานวน
ชัวโมง
กิจกรรมการเรียนการสอน/
สือทีใช้
ผู้สอน
3-4 1.ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
1.1หน้าทีของคณะกรรมการ
1.2อาณัตและวิธีการทํา งาน
1.3การพิจารณาและการเลือกวิกฤติเพือการแก้ไขปัญหา
1.4องค์ประกอบของกรรมการบริหาร
1.5ระยะเวลาของกรรมการบริหาร
1.6การทําหน้าทีการดํารงตําแหน่งของกรรมการบริหาร
องค์กรพัฒนาเอกชน
2.การจัดระเบียบและการวางกฎเกณฑ์ในการดําเนินงาน
2.1ชือและวัตถุประสงค์ของการจัดตังองค์กร
2.2การวางโครงเรืองต่างๆเพือการพบปะประชุมกับ
ผู้เกียวข้อง
2.3อํานาจหน้าทีของคณะกรรมการสมาชิกกลุ่ม
ผู้ร่วมงาน
2.4การจัดทําบันทึกรายงานการดําเนินงานด้าน
การเงินหน้าทีความรับผิดชอบ
2.5ระเบียบข้อบังคับเงือนไขต่างในการแก้ไขปัญหา
ทีอาจเกิดขึนและเงือนไขในการยุบเลิกองค์กรเมือเสร็จสิน
ภาระกิจ
3.องค์การและลักษณะการจัดองค์การ
4.ผู้นําและภาวะผู้นําองค์กรพัฒนาเอกชน
6 -นักศึกษาทําการศึกษาเอกสาร
ประกอบการสอน
-powerpoint
-ทดสอบย่อย
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
สัปดาห์ที หัวข้อ/รายละเอียด จํานวน
ชัวโมง
กิจกรรมการเรียนการสอน/
สือทีใช้
ผู้สอน
5 ระบบเครือขายทุนทางสังคมและภาคีการพัฒนาและการ
พัฒนาในระดับพื้นที่
1.องคกรระดับพื้นที่ (StreetLevelOrganization)และ
บทบาทในการพัฒนาและการใหบริการ
2.บทบาทของทุนทางสังคมในการจัดการการควบคุมระบบ
การดําเนินงานขององคกรพัฒนาเอกชนและหนวยงานใน
ระดับพื้นที่
2.1การเผชิญหนาและการแขงขันในปจจุบันกับคานิยมใน
การพัฒนาแบบดั้งเดิม
2.2การปรับรูปแบบการจัดการไปสูรูปแบบที่เปนทางการ
2.3ระบบความเชื่อในการพัฒนากับการแขงขันในภาค
องคกรพัฒนาเอกชน
2.4รูปแบบความสัมพันธระหวางการจัดการการควบคุมกับ
ทุนทางสังคมและผลลัพธ
-นักศึกษาทําการศึกษา
เอกสารประกอบการสอน
-powerpoint
-ทดสอบย่อย
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
6-7 แนวทางละวิธีการแกไขปญหาชุมชนขององคกรพัฒนาเอกชน
1.การประเมินพื้นฐานความตองการจําเปนและปญหา
ชุมชน
1.1แนวคิดการประเมินพื้นฐานความตองการจําเปน
1.2แนวคิดของกระบวนการวิเคราะหและประเมินความ
ตองการจําเปนและปญหาของชุมชน
1.3ลีนสตารทอัพเพื่อผลกระทบทางสังคม
6 -นักศึกษาทําการศึกษา
เอกสารประกอบการสอน
-powerpoint
-สอบกลางภาค(สัปดาห์ที7)
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
สัปดาห์
ที
หัวข้อ/รายละเอียด จํานวนชัวโมง กิจกรรมการเรียนการสอน/
สือทีใช้
ผู้สอน
8-9 แนวคิดในการศึกษาชุมชนเพื่อทําความเขาใจตอ
ความตองการและปญหาของชุมชน
1.วิธีการศึกษาดวยการประเมินสภาวะชนบท
อยางเรงดวน(RapidRuralAppraisal:RRA)
2. การประเมินสภาวะชุมชนแบบมีสวนรวม
(ParticipatoryRuralAppraisal:PRA)
6 -นักศึกษาทําการศึกษาเอกสาร
ประกอบการสอน
-powerpoint
-ทดสอบย่อย(สัปดาห์ที9)
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
10-11 แนวคิดในการศึกษาชุมชนเพื่อทําความเขาใจตอ
ความตองการและปญหาของชุมชน (ตอ)
5.การวิเคราะหระบบชนบทนิเวศนเกษตร
(Agro-ecosystemAnalysis:AA)
6.การวิเคราะหชุมชนดวยความละเอียดออน
(SoftSystemAnalysis:SSA)
7. เทคนิค A.I.C. (Appreciation Influence
Control)
8.กระบวนการเรียนรูทางสังคม (Social
LearningProcess:SLP)
6 -นักศึกษาทําการศึกษาเอกสาร
ประกอบการสอน
-powerpoint
-ทดสอบย่อย(สัปดาห์ที11)
-Workshop
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
12-13 ผูนําชุมชนลักษณะของผูนําชุมชนและภาวะผูนํา
ชุมชนที่ดี
1.แนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ
การขับเคลื่อนแนวคิดสูผูนําองคกรชุมชน
2.แนวคิดทฤษฎีภาวะผูนําและแนวคิดผูนํา
การเปลี่ยนแปลง
6 -นักศึกษาทําการศึกษาเอกสาร
ประกอบการสอน
-powerpoint
สัปดาห์
ที
หัวข้อ/รายละเอียด จํานวนชัวโมง กิจกรรมการเรียนการสอน/
สือทีใช้
ผู้สอน
3.แนวคิดการพัฒนาอัตตาในระดับจิตสํานึก
ดานคุณธรรมเพื่อพัฒนาภาวะผูนําชุมชน
4.องคประกอบและลักษณะของผูนําชุมชนที่
ดี
14 ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงและตัวแบบตรรกะเพื่อ
การพัฒนาชุมชน
1.แนวคิดทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงเพื่อการ
วางแผน
2.แนวคิดตัวแบบเชิงตรรกะในการ
วางแผน
3.การผสมผสานแนวคิดเพื่อการ
วางแผนพัฒนาชุมชน
4.แนวคิดการวางแผนพัฒนาชุมชนและ
การประเมินผลการปฏิบัติตามแผนพัฒนา
ชุมชนและผลลัพธของพัฒนาชุมชนตาม
แนวทางของUNDP(UnitedNations
DevelopmentProgramme)
5.กรณีตัวอยาง
3 -นักศึกษาทําการศึกษาเอกสาร
ประกอบการสอน
-powerpoint
-บทความจากวารสารการบริหาร
งานท้องถิน
-Workshop
สัปดาห์ที หัวข้อ/รายละเอียด จํานวน
ชัวโมง
กิจกรรมการเรียนการสอน/
สือทีใช้
ผู้สอน
15 สรุปทบทวนและแนะนําเพื่อการเตรียมตัว
ประเมินผลปลายภาค
3 บรรยาย
เอกสารประกอบการสอน
ผลการ
เรียนรู*
กิจกรรมที่
1.1, 4.1,
5.1
6, 7
วิธีการประเมิน
วิเคราะหกรณีศึกษา คนควาการนําเสนอรายงานใน
ประเด็นที่สนใจ การทํางานกลุมและผลงาน
สัปดาหที่
ประเมิน
สัดสวนของ
การประเมิน
3, 5
7
9
11
16
11 - 13
10%
20%
5%
5%
30%
20%
10%
1. เอกสารและตํารา
ศุภวัฒน ปภัสสรากาญจน. (2559). เอกสารประกอบการสอน. เอกสารรวบรวมเย็บเลม. องคกรพัฒนาชุมชน
และการจัดการเพื่อการพัฒนาทองถิ่นและชุมชน. หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.
Robert H. Chenhall..and the other. (2010). Social capital: The role of management control systems in NGOs.
Research executive summary series. Chartered Institute of Management
หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
2. เอกสารและขอมูลสําคัญ
ศุภวัฒน ปภัสสรากาญจน.2559.การนําทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงและตัวแบบตรรกะเพื่อการปรับตัวดาน
ภูมิอากาศมาใชในการพัฒนาชุมชนและทองถิ่น.วารสารการบริหารทองถิ่น.ปที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม –
มีนาคม 2559. .
3. เอกสารและขอมูลแนะนํา
http://www.gdrc.org/ngo/org-chart.html
http://www.manager.co.th/iBizChannel/ViewNews.aspx?NewsID=9510000120884
2. แผนการประเมินผลการเรียนรู (16 สัปดาห)
1 , 2
3
4
5
8
ทดสอบยอยครั้งที่ 1, 2
สอบกลางภาค
ทดสอบยอยครั้งที่ 3
ทดสอบยอยครั้งที่ 4
สอบปลายภาค
1.1, 2.1,
3.1
หมวดที่ 7 การประเมิน และปรับ ปรุงการดําเนินการของรายวิชา
1. กลยุทธการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
การประเมินประสิทธิผลในรายวิ ชานี้ ที่จัดทาโดยนักศึกษา ไดจัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็นจาก
นักศึกษาได ดังนี้
- การสนทนากลุมระหวางผูสอนและผูเรียน
- แบบประเมินผูสอนและแบบประเมินรายวิชา
- ขอเสนอแนะผานเวบบอรดที่อาจารยผูสอนไดจัดทําเปนชองทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2. กลยุทธการประเมินการสอน
ในการเก็บขอมูลเพื่อประเมินการสอน ไดมีกลยุทธ ดังนี้
- การสังเกตการณสอนของผูรวมทีมการสอน
- ผลการเรียนของนักศึกษา
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู
3. การปรับปรุงการสอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในขอ 2 จึงมีการปรับปรุง การสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดม
สมองและหาขอมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
- สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
- การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิของนักศึกษาในรายวิชา
ในระหวางกระบวนการสอนรายวิชามีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวขอ ตามที่คาดหวังจากการ
เรียนรูในวิชาไดจากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุมตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจาก
ผลการทดสอบยอยและหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาไดดังนี้
- การทวนสอบการใหคะแนนจากการสุม ตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารยอื่นหรือผูทรงคุณวุฒิที่ไมใช
อาจารยประจาหลักสูตร
- มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรูของนักศึกษาโดย
ตรวจสอบขอสอบ รายงานวิธีการใหคะแนนสอบและการใหคะแนนพฤติกรรม
5. การดําเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชาไดมีการวางแผนการปรับปรุงการ
สอนและรายละเอียดวิชาเพื่อใหเกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ป หรือตามขอเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามขอ 4
- เปลี่ยนหรือสลับอาจารยผูสอน เพื่อใหนักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกตความรูนี้กับปญหา
ที่มาจากงานวิจัยของอาจารยตาง ๆ
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558Sircom Smarnbua
 
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬามคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬาไชยยา มะณี
 
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุดความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุดrisa021040
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9tum17082519
 
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลก
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลกมคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลก
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลกChalit Arm'k
 
กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม6 1 2558
กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม6  1 2558กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม6  1 2558
กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม6 1 2558Sircom Smarnbua
 
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558Sircom Smarnbua
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม6 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม6 1 2558โครงสร้างรายวิชาเคมี ม6 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม6 1 2558Sircom Smarnbua
 
สมัครพนักงานราชการ
สมัครพนักงานราชการสมัครพนักงานราชการ
สมัครพนักงานราชการsupphawan
 
มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน ภาคปลาย55
มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน  ภาคปลาย55มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน  ภาคปลาย55
มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน ภาคปลาย55ไชยยา มะณี
 
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557Anusara Sensai
 
มคอ 3 รายวิชาแอโรบิกดานซ์1
มคอ 3 รายวิชาแอโรบิกดานซ์1มคอ 3 รายวิชาแอโรบิกดานซ์1
มคอ 3 รายวิชาแอโรบิกดานซ์1ไชยยา มะณี
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558Sircom Smarnbua
 
มคอ.3 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ภาคต้น 55
มคอ.3 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ภาคต้น 55มคอ.3 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ภาคต้น 55
มคอ.3 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ภาคต้น 55ไชยยา มะณี
 
มคอ.3 il156
มคอ.3 il156มคอ.3 il156
มคอ.3 il156Ajnawa Sing
 

Mais procurados (20)

บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
 
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬามคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
 
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุดความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
 
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลก
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลกมคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลก
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลก
 
กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม6 1 2558
กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม6  1 2558กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม6  1 2558
กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม6 1 2558
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
 
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม6 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม6 1 2558โครงสร้างรายวิชาเคมี ม6 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม6 1 2558
 
สมัครพนักงานราชการ
สมัครพนักงานราชการสมัครพนักงานราชการ
สมัครพนักงานราชการ
 
6บทที่2
6บทที่2 6บทที่2
6บทที่2
 
Intro bio5 2560
Intro bio5 2560Intro bio5 2560
Intro bio5 2560
 
มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน ภาคปลาย55
มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน  ภาคปลาย55มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน  ภาคปลาย55
มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน ภาคปลาย55
 
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
 
มคอ 3 รายวิชาแอโรบิกดานซ์1
มคอ 3 รายวิชาแอโรบิกดานซ์1มคอ 3 รายวิชาแอโรบิกดานซ์1
มคอ 3 รายวิชาแอโรบิกดานซ์1
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558
 
มคอ.3 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ภาคต้น 55
มคอ.3 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ภาคต้น 55มคอ.3 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ภาคต้น 55
มคอ.3 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ภาคต้น 55
 
มคอ.3 il156
มคอ.3 il156มคอ.3 il156
มคอ.3 il156
 

Semelhante a มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน

มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2
มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2
มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2ไชยยา มะณี
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02witthawat silad
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่างptrnan
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมptrnan
 
มคอ.3 historical tourism
มคอ.3  historical tourismมคอ.3  historical tourism
มคอ.3 historical tourismchickyshare
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01witthawat silad
 
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3sopa sangsuy
 
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬามคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬาไชยยา มะณี
 
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc Aobinta In
 
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาMko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาNanzzy Sutthanont
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้pornpimonnuy
 
2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1ssuser4df01d1
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานkruthai40
 

Semelhante a มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน (20)

มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2
มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2
มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
มคอ.3 historical tourism
มคอ.3  historical tourismมคอ.3  historical tourism
มคอ.3 historical tourism
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
 
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
 
7บทที่3
7บทที่3 7บทที่3
7บทที่3
 
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬามคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
 
006
006006
006
 
SARkruwichaiTU2562
SARkruwichaiTU2562SARkruwichaiTU2562
SARkruwichaiTU2562
 
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
 
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาMko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
 
มคอ3เพศศึกษา
มคอ3เพศศึกษามคอ3เพศศึกษา
มคอ3เพศศึกษา
 
2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
 

Mais de ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์

ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 

Mais de ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ (20)

ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
 
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
 
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการองค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
 
Microsoft word สารบัญ
Microsoft word   สารบัญMicrosoft word   สารบัญ
Microsoft word สารบัญ
 
Microsoft word สัปดาห์ที่15
Microsoft word   สัปดาห์ที่15Microsoft word   สัปดาห์ที่15
Microsoft word สัปดาห์ที่15
 
Microsoft word สัปดาห์ที่14
Microsoft word   สัปดาห์ที่14Microsoft word   สัปดาห์ที่14
Microsoft word สัปดาห์ที่14
 
Microsoft word สัปดาห์ที่13
Microsoft word   สัปดาห์ที่13Microsoft word   สัปดาห์ที่13
Microsoft word สัปดาห์ที่13
 
Microsoft word สัปดาห์ที่12
Microsoft word   สัปดาห์ที่12Microsoft word   สัปดาห์ที่12
Microsoft word สัปดาห์ที่12
 
Microsoft word สัปดาห์ที่10
Microsoft word   สัปดาห์ที่10Microsoft word   สัปดาห์ที่10
Microsoft word สัปดาห์ที่10
 
Microsoft word สัปดาห์ที่8
Microsoft word   สัปดาห์ที่8Microsoft word   สัปดาห์ที่8
Microsoft word สัปดาห์ที่8
 
Microsoft word สัปดาห์ที่6
Microsoft word   สัปดาห์ที่6Microsoft word   สัปดาห์ที่6
Microsoft word สัปดาห์ที่6
 
Microsoft word สัปดาห์ที่1
Microsoft word   สัปดาห์ที่1Microsoft word   สัปดาห์ที่1
Microsoft word สัปดาห์ที่1
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 11
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 11Microsoft word   สัปดาห์ที่ 11
Microsoft word สัปดาห์ที่ 11
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 9
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 9Microsoft word   สัปดาห์ที่ 9
Microsoft word สัปดาห์ที่ 9
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 7
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 7Microsoft word   สัปดาห์ที่ 7
Microsoft word สัปดาห์ที่ 7
 

มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน

  • 1. เอกสารหมายเลข มคอ.3 ชื่อสถาบัน อุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร หมวดที่ 1 ขอมูลโดยทั่ว ไป 1. รหัสและชื่อวิชา รหัสวิชา 2553338 ชื่อวิชา องคกรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาทองถิ่นและชุมชน 2. จํานวนหนวยกิต 3 (3-0-6) 3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา กลุมวิชาการบริหารงานทองถิ่น 4. อาจารยผูรับผิดชอบรายวิชาและอาจารยผูสอน ศุภวัฒน ปภัสสรากาญจน 5. ภาคการศึกษา/ชั้นปที่เรียน ภาคเรียนที่ 3 ชั้นปที่ 3 6. รายวิชาที่ตองเรียนมากอน (Pre - requisite) ไมมี 7. รายวิชาที่เรียนพรอมกัน (Co-requisite) (ถามี) 8. สถานที่เรียน มหาราชภัฏสวนดุสิต 9. วันที่จัดทําหรือปรับปรุงรายละเอียดครั้งลาสุด 7 ธันวาคม 2559 หมวดที่ 2 จุดมุงหมายและวัตถุประสงค 1. จุดมุงหมายของรายวิชา ศึกษาเพื่อใหเกิดความรูความเขาใจในแนวคิดทฤษฎีการจัดการ และความหมายขององคกร พัฒนาเอกชนและประชาสังคม เขาใจในบทบาท การเจริญเติบโตขององคกรพัฒนาเอกชน และความ เขาใจในการจัดการดานบทบาท ความสัมพันธ การจัดการภายในองคกร และความรวมมือในการพัฒา รวมทั้งแนวโนมของการพัฒนาโดยองคกรพัฒนาเอกชน 2. วัตถุประสงคในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา 2.1 เพื่อใหนักศึกษามีความเขาใจบทบาทและการจัดการองคกรพัฒนาเอกชนมากยิ่งขึ้น 2.2 เพื่อใหนักศึกษาสามารถวิเคราะหแนวโนม และอนาคตขององคกรพัฒนาเอกชนเพื่อจะไดทราบ และเขาใจถึงการดําเนินการและการจัดการในอนาคตขององคกรพัฒนาเอกชน และสามารถนํามาใช ประโยชนตอการประยุกตเพื่อการทํางานในสายงานในอนาคต
  • 2. หมวดที่ 3 ลักษณะและการดําเนินการ 1. คําอธิบายรายวิชา ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีการจัดการและความหมายขององคกรพัฒนาเอกชนและประชาสังคม โดยมุงเนนบทบาทและ การเติบโตขององคกรพัฒนาเอกชน การจัดการดานบทบาทขององคกรพัฒนาเอกชนการจัดการดานความสัมพันธขององคกร เอกชน การจัดการภายในองคกรพัฒนาเอกชน องคกรเอกชน และการจัดการความรวมมือกับประชาสังคมอื่นในการพัฒนา ทองถิ่นและชุมชนทั้งในประเทศไทยและตางประเทศ การวิเคราะหแนวโนมของการพัฒนาโดยองคกรดังกลาว 2. จํานวนชั่วโมงที่ใชตอภาคการศึกษา บรรยายสอนเสริมบรรยาย 45ชั่วโมง/ภาค การศึกษา ตามความตองการของ นักศึกษา การฝกปฏิบัติงาน/ ภาคสนาม/การฝกงาน 6 ชั่วโมงตอภาการศึกษา (ศึกษาดูงานในสถานที่จริง) การศึกษาดวยตนเอง 12 ชั่วโมงตอ สัปดาห 3. จํานวนชั่วโมงตอสัปดาหที่อาจารยให คําปรึกษาและแนะนําทางวิชาการแกนักศึกษาเปนรายบุคคล หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรูของนักศึกษา 1. คุณธรรม จริยธรรม 1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ตองพัฒนา พัฒนาผูเรียนใหมีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของขอมูลสวนบุคคลการไมลอก เลียนและไมละเมิดลิขสิทธิ์ทางปญญา มีความซื่อสัตย ซื่อตรงในการทางาน การศึกษา มีความรับผิดชอบตอตนเองและสังคม โดยมีคุณธรรมและจริยธรรมดังนี้ (1) มีวินัย ตรงตอเวลาและความรับผิดชอบตอตนเองและสังคม (2) ตระหนักในคุณคาและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตยสุจริต (3) มีภาวะความเปนผูนําและผูตาม สามารถทํางานเปนทีมและสามารถแกไขปญหาขอขัดแยงรวมกัน (4) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 1.2 วิธีการสอน การสอนเนนผูเรียนเปนสําคัญ มีการบรรยายถึงเนื้อหาหลักของวิชาใหผูเรียนทําการคนควา หรือทําความเขาใจ ประเด็นปลีกยอยดวยตนเองเนนใหผูเรียนไดมีการฝกฝนทักษะดานตางๆ รูจักวิเคราะหสังเคราะหและแกปญหาดวยตนเองมี
  • 3. การพัฒนาคนหาความรูแลวมาเสนอเพื่อสรางทักษะในการอภิปรายและการนําเสนอ การจัดการเรียนการสอนจะแทรก เนื้อหา/กิจกรรมที่สงเสริมดานคุณธรรม จริยธรรม ทั้งนี้ ไดนํารูปแบบการเรียนการสอนแบบตางๆเพื่อทําใหผูเรียนเกิด ทักษะในการเรียนรู ทักษะในการคิดอยางมีระบบและการวิจัย และการแกปญหา มีความรูในเรื่องที่ตนเองสนใจมีทักษะ ในการนํา เสนอและอภิปราย ยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่นและเปนผูมีคุณธรรม จริยธรรมในตนเองวิชาชีพและสังคม 1.3 วิธีการประเมินผล (1) นักศึกษาประเมินการเรียนรูดวยตนเอง โดยใชแบบสอบถามมาตรฐานที่ วัดคุณธรรมจริยธรรม (2) ประเมินโดยสังเกตพฤติกรรมและการแสดงออกระหวางการอภิปรายโดยมีการบันทึกผลการ ประเมินหลักฐานแจงใหนักศึกษาทราบดวยทุกครั้ง (3) ประเมินความซื่อสัตยจากการพูดคุยสัมภาษณเพื่อนรวมงานและผูเกี่ยวของ 2. ความรู เชื่อมโยงความรูทางทฤษฎีกับการประยุกตใหเกิดผลตอความเขาใจกระบวนการขั้นตอนและวิธีการตางๆ ใน ดานการจัดการขององคกรพัฒนาเอกชน ทั้งภายในองคกร ภายนอกองคกร เชน การประสานความรวมมือระหวาง ภาคีตางๆ ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศ 2.1 ความรูที่ตองไดรับ (1) มีความรูและความเขาใจเกี่ยวกับหลักการ แนวคิด ทฤษฎีและเนื้อหาสาระสําคัญของรายวิชาที่เกี่ยวของ กับรัฐประศาสนศาสตร (2) สามารถศึกษคนควาและพัฒนาตนเองไดอยางตอเนื่อง (3) สามารถนําความรูและประสบการณไปรวมพัฒนาแกไขปญหาและนําความรูทางรัฐประศาสนศาสตรไป ประยุกตไดจริง (4) สามารถบูรณาการความรูในที่ศึกษากับความรูในศาสตรอื่น ๆ ที่เกี่ยวของมาไดตลอดเวลาที่นักศึกษาทํา การแกไขปญหาไดอยางถูกตองและเหมาะสม 2.2 วิธีการสอน (1) บรรยาย อภิปราย การทํางานกลุม การนาเสนอรายงาน การวิเคราะหกรณีศึกษา และมอบหมายให คนควาหาบทความ ขอมูลที่เกี่ยวของ โดยนามาสรุปและนําเสนอ การศึกษาโดยใชปญหา Problem-based Learning และ เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง (2) บอกถึงแหลงขอมูลเพื่อใหนักศึกษาไดคนควาขอมูลเพื่อการเรียนรูไดดวยตนเอง (3) จัดประชุม แบงงาน ติดตามงานเปนระยะเวลาที่กําหนดหรือตามความเหมาะสม (4) การดูงานและศึกษาจากสถานที่จริง (5) จัดทํารายงานผลวิเคราะหความตองการและนําเสนอ 2.3 วิธีการประเมิน (1) ทดสอบยอย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ดวยขอสอบที่เนนการวัดหลักการและทฤษฎี ประเมินจากการ นําเสนอผลการคนควาขอมูล กรณีศึกษา หรือโจทยจาก Problem-based Learning (2) ประเมินผลจากผลงานที่ได รับมอบหมาย ตามหัวขอที่ กําหนด โดยอางอิงทฤษฎีในวิชาที่เกี่ยวของ
  • 4. (3) ประเมินจากการมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็นและการไดรับการยอมรับจากผูอื่นที่เกี่ยวของ 3. ทักษะทางปญญา พัฒนาความสามารถในการคิดอยางมีการคิดอยางเปนระบบ มีการวิเคราะห ประยุกตแนวคิดกับปรากการณ การพัฒนาชุมชนไดเปนอยางดี สามารถเสนอแนะวิธีการพัฒนาแกไขปญหาของการพัฒนาชุมชน 3.1 ทักษะทางปญญาที่ตองพัฒนา (1) มีความสามารถในการคิด วิเคราะหอยางมีวิจารณญาณเปนระบบ และมีตรรกะ (2) มีความสามารถในการถายทอด และแลกเปลี่ยนความรูกับผูอื่น (3) สามารถรวบรวมขอมูลศึกษาวิเคราะหประเด็นปญหาที่เกี่ยวของกับสังคมชุมชนเพื่อเสนอแนวทางแกไขได (4) สามารถประยุกตใชความรูและทักษะตามกรอบทฤษฎี แนวคิด ประสบการณและตัวอยางที่ศึกษามาทํา การแกไขปญหาไดอยางถูกตองและ 3.2 วิธีการสอน (1) การมอบหมายโจทยปญหา ใหฝกการคนหาความตองการและวิเคราะหผลความตองการ (2) จัดทํารายงานผลวิเคราะหความตองการและนําเสนอ (3) ประชุมรวมกันระหวาง อาจารยที่ปรึกษาและนักศึกษา (4) มอบหมายโจทยปญหา ดานการพัฒนาภายใตปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (5) การนําเสนอดวยการจัดทํารายงานและการนําเสนอรวมกัน 3.3 วิธีการประเมินผล ประเมินผลจากผลงานที่ไดรับมอบหมาย ตามหัวขอที่กําหนด โดยอางอิงทฤษฎีในวิชาที่เกี่ยวของและควรนํามา เปนพื้นฐานในการนามาแกปญหา ประยุกตในการใช 4. ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบที่ตองพัฒนา (1) มีความสามารถในการสื่อสารกับผูอื่นที่มีความแตกตาง และหลากหลายไดอยางเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ (2) มีความเขาใจผูอื่นและสังคมและสามารถปรับตัวใหเขากับสังคม (3) สามารถแกไขปญหาหรือความขัดแยงที่อาจเกิดขึ้นจากการทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ (4) มีจิตสาธารณะและรับผิดชอบตอตนเองและสังคม 4.2 วิธีการสอน (1) สรางกิจกรรมเพื่อใหเกิดความรูรักสามัคคี พรอมทํางานเปนทีม (2) มอบหมายงานที่ตองทางานรวมกันเปนทีม (3) มีการแบงงานกันอยางชัดเจน มอบหมายงานที่ตองพูดคุย ประชุมรวมกัน เพื่อมอบหมายงาน ติดตามงานประเมินผล
  • 5. 4.3 วิธการประเมินผล (1) ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม จากการสัมภาษณ ผูรวมงาน หรือผูเกี่ยวของ (2) ประเมินจากขอมูลที่ไดรับจากที่นักศึกษาไปสัมภาษณ (3) ประเมินจากการมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น และการไดรับการยอมรับจากเพื่อนรวมงานหรือ ผูเกี่ยวของ 5. ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลขและการใชเทคโนโลยีสารสเทศ 5.1 ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ (1) มีทักษะในการใชเครื่องมือและอุปกรณที่จําเปนตอการใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพ (2) สามารถสื่อสารแนะนําเสนอผลงานไดอยางมีประสิทธิภาพทั้งดานการพูด การเขียน ตลอดจนสามารถ เลือกใชสื่อและเครื่องมือในการนําเสนอผลงานไดอยางเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ (3) ทักษะในการใชสารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอยางเหมาะสม (4) สามารถใชขอมูลสถิติและตัวเลข ในการวิเคราะหขอมูลไดอยางเหมาะสม 5.2 วิธีการสอน (1) มอบหมายงานผานระบบเทคโนโลยี การใชทักษะดานเทคโนโลยีในการนําเสนอขอมูล (2) มอบหมายงานที่ตองมี การสื่อสารโดยใชภาษาทั้งไทยและตางประเทศ ทั้งการพูดเขียนในการประสาน การทํางาน (3) มอบหมายงานที่ตองใชเทคโนโลยี ในการแกปญหาหรือนําเสนองาน 5.3 วิธีการประเมินผล (1) ประเมินจากเอกสาร ที่นาเสนอโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศเปนสื่อ (2) ประเมินจากเอกสารที่เขียน เชน E-Mail ที่ใชสื่อสารเพื่อการทํางาน (3) ประเมินจากผลการแกปญหาวา โดยเนนความถูกตองและเหมาะสม
  • 6. 1.แผนการสอน สัปดาห์ที หัวข้อ/รายละเอียด จํานวน ชัวโมง กิจกรรมการเรียนการสอน/ สือทีใช้ ผู้สอน 1 1.ภาพรวมแนวการเรียนการสอนวิธีการเรียนการสอนและ การประเมินผลการเรียนรู้ 2.การมอบหมายงานการอธิบายถึงกระบวนการทํางาน และวิธีการประเมินผลงานทีได้รับมอบหมาย 1.1 ความหมายขององค์กรพัฒนาเอกชน (NGOs) 1) นิยามขององค์กรพัฒนาเอกชน(TermoffNGOs) 2) โครงสร้างขององค์กรพัฒนาเอกชน 1.2ภาคประชาสังคมกับองค์กรพัฒนาเอกชน 1.3ประเภทขององค์กรพัฒนาเอกชน 3 -นักศึกษาทําการศึกษาเอกสาร ประกอบการสอน -powerpoint อ.ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ 2 บทบาทขององคกรพัฒนาเอกชนตอประชาสังคม 1.เงื่อนไขแวดลอมของประชาสังคม 1.1 การเปลี่ยนแปลงการเมืองโลก 1.2 เงินทุนกับการพัฒนา 1.3 ความหมายของประชาสังคม 2. บทบาทขององคกรพัฒนาเอกชนในประชาสังคม 2.1 ประชาสังคมในกระแสโลก 2.2 การเคลื่อนไหวทางสังคมขององคกรเอกชนของ ไทย 2.3 บทบาทขององคกรพัฒนาเอกชนที่มีตอประชา สังคมในอนาคต 3 -นักศึกษาทําการศึกษาเอกสาร ประกอบการสอน -powerpoint อ.ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล
  • 7. สัปดาห์ที หัวข้อ/รายละเอียด จํานวน ชัวโมง กิจกรรมการเรียนการสอน/ สือทีใช้ ผู้สอน 3-4 1.ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กรพัฒนาเอกชน 1.1หน้าทีของคณะกรรมการ 1.2อาณัตและวิธีการทํา งาน 1.3การพิจารณาและการเลือกวิกฤติเพือการแก้ไขปัญหา 1.4องค์ประกอบของกรรมการบริหาร 1.5ระยะเวลาของกรรมการบริหาร 1.6การทําหน้าทีการดํารงตําแหน่งของกรรมการบริหาร องค์กรพัฒนาเอกชน 2.การจัดระเบียบและการวางกฎเกณฑ์ในการดําเนินงาน 2.1ชือและวัตถุประสงค์ของการจัดตังองค์กร 2.2การวางโครงเรืองต่างๆเพือการพบปะประชุมกับ ผู้เกียวข้อง 2.3อํานาจหน้าทีของคณะกรรมการสมาชิกกลุ่ม ผู้ร่วมงาน 2.4การจัดทําบันทึกรายงานการดําเนินงานด้าน การเงินหน้าทีความรับผิดชอบ 2.5ระเบียบข้อบังคับเงือนไขต่างในการแก้ไขปัญหา ทีอาจเกิดขึนและเงือนไขในการยุบเลิกองค์กรเมือเสร็จสิน ภาระกิจ 3.องค์การและลักษณะการจัดองค์การ 4.ผู้นําและภาวะผู้นําองค์กรพัฒนาเอกชน 6 -นักศึกษาทําการศึกษาเอกสาร ประกอบการสอน -powerpoint -ทดสอบย่อย อ.ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
  • 8. สัปดาห์ที หัวข้อ/รายละเอียด จํานวน ชัวโมง กิจกรรมการเรียนการสอน/ สือทีใช้ ผู้สอน 5 ระบบเครือขายทุนทางสังคมและภาคีการพัฒนาและการ พัฒนาในระดับพื้นที่ 1.องคกรระดับพื้นที่ (StreetLevelOrganization)และ บทบาทในการพัฒนาและการใหบริการ 2.บทบาทของทุนทางสังคมในการจัดการการควบคุมระบบ การดําเนินงานขององคกรพัฒนาเอกชนและหนวยงานใน ระดับพื้นที่ 2.1การเผชิญหนาและการแขงขันในปจจุบันกับคานิยมใน การพัฒนาแบบดั้งเดิม 2.2การปรับรูปแบบการจัดการไปสูรูปแบบที่เปนทางการ 2.3ระบบความเชื่อในการพัฒนากับการแขงขันในภาค องคกรพัฒนาเอกชน 2.4รูปแบบความสัมพันธระหวางการจัดการการควบคุมกับ ทุนทางสังคมและผลลัพธ -นักศึกษาทําการศึกษา เอกสารประกอบการสอน -powerpoint -ทดสอบย่อย อ.ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ 6-7 แนวทางละวิธีการแกไขปญหาชุมชนขององคกรพัฒนาเอกชน 1.การประเมินพื้นฐานความตองการจําเปนและปญหา ชุมชน 1.1แนวคิดการประเมินพื้นฐานความตองการจําเปน 1.2แนวคิดของกระบวนการวิเคราะหและประเมินความ ตองการจําเปนและปญหาของชุมชน 1.3ลีนสตารทอัพเพื่อผลกระทบทางสังคม 6 -นักศึกษาทําการศึกษา เอกสารประกอบการสอน -powerpoint -สอบกลางภาค(สัปดาห์ที7) อ.ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
  • 9. สัปดาห์ ที หัวข้อ/รายละเอียด จํานวนชัวโมง กิจกรรมการเรียนการสอน/ สือทีใช้ ผู้สอน 8-9 แนวคิดในการศึกษาชุมชนเพื่อทําความเขาใจตอ ความตองการและปญหาของชุมชน 1.วิธีการศึกษาดวยการประเมินสภาวะชนบท อยางเรงดวน(RapidRuralAppraisal:RRA) 2. การประเมินสภาวะชุมชนแบบมีสวนรวม (ParticipatoryRuralAppraisal:PRA) 6 -นักศึกษาทําการศึกษาเอกสาร ประกอบการสอน -powerpoint -ทดสอบย่อย(สัปดาห์ที9) อ.ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ 10-11 แนวคิดในการศึกษาชุมชนเพื่อทําความเขาใจตอ ความตองการและปญหาของชุมชน (ตอ) 5.การวิเคราะหระบบชนบทนิเวศนเกษตร (Agro-ecosystemAnalysis:AA) 6.การวิเคราะหชุมชนดวยความละเอียดออน (SoftSystemAnalysis:SSA) 7. เทคนิค A.I.C. (Appreciation Influence Control) 8.กระบวนการเรียนรูทางสังคม (Social LearningProcess:SLP) 6 -นักศึกษาทําการศึกษาเอกสาร ประกอบการสอน -powerpoint -ทดสอบย่อย(สัปดาห์ที11) -Workshop อ.ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ 12-13 ผูนําชุมชนลักษณะของผูนําชุมชนและภาวะผูนํา ชุมชนที่ดี 1.แนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ การขับเคลื่อนแนวคิดสูผูนําองคกรชุมชน 2.แนวคิดทฤษฎีภาวะผูนําและแนวคิดผูนํา การเปลี่ยนแปลง 6 -นักศึกษาทําการศึกษาเอกสาร ประกอบการสอน -powerpoint
  • 10. สัปดาห์ ที หัวข้อ/รายละเอียด จํานวนชัวโมง กิจกรรมการเรียนการสอน/ สือทีใช้ ผู้สอน 3.แนวคิดการพัฒนาอัตตาในระดับจิตสํานึก ดานคุณธรรมเพื่อพัฒนาภาวะผูนําชุมชน 4.องคประกอบและลักษณะของผูนําชุมชนที่ ดี 14 ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงและตัวแบบตรรกะเพื่อ การพัฒนาชุมชน 1.แนวคิดทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงเพื่อการ วางแผน 2.แนวคิดตัวแบบเชิงตรรกะในการ วางแผน 3.การผสมผสานแนวคิดเพื่อการ วางแผนพัฒนาชุมชน 4.แนวคิดการวางแผนพัฒนาชุมชนและ การประเมินผลการปฏิบัติตามแผนพัฒนา ชุมชนและผลลัพธของพัฒนาชุมชนตาม แนวทางของUNDP(UnitedNations DevelopmentProgramme) 5.กรณีตัวอยาง 3 -นักศึกษาทําการศึกษาเอกสาร ประกอบการสอน -powerpoint -บทความจากวารสารการบริหาร งานท้องถิน -Workshop
  • 11. สัปดาห์ที หัวข้อ/รายละเอียด จํานวน ชัวโมง กิจกรรมการเรียนการสอน/ สือทีใช้ ผู้สอน 15 สรุปทบทวนและแนะนําเพื่อการเตรียมตัว ประเมินผลปลายภาค 3 บรรยาย เอกสารประกอบการสอน ผลการ เรียนรู* กิจกรรมที่ 1.1, 4.1, 5.1 6, 7 วิธีการประเมิน วิเคราะหกรณีศึกษา คนควาการนําเสนอรายงานใน ประเด็นที่สนใจ การทํางานกลุมและผลงาน สัปดาหที่ ประเมิน สัดสวนของ การประเมิน 3, 5 7 9 11 16 11 - 13 10% 20% 5% 5% 30% 20% 10% 1. เอกสารและตํารา ศุภวัฒน ปภัสสรากาญจน. (2559). เอกสารประกอบการสอน. เอกสารรวบรวมเย็บเลม. องคกรพัฒนาชุมชน และการจัดการเพื่อการพัฒนาทองถิ่นและชุมชน. หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร มหาวิทยาลัยสวนดุสิต. Robert H. Chenhall..and the other. (2010). Social capital: The role of management control systems in NGOs. Research executive summary series. Chartered Institute of Management หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 2. เอกสารและขอมูลสําคัญ ศุภวัฒน ปภัสสรากาญจน.2559.การนําทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงและตัวแบบตรรกะเพื่อการปรับตัวดาน ภูมิอากาศมาใชในการพัฒนาชุมชนและทองถิ่น.วารสารการบริหารทองถิ่น.ปที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม – มีนาคม 2559. . 3. เอกสารและขอมูลแนะนํา http://www.gdrc.org/ngo/org-chart.html http://www.manager.co.th/iBizChannel/ViewNews.aspx?NewsID=9510000120884 2. แผนการประเมินผลการเรียนรู (16 สัปดาห) 1 , 2 3 4 5 8 ทดสอบยอยครั้งที่ 1, 2 สอบกลางภาค ทดสอบยอยครั้งที่ 3 ทดสอบยอยครั้งที่ 4 สอบปลายภาค 1.1, 2.1, 3.1
  • 12. หมวดที่ 7 การประเมิน และปรับ ปรุงการดําเนินการของรายวิชา 1. กลยุทธการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา การประเมินประสิทธิผลในรายวิ ชานี้ ที่จัดทาโดยนักศึกษา ไดจัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็นจาก นักศึกษาได ดังนี้ - การสนทนากลุมระหวางผูสอนและผูเรียน - แบบประเมินผูสอนและแบบประเมินรายวิชา - ขอเสนอแนะผานเวบบอรดที่อาจารยผูสอนไดจัดทําเปนชองทางการสื่อสารกับนักศึกษา 2. กลยุทธการประเมินการสอน ในการเก็บขอมูลเพื่อประเมินการสอน ไดมีกลยุทธ ดังนี้ - การสังเกตการณสอนของผูรวมทีมการสอน - ผลการเรียนของนักศึกษา - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู 3. การปรับปรุงการสอน หลังจากผลการประเมินการสอนในขอ 2 จึงมีการปรับปรุง การสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดม สมองและหาขอมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ - สัมมนาการจัดการเรียนการสอน - การวิจัยในและนอกชั้นเรียน 4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิของนักศึกษาในรายวิชา ในระหวางกระบวนการสอนรายวิชามีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวขอ ตามที่คาดหวังจากการ เรียนรูในวิชาไดจากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุมตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจาก ผลการทดสอบยอยและหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาไดดังนี้ - การทวนสอบการใหคะแนนจากการสุม ตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารยอื่นหรือผูทรงคุณวุฒิที่ไมใช อาจารยประจาหลักสูตร - มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรูของนักศึกษาโดย ตรวจสอบขอสอบ รายงานวิธีการใหคะแนนสอบและการใหคะแนนพฤติกรรม 5. การดําเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชาไดมีการวางแผนการปรับปรุงการ สอนและรายละเอียดวิชาเพื่อใหเกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ - ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ป หรือตามขอเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามขอ 4 - เปลี่ยนหรือสลับอาจารยผูสอน เพื่อใหนักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกตความรูนี้กับปญหา ที่มาจากงานวิจัยของอาจารยตาง ๆ