SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 14
Baixar para ler offline
รายละเอียดของรายวิชา
ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
หมวดที่ 1 ขอมูลทั่วไป
1. รหัสและชื่อรายวิชา
รหัสวิชา 2500114 ชื่อรายวิชา สังคมไทยรวมสมัย (Contemporary Thai Society)
2. จํานวนหนวยกิต
3 หนวยกิต 3(3-0-6)
3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
4. อาจารยผูรับผิดชอบรายวิชาและอาจารยผูสอน
4.1 อาจารยผูรับผิดชอบรายวิชาอาจารยผูสอน อ.ประภาส ทองนิล
5. ภาคการศึกษา/ชั้นปที่เรียน
เปนไปตามแผนการศึกษาของหลักสูตร
6. รายวิชาที่ตองเรียนมากอน (Pre-requisite) (ถามี)
ไมมี
7. รายวิชาที่ตองเรียนพรอมกัน (Co-requisites) (ถามี)
ไมมี
8. สถานที่เรียน
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
9. วันที่จัดทําหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งลาสุด
------------------------------------------------------
หมวดที่ 2 จุดมุงหมายและวัตถุประสงค
1. จุดมุงหมายของรายวิชา
1.1 นักศึกษามีความรับผิดชอบตอตนเอง สวนรวมและสังคมได
1.2 นักศึกษาสามารถจัดการแสดงนิทรรศการวัฒนธรรม 4 ภาคได
1.3 สามารถนําแนวคิดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันได
1.4 นักศึกษาสามารถศึกษาแหลงเรียนรูตางๆโดยใชสื่อสารสนเทศมาประยุกตใชในดําเนินชีวิตได
1.5 สามารถเขาไปศึกษาพื้นที่ชุมชนของตนเอง มีจิตสาธารณะและทํางานรวมกันในการพัฒนาชุมชน
ทองถิ่นได
2. วัตถุประสงคในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
เพื่อเปนการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนใหทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและระบบ
การศึกษาซึ่งใหสอดคลองกับนโยบายของมหาวิทยาลัยและมีการปรับสาระการเรียนรูใหทันสมัยใหมีขอมูลทาง
วิชาการที่ทันกับสถานการณทางสังคมเพื่อใหผูเรียนมุงมีแนวคิดที่เชื่อมโยงในการนําไปใชไดจริงในชีวิตประจําวัน
พรอมทั้งรูจักการสืบคนแหลงขอมูลตางๆในการนํามาใชใหเกิดประโยชนตอการเรียนและการออกไปประกอบ
อาชีพตอไป
หมวดที่ 3 ลักษณะและการดําเนินการ
1.คําอธิบายรายวิชา
สังคมไทยรวมสมัย 3 (3-0-6)
Contemporary Thai Society
ความรูความเขาใจเกี่ยวกับสังคมไทย ดานสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมือง มโนทัศนเกี่ยวกับชุมชน
การเปลี่ยนแปลง ปญหา การมีจิตสาธารณะ การดําเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและแนว
ทางการพัฒนา การปรับตัวใหสอดคลองกับสถานการณในสังคม
Uderstanding and knowledge of Thai society regarding society, cultures, economics,
politics , concepts of community, changes, problems, public mind , a living followed a
Sufficiency Economy philosophy and Development principles, well adaptation to social
situations.
2. จํานวนชั่วโมงที่ใชตอภาคการศึกษา
บรรยาย สอนเสริม ปฏิบัติ/งานภาคสนาม/
การฝกงาน
การศึกษาดวยตนเอง
45 ชั่วโมง ตามความตองการของ
นักศึกษา
ไมมี 90 ชั่วโมง
3. จํานวนชั่วโมงตอสัปดาหที่อาจารยใหคําปรึกษาและแนะนําทางวิชาการแกนักศึกษาเปนรายบุคคล 6
ชั่วโมงตอสัปดาห
หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรูของนักศึกษา
1. ดานคุณธรรมจริยธรรม
1.1 ผลการเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม
1).มีความรับผิดชอบในการการสงงานตามกําหนดเวลาและแตงกายสุภาพเรียบรอย
2)มีความตระหนักถึงคุณคาเอกลักษณทางวัฒนธรรมไทย
3)ดําเนินชีวิตบนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1.2 กลยุทธการสอนที่ใชพัฒนาการเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม
1) สอนสอดแทรกเรื่อง คุณธรรม จริยธรรมในชั้นเรียน
2) มอบหมายงานเปนรายบุคคลและรายกลุม
3) ฝกการจดบันทึกรายรับ-รายจายในชีวิตประจําวันตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม
1)การประเมินความเรียบรอยในการแตงกายการเขาเรียนและการสงงานตามเวลาที่กําหนด
2)การประเมินการจัดกิจกรรมวัฒนธรรม 4 ภาค และการทํางานรวมกัน
3)การประเมินจากงานที่ไดรับมอบหมายใหทําในชั้นเรียน
4) การสังเกตพฤติกรรมในระหวางเรียน
2. ดานความรู
2.1 ผลการเรียนรูดานความรู
2)มีความรูในการศึกษาชุมชนทองถิ่นของตนเอง และสังคมอื่นๆ
2.2 กลยุทธการสอนที่ใชพัฒนาการเรียนรูดานความรู
1)การเรียนการสอนใหผูเรียนเขาไปศึกษาเปนโครงงานจากสถานการณจริงของชุมชน โดย
การศึกษาจากผูเชี่ยวชาญและวิทยากรทองถิ่น
2) ใหศึกษาชุมชนกรณีตัวอยางที่นักศึกษาไปสืบคนมาจากแหลงเรียนรูตางๆ
3)นําเสนอผลงานอภิปรายในชั้นเรียน
2.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานความรู
1) การทดสอบยอย
2) การทดสอบกลางภาค ปลายภาค
3)การประเมินผลงานจากโครงงาน/ โครงการ
4)การประเมินผลจากการนําเสนองานในชั้นเรียน
3. ดานทักษะทางปญญา
3.1 ผลการเรียนรูดานทักษะทางปญญา
3)รูจักในการแสวงหาความรูอยางตอเนื่องในการพัฒนาตนเอง
3.2 กลยุทธการสอนที่ใชพัฒนาการเรียนรูดานทักษะทางปญญา
1) มอบหมายงานใหผูเรียนไปศึกษาคนควาตามประเด็นและนํามาศึกษาวิเคราะห
2)ศึกษากรณีตัวอยางจาก วีดีทัศน และสรุปผล
3)นําเสนอผลงานเปนกลุมในชั้นเรียน
3.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะทางปญญา
1) ประเมินผลจากผลงานการนําเสนองานในชั้นเรียน
2)การสังเกตจากการทํากิจกรรมกลุม
4. ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 ผลการเรียนรูดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ
3)ผูเรียนมีจิตอาสารับผิดชอบชุมชนทองถิ่นและสังคมสวนรวม
4)มีทักษะในการทํางานรวมกับบุคคลอื่นอยางสรางสรรค
4.2 กลยุทธการสอนที่ใชพัฒนาการเรียนรูดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความ
รับผิดชอบ
1)การเรียนการสอนผูสอนสอดแทรกใหขอคิดในการทํางานรวมกับผูอื่นอยางสรางสรรคและ
ประสบผลสําเร็จ
2)มอบหมายงานเปนกลุมโครงงานในการเขาไปศึกษาชุมชนทองถิ่นและมีสวนรวมในการพัฒนา
ชุมชนทองถิ่นนั้น
4.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ
1)ประเมินผลงานจากโครงงานเปนรายกลุม
2)สังเกตพฤติกรรมในการเขารวมกิจกรรมในโครงงาน
5.ดานทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสารและการใชเทคโนโลยี
5.1ผลการเรียนรูดานทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสารและการใชเทคโนโลยีสื่อสารสนเทศ
3)ใชสื่อเทคโนโลยีในการสืบคนขอมูลจากแหลงเรียนรูตางๆและเลือกใหขอมูลไดอยางมี
ประสิทธิภาพ
5.2กลยุทธการสอนที่ใชพัฒนาการเรียนรูดานทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช
เทคโนโลยี สื่อสารสนเทศ
1)การสอดแทรกในการเลือกใชสื่อสารสนเทศที่เหมาะสม ถูกตองและปลอดภัยในชั้นเรียน
2)มอบหมายงานเปนกลุมใหศึกษาคนควาปญหาสังคมจากสื่อสารสนเทศ
3)การทํากิจกรรม mind mapping ในชั้นเรียน
4)นําเสนอผลงานในชั้นเรียน
5.3กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช
เทคโนโลยี สื่อสารสนเทศ
1)ประเมินจากงานที่มอบหมายเปนรายกลุม
2)ประเมินการนําเสนองานในชั้นเรียน
3)การสังเกตจากการทํางานที่มอบหมายให
หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล
1. แผนการสอน
สัปดาหที่ หัวขอ/รายละเอียด จํานวน
ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียนการสอน
และสื่อที่ใช
ผูสอน
1 ปฐมนิเทศนักศึกษา
-เกณฑการใหคะแนน
-การเขียนโครงการ
-โครงการศึกษาชุมชน
3 1.แนะนําอาจารยผูสอน
2. แนะนําหนังสือเรียน เนื้อหารายวิชา
ขอบเขตทั่วไป ขอตกลงเบื้องตน
3.อธิบายงานกลุมโครงงานศึกษาชุมชน
คณาจารยผูสอน
2 ภูมิหลังของสังคมไทย
-สภาพทางภูมิศาสตร
-สภาพทางสังคมไทย
-สังคมไทยและสังคมโลก
3 1.มอบหมายงานเปนกลุมยอย
2.ระดมความคิดเห็นในชั้นเรียน
3.การนําเสนอผลงานหนาชั้น
คณาจารยผูสอน
3 -สถาบันพื้นฐานของสังคม
ครอบครัว การศึกษา ศาสนา
เศรษฐกิจ การเมืองการ
ปกครอง
3 1กิจกรรมศึกคนควาจากแหลงขอมูล
2.สืบคนขอมูลจาก websiteเพิ่มเติม
3.วิเคราะหขาวสังคมจากหนังสือพิมพ
คณาจารยผูสอน
4 -สังคมชนบทและสังคมเมือง
-การเปลี่ยนแปลงสังคมไทย
-การปรับตัวของสังคม
-ทางเลือกของสังคมไทย
3
1.สอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรมใน
กิจกรรมชั้นเรียน
2.อานทความเกี่ยวกับสังคมกับการ
เปลี่ยนแปลง
3.อภิปรายกลุมสังคมเมือง-ชนบท
4.สืบคนขอมูลจาก website
5.ครั้งที่ 1ประเมินจากงานที่มอบหมาย
ในชั้นเรียน
คณาจารยผูสอน
สัปดาหที่ หัวขอ/รายละเอียด จํานวน
ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียนการสอน
และสื่อที่ใช
ผูสอน
5 -ความหมาย ลักษณะ ประเภท
-ความสําคัญของวัฒนธรรม
และประเพณี
-วัฒนธรรมระดับชาติและระดับ
ทองถิ่น
3 1.กิจกรรมกลุมยอย
2. ใหแนวคิดทางวิชาการ
3.ผูเรียนระดมความคิด อภิปราย
และวิเคราะหงานที่ไดรับมอบหมาย
คณาจารยผูสอน
6 - คานิยมในสังคมไทยในยุคโลกา
ภิวัตน
- การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมและ
ประเพณี
3 1.สอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรมใน
เนื้อหาที่สอน
2. วีดิทัศน ๔ ภาค
3. ซักถามปญหา
คณาจารยผูสอน
-วัฒนธรรมที่ควรสงเสริมใน
สังคมไทย
4. ครั้งที่ 2 ประเมินผลจากการจัด
กิจกรรมวัฒนธรรม 4 ภาค
7 -เศรษฐกิจไทยยุคแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคม
-เศรษฐกิจสมัยเปดการคาเสรี
-เศรษฐกิจฟองสบู
3 1.สอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรม
2.อภิปรายรวมกันภายในชั้นเรียน
3.ทํากิจกรรมแบบฝกปฏิบัติ
คณาจารยผูสอน
8 -เศรษฐกิจพอเพียง
-เศรษฐกิจแนวพุทธ
-เศรษฐกิจชุมชน
-หลักการนําเศรษฐกิจมา
ประยุกตใชตามแนวพระราชดําริ
3 1.จัดกรรมกิจกลุม
2 .มอบหมายใหอานบทความที่เกี่ยวของ
3.อภิปรายหนาชั้นเรียน
คณาจารยผูสอน
9 -การเมืองการปกครอง
ความเปนรัฐและรูปแบบของรัฐ
-รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร
ไทย
3 1. ชมวีดีทัศนเหตุการณทางการเมืองการ
ปกครอง
2. อภิปรายผลจากการชมวีดีทัศน
3.แสดงความคิดเห็นเปนรายบุคคล
คณาจารยผูสอน
10 -หนาที่ของพลเมืองและการสราง
จิตอาสา
-สิทธิมนุษยชน
-การสรางจิตสํานึกดาน
ประชาธิปไตย
3
1.ใหความรูในเนื้อหาและสอดแทรกดาน
คุณธรรม จริยธรรม
2.แสดงความคิดเห็น
3.นําเสนอเพื่อแลกเปลี่ยนในชั้นเรียน
4. ครั้งที่ 3 ประเมินกิจกรรมกลุมยอย
วิเคราะหงาน
คณาจารยผูสอน
11 -ความหมาย สาเหตุของปญหา
สังคม
-หลักสําคัญในการศึกษาปญหา
สังคม
3 1.บรรยายใหแนวคิดในเนื้อหา
2.ผูสอนสนทนา ซักถามปญหา
3. แบงกลุมศึกษาปญหาวิเคราะหจากงาน
ที่มอบหมาย
4.นําเสนองานหนาชั้นเรียน
คณาจารยผูสอน
สัปดาหที่ หัวขอ/รายละเอียด จํานวน
ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียนการสอน
และสื่อที่ใช
ผูสอน
-ทฤษฎีเกี่ยวกับปญหาสังคม
12 -ปญหาสังคมไทยในปจจุบันและ
แนวทางการแกไขปญหา
ปญหายาเสพติด
ปญหาโรคเอดส
ปญหามลพิษ
ปญหาความยากจน
3 1.ศึกษากรณีตัวอยางของปญหา
2.ศึกษาสภาพปญหาดานสังคมปจจุบัน
จาก ขาว บทความ
3.แสดงความคิดเห็นรวมกันในชั้นเรียน
4.ครั้งที่4 ประเมินผลงานกิจกรรมกลุม
ยอยจากผลงาน
คณาจารยผูสอน
13 -ความหมายการพัฒนา
-แนวคิดเศรษฐกิจที่มีอิทธิพลตอ
สังคมไทย
3 1.บรรยายใหแนวคิดในเนื้อหา
2. มอบหมายใหอานขาว หรือบทความ
ตาง ๆ
คณาจารยผูสอน
- การพัฒนาและแนวคิด ทฤษฎี
ที่สําคัญ
3.ทําการอภิปรายรวมกัน
4. นําเสนอเพื่อแลกเปลี่ยนในชั้นเรียน
14 -แนวทางในการพัฒนาพึ่งพา
ตนเองแบบยั่งยืน
-การพัฒนาแนวคิดวัฒนธรรม
ชุมชน
-การพัฒนาแนวคิดศาสนา
3 1.นําเสนองานกลุมพอสังเขป
2. ซักถาม สนทนาแลกเปลี่ยนความ
คิดเห็น
3. ครั้งที่5 ประเมินจากผลงานโครงงาน
ศึกษาชุมชนและการมีสวนรวมกิจกรรม
ความรับผิดชอบ การตรงตอเวลา
คณาจารยผูสอน
15 การทวนสอบบทเรียนสาระการ
เรียนรูที่ 1 -6
3 1.การทวนสอบบทเรียน ซักถามปญหา
การแสดงความคิดเห็นรวมกันในชั้นเรียน
ในขอประเด็นสงสัย
คณาจารยผูสอน
16 สอบปลายภาค 3 ขอสอบปรนัย 80 ขอ คณาจารยผูสอน
2. แผนการประเมินผลการเรียนรู
กิจกรรมที่ ผลการ
เรียนรู
วิธีการประเมิน สัปดาหที่
ประเมิน
สัดสวนของการ
ประเมินผล
1 1.1(3) ครั้งที่ 1ประเมินจากงานที่
มอบหมายในชั้นเรียน
4 รอยละ 10
2 2.1(2) ครั้งที่ 2 ประเมินผลจากการ
จัดกิจกรรมวัฒนธรรม 4ภาค
6 รอยละ 10
3 3.1(1) ครั้งที่ 3 ประเมินกิจกรรมกลุม
ยอยวิเคราะหงาน
10 รอยละ 10
4 4.1(3) ครั้งที่4 ประเมินผลงาน
กิจกรรมกลุมยอยจากผลงาน
12 รอยละ 10
5 1.1(3)
2.1(2)
3.1(1)
ครั้งที่5 ประเมินจากผลงาน
โครงงานศึกษาชุมชนและการ
มีสวนรวมกิจกรรม ความ
รับผิดชอบ การตรงตอเวลา
14 รอยละ 20
6 ขอสอบปลายภาค ตามเกณฑมหาวิทยาลัย 16 รอยละ 40
ตารางที่ 3 เกณฑสรุปการประเมินผลการเรียน
หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
6.1.เอกสารและตําราหลัก
ชวลิต สวัสดิ์ผล และคณะ.(2555) .สังคมไทยรวมสมัย.กรุงเทพ:มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
6.2เอกสารและขอมูลสําคัญ
กนกศักดิ์ แกวเทพ. (๒๕๔๓). “การพัฒนาประเทศไทย จากแผนพัฒนาฉบับที่ ๑ – ๘ : บทวิเคราะหทาง
ยุทธศาสตร” ใน วิถีใหมแหงการพัฒนา วิธีวิทยาศึกษาสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร :
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
เกื้อ วงศบุญสิน. (๒๕๔๐). ประชากรกับการพัฒนา. พิมพครั้งที่ ๓. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย.
คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, สํานักงาน. (๒๕๔๙). สรุปวัฒนา ของแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. (Online) Available : http://www.nesdb.go.th.
คณะอนุกรรมการดําเนินงานและประสานงานวันอนุรักษมรดกไทย. แผนแมบทวันอนุรักษมรดกไทย พ.ศ.
๒๕๔๑ – ๒๕๔๔.
เกรด คะแนน เกณฑการพิจารณา
A 90-100 สงแบบฝกปฏิบัติ สงกิจกรรม สงงานศึกษาชุมชน และสอบปลายภาคได 90 -100%
B+ 85-89 สงแบบฝกปฏิบัติ สงกิจกรรม สงงานศึกษาชุมชน และสอบปลายภาคได 85 -89%
B 75-84 สงแบบฝกปฏิบัติ สงกิจกรรม สงงานศึกษาชุมชน และสอบปลายภาคได 75 -84%
C+ 70-74 สงแบบฝกปฏิบัติ สงกิจกรรม สงงานศึกษาชุมชน และสอบปลายภาคได 70 -74%
C 60-69 สงแบบฝกปฏิบัติ สงกิจกรรม สงงานศึกษาชุมชน และสอบปลายภาคได 60 - 69%
D+ 55-59 สงแบบฝกปฏิบัติ สงกิจกรรม สงงานศึกษาชุมชน และสอบปลายภาคได 55 - 59%
D 50-54 สงแบบฝกปฏิบัติ สงกิจกรรม สงงานศึกษาชุมชน และสอบปลายภาคได 50 - 54%
E 0-49 สงแบบฝกปฏิบัติ สงกิจกรรม สงงานศึกษาชุมชน และสอบปลายภาคได 0 - 49%
คณาจารย และคณะมนุษยศาสตร. (๒๕๔๘). วิถีไทย. พิมพครั้งที่ ๓. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สวนดุสิต.
จรัล พรหมอยู. (๒๕๒๓). สังคมและวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร.
จักษ พันธชูเพชร. (๒๕๔๕). การเมืองและการปกครองไทย : มิติทางประวัติศาสตร และสถาบันทาง
การเมือง. กรุงเทพมหานคร : บริษัท มายด พับลิชชิ่ง จํากัด.
จํานงค อดิวัฒนสิทธิ์ และคณะ. (๒๕๔๙). สังคมวิทยา. พิมพครั้งที่ ๑๒. กรุงเทพมหานคร :
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
ฉัตรทิพย นาถสุภา (บ.ก.). (๒๕๒๓). วิวัฒนาการทุนนิยมไทย. ฝายวิชาการ คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย และกลุมเศรษฐศึกษา คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม.
__________. (๒๕๔๕). ประวัติศาสตรเศรษฐกิจไทย. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
__________. (๒๕๔๗). วัฒนธรรมไทยกับขบวนการเปลี่ยนแปลงทางสังคม. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย.
ชวลิต พิชาลัย และ วนิดา พิชาลัย. (๒๕๔๑). เศรษฐศาสตรชาวพุทธกับการแกไขวิกฤติการณเศรษฐกิจและ
สังคมไทย. วารสารสมาคมเศรษฐศาสตรไทย.
ชัย เรืองศิลป. (๒๕๓๓). ประวัติศาสตรไทยดานเศรษฐกิจ ตั้งแตโบราณถึง พ.ศ.๒๓๙๙. กรุงเทพมหานคร :
ตนออ.
__________. (๒๕๔๙). เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ. http://www.sudyord.com/
ecommerce/king-2002/ouddy-oud/project1.html เขาถึงวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ ๒๕๔๙.
ชาติชาย ณ เชียงใหม. (๒๕๔๒). ตัวแบบการบริหารงานพัฒนาชนบทแบบองครวม. วารสารพัฒนบริหาร
ศาสตร ปที่ ๓๙ (๔). ๒ – ๓.
ไชยวัฒน เจริญสินโอฬาร. (๒๕๔๕). วาทกรรมการพัฒนา. พิมพครั้งที่ ๓. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพวิภาษ.
ณรงค เส็งประชา. (๒๕๒๓). พื้นฐานวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร.
__________. (๒๕๔๒). สังคมศาสตรเบื้องตน. นครปฐม : สถาบันราชภัฏนครปฐม.
ณัฏฐณิชชา ภูโต. (๒๕๔๕). ปญหามลพิษทางสภาวะแวดลอม. กรุงเทพมหานคร : หางหุนสวนจํากัด ฟวเจอร
เพลส แอนด กราฟฟค.
ดนัย ไชยโยธา. (๒๕๔๓). การเมืองการปกครองของไทย. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร.
__________. (๒๕๔๖). สังคมวัฒนธรรมและประเพณีไทย. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร.
ติน ปรัชญพฤทธิ์. (๒๕๔๔). การบริหารการพัฒนา ความหมาย เนื้อหา แนวทางและปญหา. พิมพครั้งที่ ๕.
กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
ตีรณ โงวศิริมณี (บ.ก.). (๒๕๒๓). เศรษฐกิจไทย : การเปลี่ยนแปลงและพัฒนา. สํานักพิมพสรางสรรค.
ทองกร ยัณรังษี. (๒๕๔๔). กรมควบคุมโรคติดตอ กระทรวงสาธารณสุข สรุปรายงานการสัมมนาระดับชาติ
เรื่องโรคเอดส ครั้งที่ ๘. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพศาสนา.
เทอดศักดิ์ ศรีสุรพล. (๒๕๓๒). ระบบเศรษฐกิจไทยและการสหกรณ. กรุงเทพมหานคร : กรมการฝกหัดครู.
ธีรศักดิ์ อัครบวร. (๒๕๔๐). ความเปนครู. ภูเก็ต : ฝายเอกสารและตํารา, สถาบันราชภัฏภูเก็ต.
นิพนธ สุขสวัสดิ์. (๒๕๒๔). วรรณคดีเกี่ยวกับขนบธรรมเนียมประเพณีไทย. พิมพครั้งที่ ๒. พิษณุโลก :
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พิษณุโลก.
บูมอรี ยีหมะ. (๒๕๕๐). ความรูเบื้องตนทางรัฐศาสตร. สงขลา : สามลดา.
ปฏิรูประบบสุขภาพแหงชาติ, สํานักงาน. (๒๕๔๙). รักพอเพื่อพอ เศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพมหานคร : วนิดา
การพิมพ.
ประเวศ วะสี. (๒๕๔๗). การพัฒนาตองเอาวัฒนธรรมเปนตัวตั้ง. กรุงเทพมหานคร : กระทรวงวัฒนธรรม.
ประเสริฐ แยมกลิ่นฟุง และคณะ. (๒๕๔๗). สังคมและวัฒนธรรม. พิมพครั้งที่ ๙. กรุงเทพมหานคร :
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
ประเสริฐ แยมกลิ่นฟุง. (๒๕๓๑). เอดส : กลุมอาการภูมิคุมกันเสื่อม. กรุงเทพมหานคร : อักษรสมัย.
__________. (๒๕๓๖). อางใน สังคมและวัฒนธรรมไทย. รศ.สุพัตรา สุภาพ. พิมพครั้งที่ ๘. กรุงเทพมหานคร
: ไทยวัฒนาพานิช.
__________. (๒๕๓๘). การศึกษาสังคมมนุษยในสังคมและวัฒนธรรม. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย.
ปรีชา เปยมพงศสานต และ กนกศักดิ์ แกวเทพ. (๒๕๔๓). “แนวคิดและความใฝฝนของ ๑๔ นักคิดอาวุโส
ไทย” ใน วิถีใหมแหงการพัฒนา : วิธีวิทยาศึกษาสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย.
ปรีชา เปยมพงศสานต. (๒๕๔๓). “วิกฤตการณแหงการพัฒนา” ใน วิถีใหมแหงการพัฒนา : วิธีวิทยาศึกษา
สังคมไทย. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
ปุระชัย เปยมสมบูรณ. (๒๕๔๕). การควบคุมอาชญากรรมจากสภาพแวดลอม : หลักทฤษฎีและมาตรการ.
พิมพครั้งที่ ๓. กรุงเทพมหานคร : บรรณกิจ.
พระเทพเทวี (ประยุทธ ปยุตฺโต). (๒๕๓๑). เศรษฐศาสตรแนวพุทธ. กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิโกมลคัมทอง.
พระเทพวิสุทธิเมธี (พุทธทาสภิกขุ). (๒๕๒๙). ธรรมสําหรับครู. พิมพครั้งที่ ๘. กรุงเทพมหานคร : สํานักงาน
คณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ.
พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตฺโต). (๒๕๔๐). พระพุทธศาสนาพัฒนาคนและสังคม. กรุงเทพมหานคร : กรมการ
ปกครอง.
__________. (๒๕๔๔). การพัฒนาที่ยั่งยืน. พิมพครั้งที่ ๘. กรุงเทพมหานคร : เรือนแกว.
__________. (๒๕๔๔). การเรียนรูที่เหมาะสมกับสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร : ภัคธรรศ.
พวงผกา ประเสริฐศิลป. (๒๕๔๑). พื้นฐานวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพมหานคร : ฝายเอกสาร และตํารา, สถาบัน
ราชภัฏสวนดุสิต.
พวงผกา ประเสริฐศิลป. (๒๕๔๔). ประเพณีไทยกับการเปลี่ยนแปลงตามกระแส วัฒนธรรมโลก. [อัดสําเนา].
ไพบูลย วัฒนศิริธรรม. ภูเขาซึ่งขวางกั้นการพัฒนาที่ยั่งยืน. มติชนรายวัน ๑๒ เมษายน ๒๕๔๙ : ๗.
ไพโรจน ภัทรนรากุล. (๒๕๔๕). ยุทธศาสตรการพัฒนาชาติตามแนวทางการพึ่งตนเอง แบบยั่งยืน : กรอบ
นโยบายและตัวแบบการจัดการ. วารสารพัฒนบริหารศาสตร. ปที่ ๔๒ (๓) : ๕๔ – ๕๗.
มยุรี พลางกูร. (๒๕๔๑). รูทันเอดส. กรุงเทพมหานคร : สภาสังคมสงเคราหในพระบรมราชูปถัมภ.
มานิตย จุมปา. (๒๕๔๘). คําอธิบายรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย. กรุงเทพมหานคร : สันนิติธรรม.
มูลนิธิโตโยตาประเทศไทย และมูลนิธิสดศรี สฤษดิ์วงศ. (๒๕๔๒). คําพอสอน : ประมวล พระบรมราโชวาท
และพระราชดํารัสเกี่ยวกับเด็กและเยาวชน. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพกรุงเทพ.
ยุกติ มุกดาวิจิตร. (๒๕๔๘). อาน ‘วัฒนาธรรมชุมชน’ : วาทศิลป และการเมืองของชาติพันธุนิพนธแนว
วัฒนธรรมชุมชน. กรุงเทพมหานคร : ฟาเดียวกัน.
ยุค ศรีอาริยะ. (๒๕๔๑). มายาโลกาภิวัตน : สงครามเศรษฐกิจยุคโลกไรพรมแดน. กรุงเทพมหานคร : โรง
พิมพกรุงเทพ.
รังสรรค ธนพรพันธุ. (๒๕๓๒). กระบวนการกําหนดนโยบายเศรษฐกิจในประเทศไทย : บทวิเคราะหเชิง
ประวัติศาสตรเศรษฐกิจการเมือง พ.ศ.๒๔๗๕ – ๒๕๓๐. กรุงเทพมหานคร : สมาคม
สังคมศาสตร.
__________. ระบบเศรษฐกิจไทย : วิกฤตการณแหงโครงสรางและวิกฤตการณแหงเสนทางการพัฒนา
เศรษฐกิจ. วารสารธรรมศาสตร ปที่ ๙ เลมที่ ๓ มกราคม – มีนาคม ๒๕๒๓.
รัชนีกร เศรษโฐ. (๒๕๒๘). สังคมวิทยาชนบท. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช.
ลือชัย จุลาสัย และ มิ่งสรรพ สันตกาญจน (บ.ก.). (๒๕๔๒). เศรษฐกิจไทย : อดีต และอนาคต. ภาควิชา
เศรษฐศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม.
วรวุฒิ โรมรัตนพันธ. (๒๕๔๘). ทุนทางสังคม. กรุงเทพมหานคร : เดือนตุลา.
วันรักษ มิ่งมณีนาคิน. (๒๕๔๕). เศรษฐศาสตรไมยากอยางที่คิด. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.
วารี อําไพรวรรณ. (๒๕๓๙). พระราชประวัติ พระมหากษัตริยไทยและพระบรมราชินี แหงราชวงศจักรี.
กรุงเทพมหานคร : ภัทรินทร.
วิชิต นันทสุวรรณ. (๒๕๔๔). แผนแมบทการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน.ในวิสาหกิจชุมชน แผนแมบท แนวคิด
แนวทาง ตัวอยางรางพระราชบัญญัติ เสรี พงษพิศ วิชิต นันทสุวรรณ และ จํานง แรกพินิจ.
กรุงเทพมหานคร : ภูมิปญญาไทย.
วิชิตวงศ ณ ปอมเพชร. (๒๕๔๖). นักเศรษฐศาสตรรางวัลโนเบล. กรุงเทพมหานคร : แสงดาว.
วิทยากร เชียงกูล. (๒๕๔๘). เศรษฐกิจไทยปญหาและทางแก. กรุงเทพมหานคร : สายธาร.
ศุภชัย เจริญวงศ. (๒๕๔๔). ถอดรหัสการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร : เดือนตุลา.
ศูนยเวชศึกษาปองกัน. (๒๕๔๑). โรคเอดสกับการใหความชวยเหลือ. กรุงเทพมหานคร : สถาบันราชภัฏเทพ
สตรี.
สถาบันราชภัฏสวนดุสิต. (๒๕๔๓). วิถีไทย. กรุงเทพมหานคร : เธิรดเวฟเอ็ดดูเคชั่น.
สนธิ เตชานันท. (๒๕๔๓). พื้นฐานรัฐศาสตร. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
สมชัย ใจดี และ ยรรยง ศรีวิริยาภรณ. (๒๕๔๐). ประเพณีและวัฒนธรรมไทย. พิมพครั้งที่ ๑๐.
กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช.
สมชาย กษิติประดิษฐ. (๒๕๔๗). สิทธิมนุษยชน. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพมหาวิทยาลัยรามคําแหง.
สมปราชญ อัมมะพันธุ. (๒๕๓๖). ประเพณีและพิธีกรรมในวรรณคดีไทย. กรุงเทพมหานคร : โอ. เอส. พริ้นติ้ง
เฮาส.
สมพร เทพสิทธา. (๒๕๔๘). เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ. กรุงเทพมหานคร : กองทุนอริยมรรค.
__________. (๒๕๕๐). ความเห็นและขอเสนอแนะเกี่ยวกับการอนุรักษและสงเสริมวัฒนธรรม. [อัดสําเนา].
สังคีต พิริยะรังสรรค และ ผาสุก พงษไพจิตร. (๒๕๓๘). โลกาภิวัตนกับสังคมเศรษฐกิจไทย. กรุงเทพมหานคร
: ๑๗๙ การพิมพ.
สัญญา สัญญาวิวัฒน. (๒๕๓๘). ปญหาสังคมในสังคมและวัฒนธรรม. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย.
__________. (๒๕๔๒). สังคมวิทยาปญหาสังคม. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. (๒๕๔๗). ๒ ป แหงการเปลี่ยนแปลงการ
พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม. กรุงเทพมหานคร : เพชรรุงการพิมพ.
สํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ. (๒๕๒๙). นโยบายวัฒนธรรมแหงชาติและแนวทางในการรักษา
สงเสริมและพัฒนาวัฒนธรรมพุทธศักราช ๒๕๒๙. กรุงเทพมหานคร : คุรุสภา.
สุธี ประศาสนเศรษฐ. (๒๕๒๓). วิวัฒนาการเศรษฐกิจไทย. ไทยศึกษา (หนวยที่ ๓),
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สุพัตรา สุภาพ. (๒๕๓๘). ปญหาสังคม. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช.
__________. (๒๕๔๕). ปญหาสังคม. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช.
สุภางค จันทวานิช และ วรรณี ไทยานันท. (๒๕๓๙). แนวคิดและเครื่องชี้วัดการพัฒนาสังคมและคุณภาพ
ชีวิตของประเทศไทย. อนุชาติ พวงสําลี และ อรทัย อาจอ่ํา (บรรณาธิการ). กรุงเทพมหานคร :
สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
สุภางค จันทวานิช และ วิศนี ศีลตระกูล. (๒๕๓๙). “การพัฒนาแนวคิดและเครื่องชี้วัดสังคม และคุณภาพชีวิต
ในตางประเทศ” ใน การพัฒนาเครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตและสังคมไทย. อนุชาติ พวงสําลี และ
อรทัย อาจอํา (บรรณาธิการ). กรุงเทพมหานคร : สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
สุภาพรรณ ณ บางชาง. (๒๕๓๕). ขนบธรรมเนียมประเพณี : ความเชื่อ และแนวทางปฏิบัติในสมัยสุโขทัยถึง
สมัยอยุธยาตอนกลาง. กรุงเทพมหานคร : สถาบันไทยศึกษา, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
สุเมธ ตันติเวชกุล. (๒๕๔๙). ขาแผนดินสอนลูก. กรุงเทพมหานคร : มติชน.
สุริชัย หวันแกว. (๒๕๓๙). ศัพทการพัฒนา : คูมือความรูสูอํานาจ. กรุงเทพมหานคร : สถาบันวิจัยสังคม
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
สุวรรณา สถาอานันท และ เนื่องนอย บุณยเนตร. (๒๕๔๒). คํา : รองรอยความคิดความเชื่อไทย. พิมพครั้งที่
๓. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
เสนห จามริก. (๒๕๔๒). สังคมไทยกับการพัฒนาที่กอปญหา. พิมพครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร : คบไฟ.
เสาวภา ไพทยวัฒน. (๒๕๓๘). พื้นฐานวัฒนธรรมไทย : แนวทางอนุรักษและการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร :
กรมศาสนา.
โสภา ชปลมันน และคณะ. (๒๕๓๓). การศึกษาการแพรระบาดการติดสารเสพติดในเด็กและเยาวชนยาน
ชุมชนแออัด ศึกษาเฉพาะกรณีในเขตกรุงเทพ. กรุงเทพมหานคร : สภาสังคมสงเคราะหแหง
ประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ.
อนุมานราชธน ศ. พระ. (๒๕๑๔). วัฒนธรรมและประเพณีตาง ๆ ของไทย. พระนคร : คลังวิทยา.
อมรา พงศาพัชญ. (๒๕๔๕). ความหลากหลายทางวัฒนธรรม. พิมพครั้งที่ ๓. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย.
อานันท กาญจนพันธุ. (๒๕๔๔). มิติชุมชน วิธีคิดวาดวยสิทธิ อํานาจ และการจัดการทรัพยากร.
กรุงเทพมหานคร : สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
อุทัย ดุลยเกษม, ดร. (๒๕๔๕). สังคมศาสตรเพื่อการพัฒนา : แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยและการพัฒนา. สุเทพ
บุญซอน (บรรณาธิการ). บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันราชภัฏเพชรบุรีวิทยาลงกรณ ในพระบรม
ราชูปถัมภ.
Anderson Barry. (๑๙๗๕). Cognitive Psychology. The study of knowing, learning, and Thinking.
New York : Academic Press.
Collins Cobuild. Dictionary English Language. London : Collins Sons and Co., Ltd.
Mulder, Niels. (๑๙๙๒). Inside Thai Society. Bangkok : Duang Kamol.
Segaller, Denis. (๑๙๙๘). More Thai Ways. Bangkok : Post Books.
Th.wikipedia.og.
Wongtes, Sujit. (๒๐๐๐). The Thai People and Culture. Bangkok : The Public relations
Department.
www.geocities.com, ๔ พฤษภาคม ๒๕๕๑.
www.parliament.go.th, ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๑.
website
www.culture.go.th
www.tat.or.th/festival
www.thaigoodview.com
www.rakbankerd.com
www.societythai.com
www.nfe.go.th
www.nidambe11.net
www.shool.net.th
หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
1. กลยุทธการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในชั้นเรียนสื่อการสอน
และผลการเรียนรูที่ไดรับ ตลอดจนเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ดวยระบบคอมพิวเตอรของมหาวิทยาลัย
2. กลยุทธการประเมินการสอน
การเก็บขอมูลเพื่อการประเมินการสอน ไดแก จากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรูของนักศึกษาและการ
ทดสอบผลประเมินการเรียนรู
3. การปรับปรุงการสอน
ผูประสานงานรายวิชา และคณาจารยผูสอนรวมกันระดมสมองกําหนดกลยุทธวิธีการสอน
จากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา สรุปภาพรวมปญหา และอุปสรรคจากมคอ. 5 เพื่อหาแนวทางใน
การแกปญหารวมกัน
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
ผูประสานงานรายวิชาสังคมไทยรวมสมัยและคณาจารยผูสอนมีการจัดการประชุมรวมกันทวนสอบ
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชาโดยการสุมประเมินขอสอบและความเหมาะสมของการใหคะแนน ทั้งคะแนน
ดิบและระดับคะแนนของรายวิชา
5. การดําเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
- สรุปการดําเนินงานในรายวิชาในภาคการศึกษา 2/2557 สงคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร
- ผูประสานงานรายวิชาสังคมไทยรวมสมัยจัดประชุมคณาจารยผูสอนกอนเปดภาคเรียน เพื่อใหการ
จัดการเรียนการสอนเปนไปในทิศทางที่เหมาะสม
- กําหนดกลยุทธในการทําโครงงาน ซึ่งในภาคการศึกษา 2/2557 คณาจารยและนักศึกษาไดรวมทํา
โครงงานศึกษาชุมชนในมิติตางๆ เสร็จสิ้นแลว และจะดําเนินโครงงานตอเนื่องในภาคการศึกษา 2/2557
- ผลิตสื่อการสอนเพื่อเปนทรัพยากรรวมในการจัดการเรียนการสอน
- แจกแนวทางการปฏิบัติงานในรายวิชาสังคมไทยรวมสมัยใหอาจารยผูสอนแตละตอนเรียน

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)พัน พัน
 
คำทับศัพท์
คำทับศัพท์คำทับศัพท์
คำทับศัพท์phornphan1111
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศsutima piboon
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์niralai
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารWilawun Wisanuvekin
 
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาSophinyaDara
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
ลักษณะรูปเรขาคณิต
ลักษณะรูปเรขาคณิตลักษณะรูปเรขาคณิต
ลักษณะรูปเรขาคณิตkhanida
 
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์Kruorawan Kongpila
 
บทความ วิเคราะห์ เพลง
บทความ   วิเคราะห์ เพลงบทความ   วิเคราะห์ เพลง
บทความ วิเคราะห์ เพลงNiran Dankasai
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยYim Wiphawan
 
นิราศภูเขาทองม.๑
นิราศภูเขาทองม.๑นิราศภูเขาทองม.๑
นิราศภูเขาทองม.๑Kornnicha Wonglai
 
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาส
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาสชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาส
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาสChu Ching
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
โครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีโครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีNuchy Geez
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีMilky' __
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 

Mais procurados (20)

การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
 
คำทับศัพท์
คำทับศัพท์คำทับศัพท์
คำทับศัพท์
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
 
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
ลักษณะรูปเรขาคณิต
ลักษณะรูปเรขาคณิตลักษณะรูปเรขาคณิต
ลักษณะรูปเรขาคณิต
 
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
 
บทความ วิเคราะห์ เพลง
บทความ   วิเคราะห์ เพลงบทความ   วิเคราะห์ เพลง
บทความ วิเคราะห์ เพลง
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
 
นิราศภูเขาทองม.๑
นิราศภูเขาทองม.๑นิราศภูเขาทองม.๑
นิราศภูเขาทองม.๑
 
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาส
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาสชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาส
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาส
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
โครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีโครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏี
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 

Semelhante a มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์mina612
 
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์ไชยยา มะณี
 
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนมคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
มคอ.3 il156
มคอ.3 il156มคอ.3 il156
มคอ.3 il156Ajnawa Sing
 
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...khon Kaen University
 
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4dechathon
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4dechathon
 
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)etcenterrbru
 
Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel. [NEC...
Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel. [NEC...Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel. [NEC...
Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel. [NEC...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Thanyaret Kongraj
 
โครงร่างงานวิจัย 59
โครงร่างงานวิจัย 59โครงร่างงานวิจัย 59
โครงร่างงานวิจัย 59Khemjira_P
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1Thanyalux Kanthong
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1Thanyalux Kanthong
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1Thanyalux Kanthong
 
2560 project .pdf พิจิตรา สิทธิคำ
2560 project .pdf พิจิตรา สิทธิคำ2560 project .pdf พิจิตรา สิทธิคำ
2560 project .pdf พิจิตรา สิทธิคำcharintip0204
 

Semelhante a มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย (20)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
 
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนมคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
 
มคอ.3 il156
มคอ.3 il156มคอ.3 il156
มคอ.3 il156
 
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
 
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ.3 2/2557
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ.3 2/2557ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ.3 2/2557
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ.3 2/2557
 
Test58
Test58Test58
Test58
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
 
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel. [NEC...
Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel. [NEC...Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel. [NEC...
Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel. [NEC...
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างงานวิจัย 59
โครงร่างงานวิจัย 59โครงร่างงานวิจัย 59
โครงร่างงานวิจัย 59
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
2560 project .pdf พิจิตรา สิทธิคำ
2560 project .pdf พิจิตรา สิทธิคำ2560 project .pdf พิจิตรา สิทธิคำ
2560 project .pdf พิจิตรา สิทธิคำ
 

Mais de ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์

ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 

Mais de ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ (20)

ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
 
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
 
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
 
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการองค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
 
Microsoft word สารบัญ
Microsoft word   สารบัญMicrosoft word   สารบัญ
Microsoft word สารบัญ
 
Microsoft word สัปดาห์ที่15
Microsoft word   สัปดาห์ที่15Microsoft word   สัปดาห์ที่15
Microsoft word สัปดาห์ที่15
 
Microsoft word สัปดาห์ที่14
Microsoft word   สัปดาห์ที่14Microsoft word   สัปดาห์ที่14
Microsoft word สัปดาห์ที่14
 
Microsoft word สัปดาห์ที่13
Microsoft word   สัปดาห์ที่13Microsoft word   สัปดาห์ที่13
Microsoft word สัปดาห์ที่13
 
Microsoft word สัปดาห์ที่12
Microsoft word   สัปดาห์ที่12Microsoft word   สัปดาห์ที่12
Microsoft word สัปดาห์ที่12
 
Microsoft word สัปดาห์ที่10
Microsoft word   สัปดาห์ที่10Microsoft word   สัปดาห์ที่10
Microsoft word สัปดาห์ที่10
 
Microsoft word สัปดาห์ที่8
Microsoft word   สัปดาห์ที่8Microsoft word   สัปดาห์ที่8
Microsoft word สัปดาห์ที่8
 
Microsoft word สัปดาห์ที่6
Microsoft word   สัปดาห์ที่6Microsoft word   สัปดาห์ที่6
Microsoft word สัปดาห์ที่6
 
Microsoft word สัปดาห์ที่1
Microsoft word   สัปดาห์ที่1Microsoft word   สัปดาห์ที่1
Microsoft word สัปดาห์ที่1
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 11
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 11Microsoft word   สัปดาห์ที่ 11
Microsoft word สัปดาห์ที่ 11
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 9
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 9Microsoft word   สัปดาห์ที่ 9
Microsoft word สัปดาห์ที่ 9
 

มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย

  • 1. รายละเอียดของรายวิชา ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต หมวดที่ 1 ขอมูลทั่วไป 1. รหัสและชื่อรายวิชา รหัสวิชา 2500114 ชื่อรายวิชา สังคมไทยรวมสมัย (Contemporary Thai Society) 2. จํานวนหนวยกิต 3 หนวยกิต 3(3-0-6) 3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 4. อาจารยผูรับผิดชอบรายวิชาและอาจารยผูสอน 4.1 อาจารยผูรับผิดชอบรายวิชาอาจารยผูสอน อ.ประภาส ทองนิล 5. ภาคการศึกษา/ชั้นปที่เรียน เปนไปตามแผนการศึกษาของหลักสูตร 6. รายวิชาที่ตองเรียนมากอน (Pre-requisite) (ถามี) ไมมี 7. รายวิชาที่ตองเรียนพรอมกัน (Co-requisites) (ถามี) ไมมี 8. สถานที่เรียน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต 9. วันที่จัดทําหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งลาสุด ------------------------------------------------------ หมวดที่ 2 จุดมุงหมายและวัตถุประสงค 1. จุดมุงหมายของรายวิชา 1.1 นักศึกษามีความรับผิดชอบตอตนเอง สวนรวมและสังคมได 1.2 นักศึกษาสามารถจัดการแสดงนิทรรศการวัฒนธรรม 4 ภาคได 1.3 สามารถนําแนวคิดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันได 1.4 นักศึกษาสามารถศึกษาแหลงเรียนรูตางๆโดยใชสื่อสารสนเทศมาประยุกตใชในดําเนินชีวิตได 1.5 สามารถเขาไปศึกษาพื้นที่ชุมชนของตนเอง มีจิตสาธารณะและทํางานรวมกันในการพัฒนาชุมชน ทองถิ่นได
  • 2. 2. วัตถุประสงคในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา เพื่อเปนการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนใหทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและระบบ การศึกษาซึ่งใหสอดคลองกับนโยบายของมหาวิทยาลัยและมีการปรับสาระการเรียนรูใหทันสมัยใหมีขอมูลทาง วิชาการที่ทันกับสถานการณทางสังคมเพื่อใหผูเรียนมุงมีแนวคิดที่เชื่อมโยงในการนําไปใชไดจริงในชีวิตประจําวัน พรอมทั้งรูจักการสืบคนแหลงขอมูลตางๆในการนํามาใชใหเกิดประโยชนตอการเรียนและการออกไปประกอบ อาชีพตอไป หมวดที่ 3 ลักษณะและการดําเนินการ 1.คําอธิบายรายวิชา สังคมไทยรวมสมัย 3 (3-0-6) Contemporary Thai Society ความรูความเขาใจเกี่ยวกับสังคมไทย ดานสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมือง มโนทัศนเกี่ยวกับชุมชน การเปลี่ยนแปลง ปญหา การมีจิตสาธารณะ การดําเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและแนว ทางการพัฒนา การปรับตัวใหสอดคลองกับสถานการณในสังคม Uderstanding and knowledge of Thai society regarding society, cultures, economics, politics , concepts of community, changes, problems, public mind , a living followed a Sufficiency Economy philosophy and Development principles, well adaptation to social situations. 2. จํานวนชั่วโมงที่ใชตอภาคการศึกษา บรรยาย สอนเสริม ปฏิบัติ/งานภาคสนาม/ การฝกงาน การศึกษาดวยตนเอง 45 ชั่วโมง ตามความตองการของ นักศึกษา ไมมี 90 ชั่วโมง 3. จํานวนชั่วโมงตอสัปดาหที่อาจารยใหคําปรึกษาและแนะนําทางวิชาการแกนักศึกษาเปนรายบุคคล 6 ชั่วโมงตอสัปดาห
  • 3. หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรูของนักศึกษา 1. ดานคุณธรรมจริยธรรม 1.1 ผลการเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม 1).มีความรับผิดชอบในการการสงงานตามกําหนดเวลาและแตงกายสุภาพเรียบรอย 2)มีความตระหนักถึงคุณคาเอกลักษณทางวัฒนธรรมไทย 3)ดําเนินชีวิตบนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 1.2 กลยุทธการสอนที่ใชพัฒนาการเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม 1) สอนสอดแทรกเรื่อง คุณธรรม จริยธรรมในชั้นเรียน 2) มอบหมายงานเปนรายบุคคลและรายกลุม 3) ฝกการจดบันทึกรายรับ-รายจายในชีวิตประจําวันตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 1.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม 1)การประเมินความเรียบรอยในการแตงกายการเขาเรียนและการสงงานตามเวลาที่กําหนด 2)การประเมินการจัดกิจกรรมวัฒนธรรม 4 ภาค และการทํางานรวมกัน 3)การประเมินจากงานที่ไดรับมอบหมายใหทําในชั้นเรียน 4) การสังเกตพฤติกรรมในระหวางเรียน 2. ดานความรู 2.1 ผลการเรียนรูดานความรู 2)มีความรูในการศึกษาชุมชนทองถิ่นของตนเอง และสังคมอื่นๆ 2.2 กลยุทธการสอนที่ใชพัฒนาการเรียนรูดานความรู 1)การเรียนการสอนใหผูเรียนเขาไปศึกษาเปนโครงงานจากสถานการณจริงของชุมชน โดย การศึกษาจากผูเชี่ยวชาญและวิทยากรทองถิ่น 2) ใหศึกษาชุมชนกรณีตัวอยางที่นักศึกษาไปสืบคนมาจากแหลงเรียนรูตางๆ 3)นําเสนอผลงานอภิปรายในชั้นเรียน 2.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานความรู 1) การทดสอบยอย 2) การทดสอบกลางภาค ปลายภาค 3)การประเมินผลงานจากโครงงาน/ โครงการ 4)การประเมินผลจากการนําเสนองานในชั้นเรียน 3. ดานทักษะทางปญญา 3.1 ผลการเรียนรูดานทักษะทางปญญา 3)รูจักในการแสวงหาความรูอยางตอเนื่องในการพัฒนาตนเอง 3.2 กลยุทธการสอนที่ใชพัฒนาการเรียนรูดานทักษะทางปญญา 1) มอบหมายงานใหผูเรียนไปศึกษาคนควาตามประเด็นและนํามาศึกษาวิเคราะห 2)ศึกษากรณีตัวอยางจาก วีดีทัศน และสรุปผล
  • 4. 3)นําเสนอผลงานเปนกลุมในชั้นเรียน 3.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะทางปญญา 1) ประเมินผลจากผลงานการนําเสนองานในชั้นเรียน 2)การสังเกตจากการทํากิจกรรมกลุม 4. ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 ผลการเรียนรูดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ 3)ผูเรียนมีจิตอาสารับผิดชอบชุมชนทองถิ่นและสังคมสวนรวม 4)มีทักษะในการทํางานรวมกับบุคคลอื่นอยางสรางสรรค 4.2 กลยุทธการสอนที่ใชพัฒนาการเรียนรูดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความ รับผิดชอบ 1)การเรียนการสอนผูสอนสอดแทรกใหขอคิดในการทํางานรวมกับผูอื่นอยางสรางสรรคและ ประสบผลสําเร็จ 2)มอบหมายงานเปนกลุมโครงงานในการเขาไปศึกษาชุมชนทองถิ่นและมีสวนรวมในการพัฒนา ชุมชนทองถิ่นนั้น 4.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ 1)ประเมินผลงานจากโครงงานเปนรายกลุม 2)สังเกตพฤติกรรมในการเขารวมกิจกรรมในโครงงาน 5.ดานทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสารและการใชเทคโนโลยี 5.1ผลการเรียนรูดานทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสารและการใชเทคโนโลยีสื่อสารสนเทศ 3)ใชสื่อเทคโนโลยีในการสืบคนขอมูลจากแหลงเรียนรูตางๆและเลือกใหขอมูลไดอยางมี ประสิทธิภาพ 5.2กลยุทธการสอนที่ใชพัฒนาการเรียนรูดานทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช เทคโนโลยี สื่อสารสนเทศ 1)การสอดแทรกในการเลือกใชสื่อสารสนเทศที่เหมาะสม ถูกตองและปลอดภัยในชั้นเรียน 2)มอบหมายงานเปนกลุมใหศึกษาคนควาปญหาสังคมจากสื่อสารสนเทศ 3)การทํากิจกรรม mind mapping ในชั้นเรียน 4)นําเสนอผลงานในชั้นเรียน 5.3กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช เทคโนโลยี สื่อสารสนเทศ 1)ประเมินจากงานที่มอบหมายเปนรายกลุม 2)ประเมินการนําเสนองานในชั้นเรียน 3)การสังเกตจากการทํางานที่มอบหมายให
  • 5. หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล 1. แผนการสอน สัปดาหที่ หัวขอ/รายละเอียด จํานวน ชั่วโมง กิจกรรมการเรียนการสอน และสื่อที่ใช ผูสอน 1 ปฐมนิเทศนักศึกษา -เกณฑการใหคะแนน -การเขียนโครงการ -โครงการศึกษาชุมชน 3 1.แนะนําอาจารยผูสอน 2. แนะนําหนังสือเรียน เนื้อหารายวิชา ขอบเขตทั่วไป ขอตกลงเบื้องตน 3.อธิบายงานกลุมโครงงานศึกษาชุมชน คณาจารยผูสอน 2 ภูมิหลังของสังคมไทย -สภาพทางภูมิศาสตร -สภาพทางสังคมไทย -สังคมไทยและสังคมโลก 3 1.มอบหมายงานเปนกลุมยอย 2.ระดมความคิดเห็นในชั้นเรียน 3.การนําเสนอผลงานหนาชั้น คณาจารยผูสอน 3 -สถาบันพื้นฐานของสังคม ครอบครัว การศึกษา ศาสนา เศรษฐกิจ การเมืองการ ปกครอง 3 1กิจกรรมศึกคนควาจากแหลงขอมูล 2.สืบคนขอมูลจาก websiteเพิ่มเติม 3.วิเคราะหขาวสังคมจากหนังสือพิมพ คณาจารยผูสอน 4 -สังคมชนบทและสังคมเมือง -การเปลี่ยนแปลงสังคมไทย -การปรับตัวของสังคม -ทางเลือกของสังคมไทย 3 1.สอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรมใน กิจกรรมชั้นเรียน 2.อานทความเกี่ยวกับสังคมกับการ เปลี่ยนแปลง 3.อภิปรายกลุมสังคมเมือง-ชนบท 4.สืบคนขอมูลจาก website 5.ครั้งที่ 1ประเมินจากงานที่มอบหมาย ในชั้นเรียน คณาจารยผูสอน สัปดาหที่ หัวขอ/รายละเอียด จํานวน ชั่วโมง กิจกรรมการเรียนการสอน และสื่อที่ใช ผูสอน 5 -ความหมาย ลักษณะ ประเภท -ความสําคัญของวัฒนธรรม และประเพณี -วัฒนธรรมระดับชาติและระดับ ทองถิ่น 3 1.กิจกรรมกลุมยอย 2. ใหแนวคิดทางวิชาการ 3.ผูเรียนระดมความคิด อภิปราย และวิเคราะหงานที่ไดรับมอบหมาย คณาจารยผูสอน 6 - คานิยมในสังคมไทยในยุคโลกา ภิวัตน - การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมและ ประเพณี 3 1.สอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรมใน เนื้อหาที่สอน 2. วีดิทัศน ๔ ภาค 3. ซักถามปญหา คณาจารยผูสอน
  • 6. -วัฒนธรรมที่ควรสงเสริมใน สังคมไทย 4. ครั้งที่ 2 ประเมินผลจากการจัด กิจกรรมวัฒนธรรม 4 ภาค 7 -เศรษฐกิจไทยยุคแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคม -เศรษฐกิจสมัยเปดการคาเสรี -เศรษฐกิจฟองสบู 3 1.สอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรม 2.อภิปรายรวมกันภายในชั้นเรียน 3.ทํากิจกรรมแบบฝกปฏิบัติ คณาจารยผูสอน 8 -เศรษฐกิจพอเพียง -เศรษฐกิจแนวพุทธ -เศรษฐกิจชุมชน -หลักการนําเศรษฐกิจมา ประยุกตใชตามแนวพระราชดําริ 3 1.จัดกรรมกิจกลุม 2 .มอบหมายใหอานบทความที่เกี่ยวของ 3.อภิปรายหนาชั้นเรียน คณาจารยผูสอน 9 -การเมืองการปกครอง ความเปนรัฐและรูปแบบของรัฐ -รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร ไทย 3 1. ชมวีดีทัศนเหตุการณทางการเมืองการ ปกครอง 2. อภิปรายผลจากการชมวีดีทัศน 3.แสดงความคิดเห็นเปนรายบุคคล คณาจารยผูสอน 10 -หนาที่ของพลเมืองและการสราง จิตอาสา -สิทธิมนุษยชน -การสรางจิตสํานึกดาน ประชาธิปไตย 3 1.ใหความรูในเนื้อหาและสอดแทรกดาน คุณธรรม จริยธรรม 2.แสดงความคิดเห็น 3.นําเสนอเพื่อแลกเปลี่ยนในชั้นเรียน 4. ครั้งที่ 3 ประเมินกิจกรรมกลุมยอย วิเคราะหงาน คณาจารยผูสอน 11 -ความหมาย สาเหตุของปญหา สังคม -หลักสําคัญในการศึกษาปญหา สังคม 3 1.บรรยายใหแนวคิดในเนื้อหา 2.ผูสอนสนทนา ซักถามปญหา 3. แบงกลุมศึกษาปญหาวิเคราะหจากงาน ที่มอบหมาย 4.นําเสนองานหนาชั้นเรียน คณาจารยผูสอน สัปดาหที่ หัวขอ/รายละเอียด จํานวน ชั่วโมง กิจกรรมการเรียนการสอน และสื่อที่ใช ผูสอน -ทฤษฎีเกี่ยวกับปญหาสังคม 12 -ปญหาสังคมไทยในปจจุบันและ แนวทางการแกไขปญหา ปญหายาเสพติด ปญหาโรคเอดส ปญหามลพิษ ปญหาความยากจน 3 1.ศึกษากรณีตัวอยางของปญหา 2.ศึกษาสภาพปญหาดานสังคมปจจุบัน จาก ขาว บทความ 3.แสดงความคิดเห็นรวมกันในชั้นเรียน 4.ครั้งที่4 ประเมินผลงานกิจกรรมกลุม ยอยจากผลงาน คณาจารยผูสอน 13 -ความหมายการพัฒนา -แนวคิดเศรษฐกิจที่มีอิทธิพลตอ สังคมไทย 3 1.บรรยายใหแนวคิดในเนื้อหา 2. มอบหมายใหอานขาว หรือบทความ ตาง ๆ คณาจารยผูสอน
  • 7. - การพัฒนาและแนวคิด ทฤษฎี ที่สําคัญ 3.ทําการอภิปรายรวมกัน 4. นําเสนอเพื่อแลกเปลี่ยนในชั้นเรียน 14 -แนวทางในการพัฒนาพึ่งพา ตนเองแบบยั่งยืน -การพัฒนาแนวคิดวัฒนธรรม ชุมชน -การพัฒนาแนวคิดศาสนา 3 1.นําเสนองานกลุมพอสังเขป 2. ซักถาม สนทนาแลกเปลี่ยนความ คิดเห็น 3. ครั้งที่5 ประเมินจากผลงานโครงงาน ศึกษาชุมชนและการมีสวนรวมกิจกรรม ความรับผิดชอบ การตรงตอเวลา คณาจารยผูสอน 15 การทวนสอบบทเรียนสาระการ เรียนรูที่ 1 -6 3 1.การทวนสอบบทเรียน ซักถามปญหา การแสดงความคิดเห็นรวมกันในชั้นเรียน ในขอประเด็นสงสัย คณาจารยผูสอน 16 สอบปลายภาค 3 ขอสอบปรนัย 80 ขอ คณาจารยผูสอน 2. แผนการประเมินผลการเรียนรู กิจกรรมที่ ผลการ เรียนรู วิธีการประเมิน สัปดาหที่ ประเมิน สัดสวนของการ ประเมินผล 1 1.1(3) ครั้งที่ 1ประเมินจากงานที่ มอบหมายในชั้นเรียน 4 รอยละ 10 2 2.1(2) ครั้งที่ 2 ประเมินผลจากการ จัดกิจกรรมวัฒนธรรม 4ภาค 6 รอยละ 10 3 3.1(1) ครั้งที่ 3 ประเมินกิจกรรมกลุม ยอยวิเคราะหงาน 10 รอยละ 10 4 4.1(3) ครั้งที่4 ประเมินผลงาน กิจกรรมกลุมยอยจากผลงาน 12 รอยละ 10 5 1.1(3) 2.1(2) 3.1(1) ครั้งที่5 ประเมินจากผลงาน โครงงานศึกษาชุมชนและการ มีสวนรวมกิจกรรม ความ รับผิดชอบ การตรงตอเวลา 14 รอยละ 20 6 ขอสอบปลายภาค ตามเกณฑมหาวิทยาลัย 16 รอยละ 40
  • 8. ตารางที่ 3 เกณฑสรุปการประเมินผลการเรียน หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 6.1.เอกสารและตําราหลัก ชวลิต สวัสดิ์ผล และคณะ.(2555) .สังคมไทยรวมสมัย.กรุงเทพ:มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต 6.2เอกสารและขอมูลสําคัญ กนกศักดิ์ แกวเทพ. (๒๕๔๓). “การพัฒนาประเทศไทย จากแผนพัฒนาฉบับที่ ๑ – ๘ : บทวิเคราะหทาง ยุทธศาสตร” ใน วิถีใหมแหงการพัฒนา วิธีวิทยาศึกษาสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. เกื้อ วงศบุญสิน. (๒๕๔๐). ประชากรกับการพัฒนา. พิมพครั้งที่ ๓. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, สํานักงาน. (๒๕๔๙). สรุปวัฒนา ของแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. (Online) Available : http://www.nesdb.go.th. คณะอนุกรรมการดําเนินงานและประสานงานวันอนุรักษมรดกไทย. แผนแมบทวันอนุรักษมรดกไทย พ.ศ. ๒๕๔๑ – ๒๕๔๔. เกรด คะแนน เกณฑการพิจารณา A 90-100 สงแบบฝกปฏิบัติ สงกิจกรรม สงงานศึกษาชุมชน และสอบปลายภาคได 90 -100% B+ 85-89 สงแบบฝกปฏิบัติ สงกิจกรรม สงงานศึกษาชุมชน และสอบปลายภาคได 85 -89% B 75-84 สงแบบฝกปฏิบัติ สงกิจกรรม สงงานศึกษาชุมชน และสอบปลายภาคได 75 -84% C+ 70-74 สงแบบฝกปฏิบัติ สงกิจกรรม สงงานศึกษาชุมชน และสอบปลายภาคได 70 -74% C 60-69 สงแบบฝกปฏิบัติ สงกิจกรรม สงงานศึกษาชุมชน และสอบปลายภาคได 60 - 69% D+ 55-59 สงแบบฝกปฏิบัติ สงกิจกรรม สงงานศึกษาชุมชน และสอบปลายภาคได 55 - 59% D 50-54 สงแบบฝกปฏิบัติ สงกิจกรรม สงงานศึกษาชุมชน และสอบปลายภาคได 50 - 54% E 0-49 สงแบบฝกปฏิบัติ สงกิจกรรม สงงานศึกษาชุมชน และสอบปลายภาคได 0 - 49%
  • 9. คณาจารย และคณะมนุษยศาสตร. (๒๕๔๘). วิถีไทย. พิมพครั้งที่ ๓. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนดุสิต. จรัล พรหมอยู. (๒๕๒๓). สังคมและวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร. จักษ พันธชูเพชร. (๒๕๔๕). การเมืองและการปกครองไทย : มิติทางประวัติศาสตร และสถาบันทาง การเมือง. กรุงเทพมหานคร : บริษัท มายด พับลิชชิ่ง จํากัด. จํานงค อดิวัฒนสิทธิ์ และคณะ. (๒๕๔๙). สังคมวิทยา. พิมพครั้งที่ ๑๒. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. ฉัตรทิพย นาถสุภา (บ.ก.). (๒๕๒๓). วิวัฒนาการทุนนิยมไทย. ฝายวิชาการ คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย และกลุมเศรษฐศึกษา คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. __________. (๒๕๔๕). ประวัติศาสตรเศรษฐกิจไทย. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. __________. (๒๕๔๗). วัฒนธรรมไทยกับขบวนการเปลี่ยนแปลงทางสังคม. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. ชวลิต พิชาลัย และ วนิดา พิชาลัย. (๒๕๔๑). เศรษฐศาสตรชาวพุทธกับการแกไขวิกฤติการณเศรษฐกิจและ สังคมไทย. วารสารสมาคมเศรษฐศาสตรไทย. ชัย เรืองศิลป. (๒๕๓๓). ประวัติศาสตรไทยดานเศรษฐกิจ ตั้งแตโบราณถึง พ.ศ.๒๓๙๙. กรุงเทพมหานคร : ตนออ. __________. (๒๕๔๙). เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ. http://www.sudyord.com/ ecommerce/king-2002/ouddy-oud/project1.html เขาถึงวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ ๒๕๔๙. ชาติชาย ณ เชียงใหม. (๒๕๔๒). ตัวแบบการบริหารงานพัฒนาชนบทแบบองครวม. วารสารพัฒนบริหาร ศาสตร ปที่ ๓๙ (๔). ๒ – ๓. ไชยวัฒน เจริญสินโอฬาร. (๒๕๔๕). วาทกรรมการพัฒนา. พิมพครั้งที่ ๓. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพวิภาษ. ณรงค เส็งประชา. (๒๕๒๓). พื้นฐานวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร. __________. (๒๕๔๒). สังคมศาสตรเบื้องตน. นครปฐม : สถาบันราชภัฏนครปฐม. ณัฏฐณิชชา ภูโต. (๒๕๔๕). ปญหามลพิษทางสภาวะแวดลอม. กรุงเทพมหานคร : หางหุนสวนจํากัด ฟวเจอร เพลส แอนด กราฟฟค. ดนัย ไชยโยธา. (๒๕๔๓). การเมืองการปกครองของไทย. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร. __________. (๒๕๔๖). สังคมวัฒนธรรมและประเพณีไทย. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร. ติน ปรัชญพฤทธิ์. (๒๕๔๔). การบริหารการพัฒนา ความหมาย เนื้อหา แนวทางและปญหา. พิมพครั้งที่ ๕. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ตีรณ โงวศิริมณี (บ.ก.). (๒๕๒๓). เศรษฐกิจไทย : การเปลี่ยนแปลงและพัฒนา. สํานักพิมพสรางสรรค. ทองกร ยัณรังษี. (๒๕๔๔). กรมควบคุมโรคติดตอ กระทรวงสาธารณสุข สรุปรายงานการสัมมนาระดับชาติ เรื่องโรคเอดส ครั้งที่ ๘. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพศาสนา. เทอดศักดิ์ ศรีสุรพล. (๒๕๓๒). ระบบเศรษฐกิจไทยและการสหกรณ. กรุงเทพมหานคร : กรมการฝกหัดครู. ธีรศักดิ์ อัครบวร. (๒๕๔๐). ความเปนครู. ภูเก็ต : ฝายเอกสารและตํารา, สถาบันราชภัฏภูเก็ต. นิพนธ สุขสวัสดิ์. (๒๕๒๔). วรรณคดีเกี่ยวกับขนบธรรมเนียมประเพณีไทย. พิมพครั้งที่ ๒. พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พิษณุโลก. บูมอรี ยีหมะ. (๒๕๕๐). ความรูเบื้องตนทางรัฐศาสตร. สงขลา : สามลดา.
  • 10. ปฏิรูประบบสุขภาพแหงชาติ, สํานักงาน. (๒๕๔๙). รักพอเพื่อพอ เศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพมหานคร : วนิดา การพิมพ. ประเวศ วะสี. (๒๕๔๗). การพัฒนาตองเอาวัฒนธรรมเปนตัวตั้ง. กรุงเทพมหานคร : กระทรวงวัฒนธรรม. ประเสริฐ แยมกลิ่นฟุง และคณะ. (๒๕๔๗). สังคมและวัฒนธรรม. พิมพครั้งที่ ๙. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ประเสริฐ แยมกลิ่นฟุง. (๒๕๓๑). เอดส : กลุมอาการภูมิคุมกันเสื่อม. กรุงเทพมหานคร : อักษรสมัย. __________. (๒๕๓๖). อางใน สังคมและวัฒนธรรมไทย. รศ.สุพัตรา สุภาพ. พิมพครั้งที่ ๘. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช. __________. (๒๕๓๘). การศึกษาสังคมมนุษยในสังคมและวัฒนธรรม. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. ปรีชา เปยมพงศสานต และ กนกศักดิ์ แกวเทพ. (๒๕๔๓). “แนวคิดและความใฝฝนของ ๑๔ นักคิดอาวุโส ไทย” ใน วิถีใหมแหงการพัฒนา : วิธีวิทยาศึกษาสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. ปรีชา เปยมพงศสานต. (๒๕๔๓). “วิกฤตการณแหงการพัฒนา” ใน วิถีใหมแหงการพัฒนา : วิธีวิทยาศึกษา สังคมไทย. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ปุระชัย เปยมสมบูรณ. (๒๕๔๕). การควบคุมอาชญากรรมจากสภาพแวดลอม : หลักทฤษฎีและมาตรการ. พิมพครั้งที่ ๓. กรุงเทพมหานคร : บรรณกิจ. พระเทพเทวี (ประยุทธ ปยุตฺโต). (๒๕๓๑). เศรษฐศาสตรแนวพุทธ. กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิโกมลคัมทอง. พระเทพวิสุทธิเมธี (พุทธทาสภิกขุ). (๒๕๒๙). ธรรมสําหรับครู. พิมพครั้งที่ ๘. กรุงเทพมหานคร : สํานักงาน คณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ. พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตฺโต). (๒๕๔๐). พระพุทธศาสนาพัฒนาคนและสังคม. กรุงเทพมหานคร : กรมการ ปกครอง. __________. (๒๕๔๔). การพัฒนาที่ยั่งยืน. พิมพครั้งที่ ๘. กรุงเทพมหานคร : เรือนแกว. __________. (๒๕๔๔). การเรียนรูที่เหมาะสมกับสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร : ภัคธรรศ. พวงผกา ประเสริฐศิลป. (๒๕๔๑). พื้นฐานวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพมหานคร : ฝายเอกสาร และตํารา, สถาบัน ราชภัฏสวนดุสิต. พวงผกา ประเสริฐศิลป. (๒๕๔๔). ประเพณีไทยกับการเปลี่ยนแปลงตามกระแส วัฒนธรรมโลก. [อัดสําเนา]. ไพบูลย วัฒนศิริธรรม. ภูเขาซึ่งขวางกั้นการพัฒนาที่ยั่งยืน. มติชนรายวัน ๑๒ เมษายน ๒๕๔๙ : ๗. ไพโรจน ภัทรนรากุล. (๒๕๔๕). ยุทธศาสตรการพัฒนาชาติตามแนวทางการพึ่งตนเอง แบบยั่งยืน : กรอบ นโยบายและตัวแบบการจัดการ. วารสารพัฒนบริหารศาสตร. ปที่ ๔๒ (๓) : ๕๔ – ๕๗. มยุรี พลางกูร. (๒๕๔๑). รูทันเอดส. กรุงเทพมหานคร : สภาสังคมสงเคราหในพระบรมราชูปถัมภ. มานิตย จุมปา. (๒๕๔๘). คําอธิบายรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย. กรุงเทพมหานคร : สันนิติธรรม. มูลนิธิโตโยตาประเทศไทย และมูลนิธิสดศรี สฤษดิ์วงศ. (๒๕๔๒). คําพอสอน : ประมวล พระบรมราโชวาท และพระราชดํารัสเกี่ยวกับเด็กและเยาวชน. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพกรุงเทพ. ยุกติ มุกดาวิจิตร. (๒๕๔๘). อาน ‘วัฒนาธรรมชุมชน’ : วาทศิลป และการเมืองของชาติพันธุนิพนธแนว วัฒนธรรมชุมชน. กรุงเทพมหานคร : ฟาเดียวกัน. ยุค ศรีอาริยะ. (๒๕๔๑). มายาโลกาภิวัตน : สงครามเศรษฐกิจยุคโลกไรพรมแดน. กรุงเทพมหานคร : โรง พิมพกรุงเทพ.
  • 11. รังสรรค ธนพรพันธุ. (๒๕๓๒). กระบวนการกําหนดนโยบายเศรษฐกิจในประเทศไทย : บทวิเคราะหเชิง ประวัติศาสตรเศรษฐกิจการเมือง พ.ศ.๒๔๗๕ – ๒๕๓๐. กรุงเทพมหานคร : สมาคม สังคมศาสตร. __________. ระบบเศรษฐกิจไทย : วิกฤตการณแหงโครงสรางและวิกฤตการณแหงเสนทางการพัฒนา เศรษฐกิจ. วารสารธรรมศาสตร ปที่ ๙ เลมที่ ๓ มกราคม – มีนาคม ๒๕๒๓. รัชนีกร เศรษโฐ. (๒๕๒๘). สังคมวิทยาชนบท. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช. ลือชัย จุลาสัย และ มิ่งสรรพ สันตกาญจน (บ.ก.). (๒๕๔๒). เศรษฐกิจไทย : อดีต และอนาคต. ภาควิชา เศรษฐศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. วรวุฒิ โรมรัตนพันธ. (๒๕๔๘). ทุนทางสังคม. กรุงเทพมหานคร : เดือนตุลา. วันรักษ มิ่งมณีนาคิน. (๒๕๔๕). เศรษฐศาสตรไมยากอยางที่คิด. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. วารี อําไพรวรรณ. (๒๕๓๙). พระราชประวัติ พระมหากษัตริยไทยและพระบรมราชินี แหงราชวงศจักรี. กรุงเทพมหานคร : ภัทรินทร. วิชิต นันทสุวรรณ. (๒๕๔๔). แผนแมบทการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน.ในวิสาหกิจชุมชน แผนแมบท แนวคิด แนวทาง ตัวอยางรางพระราชบัญญัติ เสรี พงษพิศ วิชิต นันทสุวรรณ และ จํานง แรกพินิจ. กรุงเทพมหานคร : ภูมิปญญาไทย. วิชิตวงศ ณ ปอมเพชร. (๒๕๔๖). นักเศรษฐศาสตรรางวัลโนเบล. กรุงเทพมหานคร : แสงดาว. วิทยากร เชียงกูล. (๒๕๔๘). เศรษฐกิจไทยปญหาและทางแก. กรุงเทพมหานคร : สายธาร. ศุภชัย เจริญวงศ. (๒๕๔๔). ถอดรหัสการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร : เดือนตุลา. ศูนยเวชศึกษาปองกัน. (๒๕๔๑). โรคเอดสกับการใหความชวยเหลือ. กรุงเทพมหานคร : สถาบันราชภัฏเทพ สตรี. สถาบันราชภัฏสวนดุสิต. (๒๕๔๓). วิถีไทย. กรุงเทพมหานคร : เธิรดเวฟเอ็ดดูเคชั่น. สนธิ เตชานันท. (๒๕๔๓). พื้นฐานรัฐศาสตร. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. สมชัย ใจดี และ ยรรยง ศรีวิริยาภรณ. (๒๕๔๐). ประเพณีและวัฒนธรรมไทย. พิมพครั้งที่ ๑๐. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช. สมชาย กษิติประดิษฐ. (๒๕๔๗). สิทธิมนุษยชน. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพมหาวิทยาลัยรามคําแหง. สมปราชญ อัมมะพันธุ. (๒๕๓๖). ประเพณีและพิธีกรรมในวรรณคดีไทย. กรุงเทพมหานคร : โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮาส. สมพร เทพสิทธา. (๒๕๔๘). เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ. กรุงเทพมหานคร : กองทุนอริยมรรค. __________. (๒๕๕๐). ความเห็นและขอเสนอแนะเกี่ยวกับการอนุรักษและสงเสริมวัฒนธรรม. [อัดสําเนา]. สังคีต พิริยะรังสรรค และ ผาสุก พงษไพจิตร. (๒๕๓๘). โลกาภิวัตนกับสังคมเศรษฐกิจไทย. กรุงเทพมหานคร : ๑๗๙ การพิมพ. สัญญา สัญญาวิวัฒน. (๒๕๓๘). ปญหาสังคมในสังคมและวัฒนธรรม. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. __________. (๒๕๔๒). สังคมวิทยาปญหาสังคม. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. (๒๕๔๗). ๒ ป แหงการเปลี่ยนแปลงการ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม. กรุงเทพมหานคร : เพชรรุงการพิมพ. สํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ. (๒๕๒๙). นโยบายวัฒนธรรมแหงชาติและแนวทางในการรักษา สงเสริมและพัฒนาวัฒนธรรมพุทธศักราช ๒๕๒๙. กรุงเทพมหานคร : คุรุสภา.
  • 12. สุธี ประศาสนเศรษฐ. (๒๕๒๓). วิวัฒนาการเศรษฐกิจไทย. ไทยศึกษา (หนวยที่ ๓), มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สุพัตรา สุภาพ. (๒๕๓๘). ปญหาสังคม. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช. __________. (๒๕๔๕). ปญหาสังคม. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช. สุภางค จันทวานิช และ วรรณี ไทยานันท. (๒๕๓๙). แนวคิดและเครื่องชี้วัดการพัฒนาสังคมและคุณภาพ ชีวิตของประเทศไทย. อนุชาติ พวงสําลี และ อรทัย อาจอ่ํา (บรรณาธิการ). กรุงเทพมหานคร : สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). สุภางค จันทวานิช และ วิศนี ศีลตระกูล. (๒๕๓๙). “การพัฒนาแนวคิดและเครื่องชี้วัดสังคม และคุณภาพชีวิต ในตางประเทศ” ใน การพัฒนาเครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตและสังคมไทย. อนุชาติ พวงสําลี และ อรทัย อาจอํา (บรรณาธิการ). กรุงเทพมหานคร : สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). สุภาพรรณ ณ บางชาง. (๒๕๓๕). ขนบธรรมเนียมประเพณี : ความเชื่อ และแนวทางปฏิบัติในสมัยสุโขทัยถึง สมัยอยุธยาตอนกลาง. กรุงเทพมหานคร : สถาบันไทยศึกษา, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สุเมธ ตันติเวชกุล. (๒๕๔๙). ขาแผนดินสอนลูก. กรุงเทพมหานคร : มติชน. สุริชัย หวันแกว. (๒๕๓๙). ศัพทการพัฒนา : คูมือความรูสูอํานาจ. กรุงเทพมหานคร : สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สุวรรณา สถาอานันท และ เนื่องนอย บุณยเนตร. (๒๕๔๒). คํา : รองรอยความคิดความเชื่อไทย. พิมพครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. เสนห จามริก. (๒๕๔๒). สังคมไทยกับการพัฒนาที่กอปญหา. พิมพครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร : คบไฟ. เสาวภา ไพทยวัฒน. (๒๕๓๘). พื้นฐานวัฒนธรรมไทย : แนวทางอนุรักษและการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร : กรมศาสนา. โสภา ชปลมันน และคณะ. (๒๕๓๓). การศึกษาการแพรระบาดการติดสารเสพติดในเด็กและเยาวชนยาน ชุมชนแออัด ศึกษาเฉพาะกรณีในเขตกรุงเทพ. กรุงเทพมหานคร : สภาสังคมสงเคราะหแหง ประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ. อนุมานราชธน ศ. พระ. (๒๕๑๔). วัฒนธรรมและประเพณีตาง ๆ ของไทย. พระนคร : คลังวิทยา. อมรา พงศาพัชญ. (๒๕๔๕). ความหลากหลายทางวัฒนธรรม. พิมพครั้งที่ ๓. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. อานันท กาญจนพันธุ. (๒๕๔๔). มิติชุมชน วิธีคิดวาดวยสิทธิ อํานาจ และการจัดการทรัพยากร. กรุงเทพมหานคร : สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. อุทัย ดุลยเกษม, ดร. (๒๕๔๕). สังคมศาสตรเพื่อการพัฒนา : แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยและการพัฒนา. สุเทพ บุญซอน (บรรณาธิการ). บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันราชภัฏเพชรบุรีวิทยาลงกรณ ในพระบรม ราชูปถัมภ. Anderson Barry. (๑๙๗๕). Cognitive Psychology. The study of knowing, learning, and Thinking. New York : Academic Press. Collins Cobuild. Dictionary English Language. London : Collins Sons and Co., Ltd. Mulder, Niels. (๑๙๙๒). Inside Thai Society. Bangkok : Duang Kamol. Segaller, Denis. (๑๙๙๘). More Thai Ways. Bangkok : Post Books. Th.wikipedia.og.
  • 13. Wongtes, Sujit. (๒๐๐๐). The Thai People and Culture. Bangkok : The Public relations Department. www.geocities.com, ๔ พฤษภาคม ๒๕๕๑. www.parliament.go.th, ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๑. website www.culture.go.th www.tat.or.th/festival www.thaigoodview.com www.rakbankerd.com www.societythai.com www.nfe.go.th www.nidambe11.net www.shool.net.th หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา 1. กลยุทธการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในชั้นเรียนสื่อการสอน และผลการเรียนรูที่ไดรับ ตลอดจนเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ดวยระบบคอมพิวเตอรของมหาวิทยาลัย 2. กลยุทธการประเมินการสอน การเก็บขอมูลเพื่อการประเมินการสอน ไดแก จากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรูของนักศึกษาและการ ทดสอบผลประเมินการเรียนรู 3. การปรับปรุงการสอน ผูประสานงานรายวิชา และคณาจารยผูสอนรวมกันระดมสมองกําหนดกลยุทธวิธีการสอน จากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา สรุปภาพรวมปญหา และอุปสรรคจากมคอ. 5 เพื่อหาแนวทางใน การแกปญหารวมกัน 4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา ผูประสานงานรายวิชาสังคมไทยรวมสมัยและคณาจารยผูสอนมีการจัดการประชุมรวมกันทวนสอบ ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชาโดยการสุมประเมินขอสอบและความเหมาะสมของการใหคะแนน ทั้งคะแนน ดิบและระดับคะแนนของรายวิชา 5. การดําเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา - สรุปการดําเนินงานในรายวิชาในภาคการศึกษา 2/2557 สงคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร - ผูประสานงานรายวิชาสังคมไทยรวมสมัยจัดประชุมคณาจารยผูสอนกอนเปดภาคเรียน เพื่อใหการ จัดการเรียนการสอนเปนไปในทิศทางที่เหมาะสม
  • 14. - กําหนดกลยุทธในการทําโครงงาน ซึ่งในภาคการศึกษา 2/2557 คณาจารยและนักศึกษาไดรวมทํา โครงงานศึกษาชุมชนในมิติตางๆ เสร็จสิ้นแลว และจะดําเนินโครงงานตอเนื่องในภาคการศึกษา 2/2557 - ผลิตสื่อการสอนเพื่อเปนทรัพยากรรวมในการจัดการเรียนการสอน - แจกแนวทางการปฏิบัติงานในรายวิชาสังคมไทยรวมสมัยใหอาจารยผูสอนแตละตอนเรียน