SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 5
Baixar para ler offline
โรคทางพันธุกรรม
          จัดทําโดย
    ด.ญ.ภัสสร ทองรัก
     ด.ญ.กาจนา ศีรฉํ่า
  โรงเรี ยนเขาดินวิทยาคาร
    ชัมมัธยมศึษาปี ที่ 3
      ้
             เสนอ
  คุณคูร ศุภรรณ ทักษิณ
โรคตาบอดสี

     ตาบอดสีเป็ นโรคทางกรรมพันธุ์ sex linked ทําให้ พบในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง 10 ต่อ1ส่วนใหญ่จะบอดสี แดง-เขียว พบ
รองลงมาได้ แก่ นํ ้าเงิน-เหลือง คนที่บอดสี แดง-เขียวมักจะบอดสี นํ ้าเงิน-เหลืองด้ วย
          โรคตาบอดสี เป็ นความผิดปกติในการจําแนกสีทําให้ คนที่ป่วยเป็ นโรคตาบอดสีรับรู้หรื อแปรภาพสีผิดไปจากความเป็ น
จริ ง คําว่า “ตาบอดสี” ไม่ได้ หมายความว่ามองไม่เห็นสี เพียงแต่เห็นสีไม่ตรงกับความเป็ นจริ งเท่านันเอง อย่างไรก็ตามการมีอาการตา
                                                                                                 ้
บอดสีจะทําให้ ได้ รับผลกระทบต่อการใช้ ชีวิตประจําวันพอสมควร
หรื อที่เรี ยกว่า colour blindness เป็ นอาการที่ตาของผู้ป่วยแปรผลแปรภาพสีผิดไปจากผู้อื่นที่เป็ นตาปกติ ตาเป็ นอวัยวะ
จําเป็ นต่อการดําเนินชีวิตอย่างปกติสขในสังคม หากเกิดความผิดปกติไม่ว่าจะเป็ นเรื่ องใดที่มีผลกระทบต่อการมองเห็น บุคคล
                                    ุ
นันๆ ย่อมได้ รับผลกระทบไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง ภาวะตาบอดสีเป็ นปั ญหาที่สงผลกระทบต่อการใช้ ชีวิตในสังคมมากพอสมควร
  ้                                                                  ่
อาการของโรคตาบอดสี ในที่นี ้จะพูดถึงอาการตาบอดสีที่พบได้ มากที่สดคือ Red‐Green 
                                                                             ุ
  Colour Blindness (ตาบอดสีเขียว-แดง) โดยจะจําแนกสีแดงและสีเขียวได้ คอนข้ างลําบากโดยเฉพาะอย่างยิ่งใน
                                                                                   ่
  สถานที่ที่มีแสงสว่างน้ อย นอกจากนี ้บางคนก็บอดสีนํ ้าเงิน-เหลืองหรื อเป็ นโรคตาบอดสีทกสีเลย(มีเป็ นส่วนน้ อย) คนที่
                                                                                       ุ
  เป็ นโรคตาบอดสีจะมีการมองเห็น(การรับภาพ)ที่เป็ นปกติเพียงแต่สงที่ผิดเพี ้ยนไปจากคนทัวไปคือความสามารถในการ
                                                                   ิ่                    ่
  แยกสีเท่านันเอง
               ้
ตาบอดสีมีหลายชนิด ชนิดที่พบบ่อยที่สด เรี ยกว่า red/green colour blindness โดยจะแยกสีแดงและสีเขียวค่อนข้ าง
                                    ุ
ลําบาก โดยเฉพาะเวลาที่แสงไม่สว่างนัก ส่วนน้ อยลงมาของคนที่มีตาบอดสี คือพวกที่ไม่สามารถแยกสีนํ ้าเงินกับสีเหลือง จะมีบ้าง
เหมือนกันที่เป็ นโรคตาบอดสีทกสีเลย แต่เป็ นส่วนน้ อยมาก คนที่บอดสี แดง-เขียวมักจะบอดสี นํ ้าเงิน-เหลืองด้ วย ทังนี ้ไม่วาจะเป็ นตา
                            ุ                                                                                  ้        ่
บอดสีชนิดใด ล้ วนจะมีสายตาหรื อการมองเห็น (vision) ที่เป็ นปกติ เพียงแต่ความสามารถในการแยกสีไม่ปกติเท่านันเอง        ้
กลุมที่มีความผิดปกติที่เกิดขึ ้นมาภายหลัง มักเกิดจากการถูกทําลายของจอประสาทตา เส้ นประสาทตา หรื อส่วนรับรู้ใน
  ่
สมอง จากสาเหตุตาง ๆ เช่น การอักเสบ ภาวะขาดเลือด อุบติเหตุ เนื ้องอก การเสื่อมลงของจอประสาทตา หรื อผลข้ างเคียง
                 ่                                       ั
จากยาหรื อสารเคมี

ผู้ป่วยมักจะมีอาการเรี ยกชื่อสีหรื อเห็นสีผิดไปจากเดิม โดยมากพบความผิดปกติของการมองสีนํ ้าเงินเหลืองมากกว่าแดง
เขียว ความผิดปกติของตาทัง้ 2 ข้ างไม่เท่ากัน อาจเป็ นตาเดียวหรื อทัง้ 2 ตา มีการเปลี่ยนแปลงมากขึ ้นหรื อลดลงได้ รวมทัง้
มีความผิดปกติของสายตาด้ านอื่น ๆ เช่น การมองเห็นและลานสายตาลดลงได้ ขึ ้นอยูกบสาเหตุและความรุนแรงของโรค
                                                                                   ่ ั
สาเหตุของตาบอดสี
       สาเหตุของตาบอดสีที่เป็ นมาแต่กําเนิด มีเรื่ องของกรรมพันธุ์เข้ ามาเกี่ยวข้ อง ถ่ายทอดทางพันธุกรรมโดยโครโมโซม X 
    ทําให้ เพศชายถ้ ามีหน่วยพันธุกรรม X ที่ทําให้ เกิดตาบอดสี ก็จะแสดงอาการของตาบอดสีออกมา ในขณะที่เพศหญิงถ้ า
    หน่วย X นี ้ผิดปกติเพียงหนึงหน่วย ก็ยงสามารถมองเห็นได้ ปกติเห็นปกติได้ ถ้ าหน่วย X อีกตัวหนึ่งไม่ทําให้ เกิดตาบอดสี
                               ่         ั
ความผิดปกติของเม็ดสีและเซลล์รับแสงสีเขียวหรื อแดง ถูกควบคุมด้ วยยีนบนโครโมโซม x และมีการถ่ายทอดทางพันธุกรรม
แบบ x‐linked recessive จากแม่ไปสูบตรชาย เพราะเหตุนี ้ตาบอดสีสวนใหญ่มกจะเกิดกับเด็กผู้ชาย ซึงได้ รับการ
                                            ่ ุ                           ่      ั                        ่
ถ่ายทอดมาจากมารดา ในเพศหญิงพบน้ อยกว่าเพศชายประมาณ 16 เท่า หรื อคืดเป็ นประมาณร้ อยละ 0.4 ของประชากร
ขณะที่ตาบอดสีทงหมด จะพบได้ ประมาณร้ อยละ 10 ของประชากร และเป็ นการมองเห็นสีเขียวบกพร่องเสียประมาณร้ อยละ 5
                  ั้
ของประชากร
    กลุมที่มีความผิดปกติมาตังแต่กําเนิด ตาทัง้ 2 ข้ างจะมีอาการมองเห็นสีผิดปกติเหมือนกัน คงที่ไม่
         ่                    ้
    เปลี่ยนแปลง ผู้ที่สามารถเห็นสีได้ ปกติ จะต้ องมีเซลล์รับแสงสีที่จอประสาทตาครบทัง้ 3 สี คือ แดง เขียว และ
    นํ ้าเงิน และมีปริมาณเม็ดสีในเซลล์ที่ปกติ รวมทังระบบประสาทตาและการแปลผลที่เป็ นปกติด้วย
                                                     ้

    ส่วนความผิดปกติของเม็ดสี และเซลล์รับแสงสีนํ ้าเงินนัน ถูกควบคุมด้ วยยีนบนโครโมโซม 7 จึงมีการถ่ายทอด
                                                        ้
    แบบ autosomal dominant ซึงจะพบผู้ป่วยกลุมนี ้ได้ น้อย
                                       ่                  ่

    ตาบอดสีอีกกลุมหนึ่ง คือ ตาบอดสีที่เป็ นภายหลัง มักเกิดจากโรคทางจอประสาทตาหรื อโรคของเส้ นประสาท
                    ่
    ตาอักเสบ มักจะเสียสีแดงมากกว่าสีอื่น และอาจเสียเพียงเล็กน้ อย คือดูสีที่ควรจะเป็ นนันดูมืดกว่าปกติ หรื อ
                                                                                        ้
    อาจจะแยกสีนนไม่ได้ เลยก็ได้
                 ั้
คําแนะนําบางประการ
ในผู้ป่วยที่มีภาวะตาบอดสีแต่กําเนิด ควรปรึกษาแพทย์เพื่อรับคําแนะนําถึงโอกาสการถ่ายทอดทางพันธุกรรม และโอกาสหลีกเลี่ยงที่
จะทําให้ เกิดภาวะตาบอดสีในหมูญาติ  ่
ผู้ที่มีภาวะตาบอดสีภายหลัง ควรรับการตรวจวินิจฉัยถึงสาเหตุ เพื่อแพทย์จะได้ วางแผนการรักษาที่เหมาะสมต่อไป
การที่คนใดคนหนึงเกิดตาบอดสีขึ ้น คนๆ นี ้ก็ยงสามารถดํารงชีวิตได้ อย่างปกติเหมือนคนปกติทวๆ ไปได้ เพียงแต่การแปรผลผิดไป
                  ่                          ั                                                  ั่
จากความจริ งเท่านัน ถ้ าตาบอดสีไม่มากนักสามารถแก้ ไขได้ ด้วยการใช้ แว่นตา ทังนี ้ควรปรึกษาจักษุแพทย์ ซึงจะตรวจเช็คสายตาและ
                    ้                                                           ้                             ่
ให้ คําแนะนําในการปรับตัว ตลอดจนแนวทางในการรักษาต่อไป
บางครังคนตาบอดสี อาจถูกกีดกันจากสถาบัน หรื ออาชีพบางประเภท ซึงจริ งๆ แล้ ว คนที่ตาบอดสีเพียงแต่เห็นสีผิดไปจากสีที่เป็ นจริ ง
           ้                                                          ่
ไม่ใช่มองไม่เห็นสีเลย
คนที่ตาบอดสีสวนใหญ่เรี ยกสีถก บอกความแตกต่างของไฟจราจรได้ และก็ทํางานส่วนใหญ่ได้ เหมือนคนปกติ เว้ นเสียแต่จะมีสใน
                ่                ู                                                                                            ี
บางแถบสีที่ทําให้ เขาสับสน
ในแบบทดสอบอาจจะมีการออกแบบสีในช่วงของแถบสีที่ทําให้ คนตาบอดสีดสบสน ซึงโดยโดยปกติในชีวิตประจําวันคนตาบอดสีจะ
                                                                          ู ั       ่
พบสีดงกล่าวน้ อยมาก
         ั
อาชีพที่คนตาบอดสีไม่ควรทํา ได้ แก่ นักเคมีที่ต้องทํางานกับสี จิตรกร อาชีพที่ต้องมีการใช้ สีเป็ นตัวแสดงถึงสิงต่าง ๆ เช่น ในอุปกรณ์
                                                                                                            ่
อิเลคโทรนิค ห้ องนักบิน เป็ นต้ น
พบว่าคนตาบอดสีมีความสามารถในการแยกสีเฉดเดียวกันที่มีความแตกต่างกันเพียงเล็กน้ อยได้ ดีกว่าคนปกติ เช่น คนตาบอดสีเขียว
จะแยกสีที่คล้ ายกัน เช่น เขียวอ่อน เขียวอมเหลือง

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a ภัสสร กาญจนา

Lifestyle and musculoskeletal diseases in children
Lifestyle and musculoskeletal diseases in childrenLifestyle and musculoskeletal diseases in children
Lifestyle and musculoskeletal diseases in childrenThira Woratanarat
 
วัฒนา
วัฒนาวัฒนา
วัฒนาsupphawan
 
ต้อหิน
ต้อหินต้อหิน
ต้อหินPocketBank
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2fainaja
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2fainaja
 
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมMelody Minhyok
 
สุขภาพผู้สูงอายุ
สุขภาพผู้สูงอายุสุขภาพผู้สูงอายุ
สุขภาพผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 

Semelhante a ภัสสร กาญจนา (9)

Lifestyle and musculoskeletal diseases in children
Lifestyle and musculoskeletal diseases in childrenLifestyle and musculoskeletal diseases in children
Lifestyle and musculoskeletal diseases in children
 
Blurred Vision
Blurred VisionBlurred Vision
Blurred Vision
 
วัฒนา
วัฒนาวัฒนา
วัฒนา
 
ต้อหิน
ต้อหินต้อหิน
ต้อหิน
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
 
Gram negative-oxidase-positive
Gram negative-oxidase-positiveGram negative-oxidase-positive
Gram negative-oxidase-positive
 
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
 
สุขภาพผู้สูงอายุ
สุขภาพผู้สูงอายุสุขภาพผู้สูงอายุ
สุขภาพผู้สูงอายุ
 

Mais de supphawan

Ssr รร 2556
Ssr รร 2556Ssr รร 2556
Ssr รร 2556supphawan
 
Ssr รร 2555
Ssr รร 2555Ssr รร 2555
Ssr รร 2555supphawan
 
Eng speaking year เขาดินวิทยาคาร
Eng speaking year เขาดินวิทยาคารEng speaking year เขาดินวิทยาคาร
Eng speaking year เขาดินวิทยาคารsupphawan
 
Ict และการบริหารงานวิชาการ
Ict และการบริหารงานวิชาการIct และการบริหารงานวิชาการ
Ict และการบริหารงานวิชาการsupphawan
 
ครูโรงเรียนเขาดินวิทยาคาร 2554
ครูโรงเรียนเขาดินวิทยาคาร 2554ครูโรงเรียนเขาดินวิทยาคาร 2554
ครูโรงเรียนเขาดินวิทยาคาร 2554supphawan
 
ผลงานดีเด่น 2553
ผลงานดีเด่น 2553ผลงานดีเด่น 2553
ผลงานดีเด่น 2553supphawan
 
คำสั่งโรงเรียนเขาดินวิทยาคารเวรยามวันหยุดราชการ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
คำสั่งโรงเรียนเขาดินวิทยาคารเวรยามวันหยุดราชการ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554คำสั่งโรงเรียนเขาดินวิทยาคารเวรยามวันหยุดราชการ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
คำสั่งโรงเรียนเขาดินวิทยาคารเวรยามวันหยุดราชการ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554supphawan
 
ประกาศโรงเรียนเขาดินวิทยาคาผู้ผ่านพนักงานราชการ54
ประกาศโรงเรียนเขาดินวิทยาคาผู้ผ่านพนักงานราชการ54ประกาศโรงเรียนเขาดินวิทยาคาผู้ผ่านพนักงานราชการ54
ประกาศโรงเรียนเขาดินวิทยาคาผู้ผ่านพนักงานราชการ54supphawan
 
สำเนาประกาศพนักงานราชการ
สำเนาประกาศพนักงานราชการสำเนาประกาศพนักงานราชการ
สำเนาประกาศพนักงานราชการsupphawan
 
สำเนาประกาศพนักงานราชการ
สำเนาประกาศพนักงานราชการสำเนาประกาศพนักงานราชการ
สำเนาประกาศพนักงานราชการsupphawan
 
สำเนาประกาศสอบราคาจ้างซ่อมอาคาร
สำเนาประกาศสอบราคาจ้างซ่อมอาคารสำเนาประกาศสอบราคาจ้างซ่อมอาคาร
สำเนาประกาศสอบราคาจ้างซ่อมอาคารsupphawan
 
สมัครพนักงานราชการ
สมัครพนักงานราชการสมัครพนักงานราชการ
สมัครพนักงานราชการsupphawan
 
สำเนาประกาศสอบราคาซื้อ
สำเนาประกาศสอบราคาซื้อสำเนาประกาศสอบราคาซื้อ
สำเนาประกาศสอบราคาซื้อsupphawan
 
คุณภาพครู
คุณภาพครูคุณภาพครู
คุณภาพครูsupphawan
 
โรงเรียนในฝัน ศุภวรรณ
โรงเรียนในฝัน ศุภวรรณโรงเรียนในฝัน ศุภวรรณ
โรงเรียนในฝัน ศุภวรรณsupphawan
 
แหล่งเรียนรู้
แหล่งเรียนรู้แหล่งเรียนรู้
แหล่งเรียนรู้supphawan
 
ด้านผู้เรียน โรงเรียนในฝัน
ด้านผู้เรียน โรงเรียนในฝันด้านผู้เรียน โรงเรียนในฝัน
ด้านผู้เรียน โรงเรียนในฝันsupphawan
 
วนิดา
วนิดาวนิดา
วนิดาsupphawan
 
สุทธิดา วิชชุดา
สุทธิดา   วิชชุดาสุทธิดา   วิชชุดา
สุทธิดา วิชชุดาsupphawan
 
ขจรศักดิ์ จิรายุพูลผล
ขจรศักดิ์  จิรายุพูลผลขจรศักดิ์  จิรายุพูลผล
ขจรศักดิ์ จิรายุพูลผลsupphawan
 

Mais de supphawan (20)

Ssr รร 2556
Ssr รร 2556Ssr รร 2556
Ssr รร 2556
 
Ssr รร 2555
Ssr รร 2555Ssr รร 2555
Ssr รร 2555
 
Eng speaking year เขาดินวิทยาคาร
Eng speaking year เขาดินวิทยาคารEng speaking year เขาดินวิทยาคาร
Eng speaking year เขาดินวิทยาคาร
 
Ict และการบริหารงานวิชาการ
Ict และการบริหารงานวิชาการIct และการบริหารงานวิชาการ
Ict และการบริหารงานวิชาการ
 
ครูโรงเรียนเขาดินวิทยาคาร 2554
ครูโรงเรียนเขาดินวิทยาคาร 2554ครูโรงเรียนเขาดินวิทยาคาร 2554
ครูโรงเรียนเขาดินวิทยาคาร 2554
 
ผลงานดีเด่น 2553
ผลงานดีเด่น 2553ผลงานดีเด่น 2553
ผลงานดีเด่น 2553
 
คำสั่งโรงเรียนเขาดินวิทยาคารเวรยามวันหยุดราชการ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
คำสั่งโรงเรียนเขาดินวิทยาคารเวรยามวันหยุดราชการ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554คำสั่งโรงเรียนเขาดินวิทยาคารเวรยามวันหยุดราชการ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
คำสั่งโรงเรียนเขาดินวิทยาคารเวรยามวันหยุดราชการ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
 
ประกาศโรงเรียนเขาดินวิทยาคาผู้ผ่านพนักงานราชการ54
ประกาศโรงเรียนเขาดินวิทยาคาผู้ผ่านพนักงานราชการ54ประกาศโรงเรียนเขาดินวิทยาคาผู้ผ่านพนักงานราชการ54
ประกาศโรงเรียนเขาดินวิทยาคาผู้ผ่านพนักงานราชการ54
 
สำเนาประกาศพนักงานราชการ
สำเนาประกาศพนักงานราชการสำเนาประกาศพนักงานราชการ
สำเนาประกาศพนักงานราชการ
 
สำเนาประกาศพนักงานราชการ
สำเนาประกาศพนักงานราชการสำเนาประกาศพนักงานราชการ
สำเนาประกาศพนักงานราชการ
 
สำเนาประกาศสอบราคาจ้างซ่อมอาคาร
สำเนาประกาศสอบราคาจ้างซ่อมอาคารสำเนาประกาศสอบราคาจ้างซ่อมอาคาร
สำเนาประกาศสอบราคาจ้างซ่อมอาคาร
 
สมัครพนักงานราชการ
สมัครพนักงานราชการสมัครพนักงานราชการ
สมัครพนักงานราชการ
 
สำเนาประกาศสอบราคาซื้อ
สำเนาประกาศสอบราคาซื้อสำเนาประกาศสอบราคาซื้อ
สำเนาประกาศสอบราคาซื้อ
 
คุณภาพครู
คุณภาพครูคุณภาพครู
คุณภาพครู
 
โรงเรียนในฝัน ศุภวรรณ
โรงเรียนในฝัน ศุภวรรณโรงเรียนในฝัน ศุภวรรณ
โรงเรียนในฝัน ศุภวรรณ
 
แหล่งเรียนรู้
แหล่งเรียนรู้แหล่งเรียนรู้
แหล่งเรียนรู้
 
ด้านผู้เรียน โรงเรียนในฝัน
ด้านผู้เรียน โรงเรียนในฝันด้านผู้เรียน โรงเรียนในฝัน
ด้านผู้เรียน โรงเรียนในฝัน
 
วนิดา
วนิดาวนิดา
วนิดา
 
สุทธิดา วิชชุดา
สุทธิดา   วิชชุดาสุทธิดา   วิชชุดา
สุทธิดา วิชชุดา
 
ขจรศักดิ์ จิรายุพูลผล
ขจรศักดิ์  จิรายุพูลผลขจรศักดิ์  จิรายุพูลผล
ขจรศักดิ์ จิรายุพูลผล
 

ภัสสร กาญจนา

  • 1. โรคทางพันธุกรรม จัดทําโดย ด.ญ.ภัสสร ทองรัก ด.ญ.กาจนา ศีรฉํ่า โรงเรี ยนเขาดินวิทยาคาร ชัมมัธยมศึษาปี ที่ 3 ้ เสนอ คุณคูร ศุภรรณ ทักษิณ
  • 2. โรคตาบอดสี ตาบอดสีเป็ นโรคทางกรรมพันธุ์ sex linked ทําให้ พบในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง 10 ต่อ1ส่วนใหญ่จะบอดสี แดง-เขียว พบ รองลงมาได้ แก่ นํ ้าเงิน-เหลือง คนที่บอดสี แดง-เขียวมักจะบอดสี นํ ้าเงิน-เหลืองด้ วย โรคตาบอดสี เป็ นความผิดปกติในการจําแนกสีทําให้ คนที่ป่วยเป็ นโรคตาบอดสีรับรู้หรื อแปรภาพสีผิดไปจากความเป็ น จริ ง คําว่า “ตาบอดสี” ไม่ได้ หมายความว่ามองไม่เห็นสี เพียงแต่เห็นสีไม่ตรงกับความเป็ นจริ งเท่านันเอง อย่างไรก็ตามการมีอาการตา ้ บอดสีจะทําให้ ได้ รับผลกระทบต่อการใช้ ชีวิตประจําวันพอสมควร หรื อที่เรี ยกว่า colour blindness เป็ นอาการที่ตาของผู้ป่วยแปรผลแปรภาพสีผิดไปจากผู้อื่นที่เป็ นตาปกติ ตาเป็ นอวัยวะ จําเป็ นต่อการดําเนินชีวิตอย่างปกติสขในสังคม หากเกิดความผิดปกติไม่ว่าจะเป็ นเรื่ องใดที่มีผลกระทบต่อการมองเห็น บุคคล ุ นันๆ ย่อมได้ รับผลกระทบไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง ภาวะตาบอดสีเป็ นปั ญหาที่สงผลกระทบต่อการใช้ ชีวิตในสังคมมากพอสมควร ้ ่
  • 3. อาการของโรคตาบอดสี ในที่นี ้จะพูดถึงอาการตาบอดสีที่พบได้ มากที่สดคือ Red‐Green  ุ Colour Blindness (ตาบอดสีเขียว-แดง) โดยจะจําแนกสีแดงและสีเขียวได้ คอนข้ างลําบากโดยเฉพาะอย่างยิ่งใน ่ สถานที่ที่มีแสงสว่างน้ อย นอกจากนี ้บางคนก็บอดสีนํ ้าเงิน-เหลืองหรื อเป็ นโรคตาบอดสีทกสีเลย(มีเป็ นส่วนน้ อย) คนที่ ุ เป็ นโรคตาบอดสีจะมีการมองเห็น(การรับภาพ)ที่เป็ นปกติเพียงแต่สงที่ผิดเพี ้ยนไปจากคนทัวไปคือความสามารถในการ ิ่ ่ แยกสีเท่านันเอง ้ ตาบอดสีมีหลายชนิด ชนิดที่พบบ่อยที่สด เรี ยกว่า red/green colour blindness โดยจะแยกสีแดงและสีเขียวค่อนข้ าง ุ ลําบาก โดยเฉพาะเวลาที่แสงไม่สว่างนัก ส่วนน้ อยลงมาของคนที่มีตาบอดสี คือพวกที่ไม่สามารถแยกสีนํ ้าเงินกับสีเหลือง จะมีบ้าง เหมือนกันที่เป็ นโรคตาบอดสีทกสีเลย แต่เป็ นส่วนน้ อยมาก คนที่บอดสี แดง-เขียวมักจะบอดสี นํ ้าเงิน-เหลืองด้ วย ทังนี ้ไม่วาจะเป็ นตา ุ ้ ่ บอดสีชนิดใด ล้ วนจะมีสายตาหรื อการมองเห็น (vision) ที่เป็ นปกติ เพียงแต่ความสามารถในการแยกสีไม่ปกติเท่านันเอง ้ กลุมที่มีความผิดปกติที่เกิดขึ ้นมาภายหลัง มักเกิดจากการถูกทําลายของจอประสาทตา เส้ นประสาทตา หรื อส่วนรับรู้ใน ่ สมอง จากสาเหตุตาง ๆ เช่น การอักเสบ ภาวะขาดเลือด อุบติเหตุ เนื ้องอก การเสื่อมลงของจอประสาทตา หรื อผลข้ างเคียง ่ ั จากยาหรื อสารเคมี ผู้ป่วยมักจะมีอาการเรี ยกชื่อสีหรื อเห็นสีผิดไปจากเดิม โดยมากพบความผิดปกติของการมองสีนํ ้าเงินเหลืองมากกว่าแดง เขียว ความผิดปกติของตาทัง้ 2 ข้ างไม่เท่ากัน อาจเป็ นตาเดียวหรื อทัง้ 2 ตา มีการเปลี่ยนแปลงมากขึ ้นหรื อลดลงได้ รวมทัง้ มีความผิดปกติของสายตาด้ านอื่น ๆ เช่น การมองเห็นและลานสายตาลดลงได้ ขึ ้นอยูกบสาเหตุและความรุนแรงของโรค ่ ั
  • 4. สาเหตุของตาบอดสี สาเหตุของตาบอดสีที่เป็ นมาแต่กําเนิด มีเรื่ องของกรรมพันธุ์เข้ ามาเกี่ยวข้ อง ถ่ายทอดทางพันธุกรรมโดยโครโมโซม X  ทําให้ เพศชายถ้ ามีหน่วยพันธุกรรม X ที่ทําให้ เกิดตาบอดสี ก็จะแสดงอาการของตาบอดสีออกมา ในขณะที่เพศหญิงถ้ า หน่วย X นี ้ผิดปกติเพียงหนึงหน่วย ก็ยงสามารถมองเห็นได้ ปกติเห็นปกติได้ ถ้ าหน่วย X อีกตัวหนึ่งไม่ทําให้ เกิดตาบอดสี ่ ั ความผิดปกติของเม็ดสีและเซลล์รับแสงสีเขียวหรื อแดง ถูกควบคุมด้ วยยีนบนโครโมโซม x และมีการถ่ายทอดทางพันธุกรรม แบบ x‐linked recessive จากแม่ไปสูบตรชาย เพราะเหตุนี ้ตาบอดสีสวนใหญ่มกจะเกิดกับเด็กผู้ชาย ซึงได้ รับการ ่ ุ ่ ั ่ ถ่ายทอดมาจากมารดา ในเพศหญิงพบน้ อยกว่าเพศชายประมาณ 16 เท่า หรื อคืดเป็ นประมาณร้ อยละ 0.4 ของประชากร ขณะที่ตาบอดสีทงหมด จะพบได้ ประมาณร้ อยละ 10 ของประชากร และเป็ นการมองเห็นสีเขียวบกพร่องเสียประมาณร้ อยละ 5 ั้ ของประชากร กลุมที่มีความผิดปกติมาตังแต่กําเนิด ตาทัง้ 2 ข้ างจะมีอาการมองเห็นสีผิดปกติเหมือนกัน คงที่ไม่ ่ ้ เปลี่ยนแปลง ผู้ที่สามารถเห็นสีได้ ปกติ จะต้ องมีเซลล์รับแสงสีที่จอประสาทตาครบทัง้ 3 สี คือ แดง เขียว และ นํ ้าเงิน และมีปริมาณเม็ดสีในเซลล์ที่ปกติ รวมทังระบบประสาทตาและการแปลผลที่เป็ นปกติด้วย ้ ส่วนความผิดปกติของเม็ดสี และเซลล์รับแสงสีนํ ้าเงินนัน ถูกควบคุมด้ วยยีนบนโครโมโซม 7 จึงมีการถ่ายทอด ้ แบบ autosomal dominant ซึงจะพบผู้ป่วยกลุมนี ้ได้ น้อย ่ ่ ตาบอดสีอีกกลุมหนึ่ง คือ ตาบอดสีที่เป็ นภายหลัง มักเกิดจากโรคทางจอประสาทตาหรื อโรคของเส้ นประสาท ่ ตาอักเสบ มักจะเสียสีแดงมากกว่าสีอื่น และอาจเสียเพียงเล็กน้ อย คือดูสีที่ควรจะเป็ นนันดูมืดกว่าปกติ หรื อ ้ อาจจะแยกสีนนไม่ได้ เลยก็ได้ ั้
  • 5. คําแนะนําบางประการ ในผู้ป่วยที่มีภาวะตาบอดสีแต่กําเนิด ควรปรึกษาแพทย์เพื่อรับคําแนะนําถึงโอกาสการถ่ายทอดทางพันธุกรรม และโอกาสหลีกเลี่ยงที่ จะทําให้ เกิดภาวะตาบอดสีในหมูญาติ ่ ผู้ที่มีภาวะตาบอดสีภายหลัง ควรรับการตรวจวินิจฉัยถึงสาเหตุ เพื่อแพทย์จะได้ วางแผนการรักษาที่เหมาะสมต่อไป การที่คนใดคนหนึงเกิดตาบอดสีขึ ้น คนๆ นี ้ก็ยงสามารถดํารงชีวิตได้ อย่างปกติเหมือนคนปกติทวๆ ไปได้ เพียงแต่การแปรผลผิดไป ่ ั ั่ จากความจริ งเท่านัน ถ้ าตาบอดสีไม่มากนักสามารถแก้ ไขได้ ด้วยการใช้ แว่นตา ทังนี ้ควรปรึกษาจักษุแพทย์ ซึงจะตรวจเช็คสายตาและ ้ ้ ่ ให้ คําแนะนําในการปรับตัว ตลอดจนแนวทางในการรักษาต่อไป บางครังคนตาบอดสี อาจถูกกีดกันจากสถาบัน หรื ออาชีพบางประเภท ซึงจริ งๆ แล้ ว คนที่ตาบอดสีเพียงแต่เห็นสีผิดไปจากสีที่เป็ นจริ ง ้ ่ ไม่ใช่มองไม่เห็นสีเลย คนที่ตาบอดสีสวนใหญ่เรี ยกสีถก บอกความแตกต่างของไฟจราจรได้ และก็ทํางานส่วนใหญ่ได้ เหมือนคนปกติ เว้ นเสียแต่จะมีสใน ่ ู ี บางแถบสีที่ทําให้ เขาสับสน ในแบบทดสอบอาจจะมีการออกแบบสีในช่วงของแถบสีที่ทําให้ คนตาบอดสีดสบสน ซึงโดยโดยปกติในชีวิตประจําวันคนตาบอดสีจะ ู ั ่ พบสีดงกล่าวน้ อยมาก ั อาชีพที่คนตาบอดสีไม่ควรทํา ได้ แก่ นักเคมีที่ต้องทํางานกับสี จิตรกร อาชีพที่ต้องมีการใช้ สีเป็ นตัวแสดงถึงสิงต่าง ๆ เช่น ในอุปกรณ์ ่ อิเลคโทรนิค ห้ องนักบิน เป็ นต้ น พบว่าคนตาบอดสีมีความสามารถในการแยกสีเฉดเดียวกันที่มีความแตกต่างกันเพียงเล็กน้ อยได้ ดีกว่าคนปกติ เช่น คนตาบอดสีเขียว จะแยกสีที่คล้ ายกัน เช่น เขียวอ่อน เขียวอมเหลือง