SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 16
Baixar para ler offline
The	
  Standard	
  of	
  Web	
  Content	
  
Accessibility	
  Guidelines	
  (WCAG)	
  2.0	
  
Joomla!Day™	
  Bangkok	
  2013	
  
Name: Supachai Teasakul!
Location: Bangkok, Thailand!
Position: Joomla Translation WG - Joomla.org, !
" "LaiThai Developer Team, !
" "Project Manager - Marvelic Engine Co.,Ltd.!
Web: !Marvelic.co.th!
Twitter: !@supa_chai!
About	
  Web	
  Content	
  Accessibility	
  
(WCAG) 2.0 เป็นแนวทางการพัฒนาและออกแบบเว็บไซต์ที่ทุกคนเข้าถึงได้ เพื่อให้
ข้อมูลข่าวสารในเว็บไซต์ต่างๆ ที่มีอยู่นั้น เป็นมาตรฐานที่สามารถให้คนปกติ รวมถึงผู้
มีความพิการหลายๆ กลุ่มเข้าถึงข้อมูลได้ โดยจะเป็นแนวทางในการพัฒนาให้
สามารถใช้เครื่องมือในหลายๆ รูปแบบ เข้าถึงข้อมูลเพื่อได้ผลลัพธ์ออกมาตามแต่ผู้
พิการแต่ละกลุ่มใช้งาน!
!
ตัวอย่างกลุ่มของผู้พิการที่เราต้องพัฒนาข้อมูลบนเว็บไซต์ให้เข้าถึงได้ เช่น ผู้พิการ
ทางสายตา รวมทั้งตาบอดและวิสัยทัศน์ต่ำ สายตามีความไวต่อแสง, คนที่หูหนวก
และการสูญเสียการได้ยิน, ผู้บกพร่องทางการเรียนรู้, มีข้อจำกัดทางภูมิปัญญา,
จำกัดการเคลื่อนไหว, ผู้พิการทางการพูด หรือแม้กระทั่งผู้สูงอายุ!
The	
  Standard	
  
(WCAG) 2.0 นั้น ถูกระบุไว้ในมาตรฐาน ISO/IEC 40500:2012!
http://www.iso.org/iso/home/store/catalogue_tc/catalogue_detail.htm?csnumber=58625!

•  มีการประกาศใช้ “กฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ในการเข้าถึงและใช้
ประโยชน์จากข้อมูลข่าวสาร การสื่อสารบริการโทรคมนาคม เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร เทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อการสื่อสาร และบริการสื่อสาธารณะ สำหรับคน
พิการ พ.ศ. 2554”!
•  มีการออกกรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563!
•  ถูกระบุไว้ในพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550!
หลักการ (Principle)	
  
หลักการตามวัตถุประสงค์ในการออกแบบเว็บไซต์ที่เข้าถึงได้ มี 4 หลักการ!
!
•  หลักการที่ 1 - ผู้อ่านต้องสามารถรับรู้เนื้อหาได้ (Perceivable)!
•  หลักการที่ 2 - องค์ประกอบต่าง ๆ ของการอินเตอร์เฟสกับเนื้อหาจะต้องใช้งานได้ (Operable)!
•  หลักการที่ 3 - ผู้ใช้สามารถเข้าใจเนื้อหา และส่วนควบคุมการทำงานต่างๆ ได้
(Understandable)!
•  หลักการที่ 4 - เนื้อหาต้องมีความยืดหยุ่นที่จะทำงานกับเทคโนโลยีเว็บในปัจจุบันและอนาคตได้
(รวมถึงเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวก) (Robust)!
แนวทาง (Guideline)	
  
แนวทางจะถูกแบ่งออกเป็นข้อๆ ตามหลักการ ดังนี้ี!
!

• 
• 
• 
• 

แนวทางที่ 1.1 - จัดเตรียมข้อมูลที่เป็นข้อความ (Text) แทน เนื้อหาที่มีรูปแบบเป็นอื่น!
แนวทางที่ 1.2 - จัดเตรียมข้อความบรรยายที่ตรงกับเหตุการณ์ในสื่อมัลติมีเดีย!
แนวทางที่ 1.3 - การออกแบบโครงสร้าง และเนื้อหา ต้องสามารถทำงานเป็นอิสระจากกันและกัน!
แนวทางที่ 1.4 - ต้องมั่นใจได้ว่าพื้นหน้าและพื้นหลัง(สีและเสียง) ต้องมีความแตกต่างกันมากพอที่ผู้ใช้จะสามารถแยกแยะได้!

• 
• 
• 
• 

แนวทางที่ 2.1 - การทำงานทุกอย่างต้องรองรับการใช้งานจากคีย์บอร์ดได้!
แนวทางที่ 2.2 - จัดเตรียมเวลาให้เพียงพอในการอ่าน หรือการกระทำใดๆ ของข้อมูล สำหรับผู้ใช้ที่เป็นคนพิการ!
แนวทางที่ 2.3 - ไม่สร้างเนื้อหาที่อาจเป็นสาเหตุของอาการลมชัก!
แนวทางที่ 2.4 - จัดเตรียมทางช่วยเหลือสำหรับผู้ใช้ในการสืบค้นเนื้อหา รู้ว่าตัวเองอยู่ในตำแหน่งใดในเนื้อหา และท่องไปในเนื้อหานั้นได้!

• 
• 
• 

แนวทางที่ 3.1 - สร้างเนื้อหาให้สามารถอ่านและเข้าใจได้!
แนวทางที่ 3.2 - การทำงานของระบบต่างๆ หรือการแสดงผลบนหน้าเว็บ ต้องเป็นสิ่งที่ผู้ใช้สามารถคาดเดาได้!
แนวทางที่ 3.3 - จัดเตรียมส่วนการช่วยเหลือให้ผู้ใช้ให้สามารถกรอกข้อมูลได้ถูกต้อง!

• 

แนวทางที่ 4.1 - รองรับการใช้งานร่วมกับ User Agent ได้ทั้งในปัจจุบัน และอนาคต (รวมถึงเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวก)!
ประโยชน์ (Helpful)	
  
แนวทาง WCAG จะเอื้อต่อผู้พิการ หรือผู้ที่มีความบกพร่อง ทางด้านต่าง ๆ
ดังนี้ี!
!
• 
• 
• 
• 
• 

กลุ่มผู้บกพร่องทางการมองเห็น (Visual)!
กลุ่มผู้พิการทางการเคลื่อนไหวหรือทางร่างกาย (Motor / Mobility)!
ผู้พิการทางการได้ยินและสื่อความหมาย (Auditory)!
ผู้ที่มีปัญหาเรื่องภาพกระพริบ / สีฉูดฉาด (Seizures)!
ผู้บกพร่องด้านความรู้ความเข้าใจ (Cognitive / Intellectual)!
เกณฑ์ความสำเร็จ (Success Criteria)	
  
เป็นตัวบอกระดับความสำเร็จ ของหัวข้อแนวทางที่จะทำให้เป็นไปตาม!
หลักการ แบ่งเป็น 3 ระดับ!
!
•  ระดับ เอ (A) !
เป็นเกณฑ์ที่ *ต้อง* ปฏิบัติตาม เพื่อให้คนพิการเข้าถึงเว็บไซต์ได้ (พอใช้)!
•  ระดับ ดับเบิ้ลเอ (AA) !
เป็นเกณฑ์ที่ *ควรจะ* ปฏิบัติตาม เพื่อให้คนพิการเข้าถึงเว็บไซต์ได้ง่ายขึ้น (ดี)!
•  ระดับ ทริปเปิ้ลเอ (AAA) !
เป็นเกณฑ์ที่ *อาจจะ* ปฏิบัติตาม เพื่อให้คนพิการเข้าถึงเว็บไซต์ได้ง่ายที่สุด (ดีมาก)!
Reference : http://www.w3.org/TR/UNDERSTANDING-WCAG20/conformance.html!
ระดับการเข้าถึง (Level)	
  
เพื่อให้ทราบถึงว่าเว็บไซต์ใดเป็นเว็บไซต์ที่อำนวยความสะดวกให้กับคนพิการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้นั้นได้
จะต้องมีสัญลักษณ์ *(Icon) กำกับอยู่ที่หน้าเว็บของเว็บไซต์นั้นๆ ซึ่งหมายถึงการที่เว็บไซต์นั้นๆ ได้ผ่านการ
ตรวจสอบความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลได้ ตามแนวทางของการเข้าถึงข้อมูล !
สำหรับสัญลักษณ์ที่แสดงนั้นจะแบ่งความสามารถในการเข้าถึงเป็น 3 ระดับ!
•  ระดับ เอ (A) !
หมายถึง ผ่านการตรวจสอบตามเกณฑ์การตรวจสอบทั้งหมด ที่กำหนดในระดับเอ!
•  ระดับ ดับเบิ้ลเอ (AA) !
หมายถึง ผ่านการตรวจสอบตามเกณฑ์การตรวจสอบทั้งหมด ที่กำหนดในระดับเอ และดับเบิ้ลเอ!
•  ระดับ ทริปเปิ้ลเอ (AAA) !
หมายถึง ผ่านการตรวจสอบตามเกณฑ์การตรวจสอบทั้ง 3 ระดับ!

* Reference : http://www.w3.org/WAI/WCAG2-Conformance!
Jomla!	
  Accessibility	
  Standards	
  
WCAG,
!
WCAG is produced and maintained by the World Wide Web consortium (W3C). WCAG's standards are
based on three levels named Priority 1, Priority 2, and Priority 3. Priority 1 maintains the most basic
requirements that a site should attain in order to be accessible. A good place to start in getting more
information about WCAG can be found in their Web Content Accessibility Guidelines 2.0 !
(http://www.w3.org/TR/WCAG20/)!
!
!

Section 508,
!
Section 508 is a US federal law enacted in 1998. Its basis was for use in all government agencies but it has
since been adopted by the wider community as a benchmark for web accessibility. For more information on
Section 508 we suggest you have a look at the official website. !
(http://www.section508.gov)!
Web	
  Accessibility	
  on	
  Joomla!	
  
แบ่งออกได้ 2 ส่วนหลักๆ คือ!
•  Content : คือการเขียนเนื้อหาบนเว็บไซต์โดยใส่ข้อมูลต่างๆ ให้ครบตาม
มาตฐาน HTML (HTML Elements, HTML Attributes)!
!
•  Template : คือการใช้ หรือการสร้างให้มีเครื่องมือในการเอื้ออำนวย
ความสะดวกต่อผู้ใช้ ในการเข้าถึงเนื้อหา หรือใช้งานเว็บไซต์ได้ดีขึ้น
ครบถ้วนตามมาตฐาน!
Accessibility in	
  Content	
  
• 
• 
• 
• 
• 
• 

Images alternative text!
Link title!
Modal boxes!
Medias in content!
Forms are accessible!
Site map!
Accessibility in	
  Template	
  
•  Template!
–  Style!
–  Font size tools!
–  TAB keyboard support!
–  Screen Reader support!
การทำเว็บไซต์ Joomla ของเราให้เข้าถึงได้มากขึ้น	
  
เพิ่มข้อความ ALT ให้กับทุกภาพบนเว็บไซต์ของเรา นอกเหนือจากการใส่ลงไปบนภาพ!
ใช้เครื่องหมายที่แสดงความหมายที่ถูกต้องที่หัวเรื่องของเนื้อหาบนเว็บไซต์ (HTML Headings) โดยเริ่มจาก H1-H6 ตามลำดับ
เพื่อบ่งบอกลำดับความสำคัญของแต่ละหัวเรื่อง!

• 
• 
!
• 

• 

• 

จัดเรียงเนื้อหาของคุณในทางตรรกะ หรือทำการเพิ่มสถานะ :focus เพื่อเป็นการเชื่อมโยงภายในเว็บไซต์ของเรา จากนั้น ให้
ทำการทดลอง และเพิ่มการนำทางบนหน้าเว็บไซต์ของเราผ่านแป้นพิมพ์ปุ่ม TAB และพยายามคิดแทนผู้พิการว่า ถ้าเรากด
แป้นพิมพ์แล้ว มันจะไปที่ไหนบ้าง เพื่อให้ไปยังจุดต่างๆ ได้ ถ้าเราไม่สามารถมองเห็นเราจะอยู่ส่วนไหนบนหน้าเว็บ โดยเมื่อกด
แท็บแล้วเราจะได้เห็นในจุดที่เชื่อมโยงต่างๆ กันบนหน้าเว็บไซต์ไปเรื่อยๆ!
พิจารณาสีบนเว็บไซต์ของคุณ โดยคำนึงถึงผู้ใช้ที่เป็นคนตาบอดสีและวิธีการที่คนตาบอดสีอาจจะเข้ามาดูเว็บไซต์ของเรา ให้ดูที่
ระดับความคมชัดของข้อความและพื้นหลังของข้อความบนเว็บของเรา ถ้าสีสดมากเกินไป หรือที่มีระดับของความคมชัดต่ำ ซึ่ง
อาจจะกลายเป็นสิ่งที่ยากต่อการอ่าน !
การตรวจสอบระดับความคมชัด ผ่านเว็บได้ท AIM (http://webaim.org/resources/contrastchecker/)!
ทำการเพิ่มแท็ก *WAI-ARIA ลงไปยังเว็บไซต์ Joomla ของเรา โดยทำเป็นลิงค์ช่วยเหลือสำหรับผู้ที่ใช้โปรแกรมอ่านหน้าจอ !
<main role="main">!

!
* WAI-ARIA [ Web Accessibility Initiative (WAI) - Accessible Rich Internet Applications (ARIA) ]!
http://www.w3.org/TR/wai-aria/!
http://www.w3.org/WAI/!
http://www-03.ibm.com/able/resources/wai_aria_intro.html!
Accessibility	
  Extensions	
  
•  Screen	
  Reader	
  
•  ArLcle	
  PXFont	
  Size	
  
•  Resizer	
  &	
  High	
  Contrast	
  
•  Zoom	
  
http://extensions.joomla.org/extensions/style-a-design/accessibility!
Reference	
  
• 
• 
• 
• 
• 
• 

http://www.w3.org/TR/WCAG20/!
http://www.w3.org/WAI/intro/wcag.php!
http://th.wikipedia.org/wiki/Web_Content_Accessibility_Guidelines!
http://www.thaiwebaccessibility.com/!
http://thaicss.com/!
http://docs.joomla.org/Accessibility_standards!

Validated site,
•  http://www.thaiwebaccessibility.com/validated-site!
•  http://wave.webaim.org/!
•  http://webaim.org/resources/contrastchecker/!
Thank	
  You	
  

Mais conteúdo relacionado

Destaque

Java script เบื้องต้น
Java script เบื้องต้นJava script เบื้องต้น
Java script เบื้องต้น
Samart Phetdee
 

Destaque (12)

JoomlaTalk#9 - Joomla Security
JoomlaTalk#9  - Joomla SecurityJoomlaTalk#9  - Joomla Security
JoomlaTalk#9 - Joomla Security
 
Digital Content for Business
Digital Content for BusinessDigital Content for Business
Digital Content for Business
 
Cms Solutions
Cms SolutionsCms Solutions
Cms Solutions
 
eCommerce extensions for joomla 3.x
eCommerce extensions for joomla 3.xeCommerce extensions for joomla 3.x
eCommerce extensions for joomla 3.x
 
Java script เบื้องต้น
Java script เบื้องต้นJava script เบื้องต้น
Java script เบื้องต้น
 
Php training
Php trainingPhp training
Php training
 
สร้าง Style ด้วย css 3
สร้าง Style ด้วย css 3สร้าง Style ด้วย css 3
สร้าง Style ด้วย css 3
 
เขียนเว็บไซต์ด้วย Html 5
เขียนเว็บไซต์ด้วย Html 5เขียนเว็บไซต์ด้วย Html 5
เขียนเว็บไซต์ด้วย Html 5
 
Bootstrap 3 สำหรับมือใหม่ | CloudCourse.io
Bootstrap 3 สำหรับมือใหม่ | CloudCourse.ioBootstrap 3 สำหรับมือใหม่ | CloudCourse.io
Bootstrap 3 สำหรับมือใหม่ | CloudCourse.io
 
การสร้างเว็บด้วย Bootstrap framework
การสร้างเว็บด้วย Bootstrap frameworkการสร้างเว็บด้วย Bootstrap framework
การสร้างเว็บด้วย Bootstrap framework
 
แนะนำ HTML5 แบบอ่านจบต้องรู้บ้างแหละ
แนะนำ HTML5 แบบอ่านจบต้องรู้บ้างแหละแนะนำ HTML5 แบบอ่านจบต้องรู้บ้างแหละ
แนะนำ HTML5 แบบอ่านจบต้องรู้บ้างแหละ
 
Bootstrap 3 Basic - Bangkok WordPress Meetup
Bootstrap 3 Basic - Bangkok WordPress MeetupBootstrap 3 Basic - Bangkok WordPress Meetup
Bootstrap 3 Basic - Bangkok WordPress Meetup
 

Semelhante a The Standard of Web Content Accessibility Guidelines (WCAG) 2.0

Government 2.0 กับการเปลี่ยนแปลงองค์กร
Government 2.0 กับการเปลี่ยนแปลงองค์กรGovernment 2.0 กับการเปลี่ยนแปลงองค์กร
Government 2.0 กับการเปลี่ยนแปลงองค์กร
Thanachart Numnonda
 
Joomla O public version
Joomla O public versionJoomla O public version
Joomla O public version
thanathip
 

Semelhante a The Standard of Web Content Accessibility Guidelines (WCAG) 2.0 (20)

Twcag2008
Twcag2008Twcag2008
Twcag2008
 
นุม บท2
นุม บท2นุม บท2
นุม บท2
 
Joomla 2.5-netdesign
Joomla 2.5-netdesignJoomla 2.5-netdesign
Joomla 2.5-netdesign
 
Security CMS - Opensoure2Day event
Security CMS - Opensoure2Day eventSecurity CMS - Opensoure2Day event
Security CMS - Opensoure2Day event
 
Copyright license-sipa2
Copyright license-sipa2Copyright license-sipa2
Copyright license-sipa2
 
Government 2.0 กับการเปลี่ยนแปลงองค์กร
Government 2.0 กับการเปลี่ยนแปลงองค์กรGovernment 2.0 กับการเปลี่ยนแปลงองค์กร
Government 2.0 กับการเปลี่ยนแปลงองค์กร
 
ศักยภาพของนักพัฒนาซอฟต์แวร์ไทย กับ การบริหารจัดการสิทธิเหนือลิขสิทธิ์
ศักยภาพของนักพัฒนาซอฟต์แวร์ไทย  กับ การบริหารจัดการสิทธิเหนือลิขสิทธิ์ศักยภาพของนักพัฒนาซอฟต์แวร์ไทย  กับ การบริหารจัดการสิทธิเหนือลิขสิทธิ์
ศักยภาพของนักพัฒนาซอฟต์แวร์ไทย กับ การบริหารจัดการสิทธิเหนือลิขสิทธิ์
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
Web 2.0 & Social Networking
Web 2.0 & Social NetworkingWeb 2.0 & Social Networking
Web 2.0 & Social Networking
 
Joomla present at Bangkok University
Joomla present at Bangkok UniversityJoomla present at Bangkok University
Joomla present at Bangkok University
 
Joomla O public version
Joomla O public versionJoomla O public version
Joomla O public version
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 

The Standard of Web Content Accessibility Guidelines (WCAG) 2.0

  • 1. The  Standard  of  Web  Content   Accessibility  Guidelines  (WCAG)  2.0   Joomla!Day™  Bangkok  2013   Name: Supachai Teasakul! Location: Bangkok, Thailand! Position: Joomla Translation WG - Joomla.org, ! " "LaiThai Developer Team, ! " "Project Manager - Marvelic Engine Co.,Ltd.! Web: !Marvelic.co.th! Twitter: !@supa_chai!
  • 2. About  Web  Content  Accessibility   (WCAG) 2.0 เป็นแนวทางการพัฒนาและออกแบบเว็บไซต์ที่ทุกคนเข้าถึงได้ เพื่อให้ ข้อมูลข่าวสารในเว็บไซต์ต่างๆ ที่มีอยู่นั้น เป็นมาตรฐานที่สามารถให้คนปกติ รวมถึงผู้ มีความพิการหลายๆ กลุ่มเข้าถึงข้อมูลได้ โดยจะเป็นแนวทางในการพัฒนาให้ สามารถใช้เครื่องมือในหลายๆ รูปแบบ เข้าถึงข้อมูลเพื่อได้ผลลัพธ์ออกมาตามแต่ผู้ พิการแต่ละกลุ่มใช้งาน! ! ตัวอย่างกลุ่มของผู้พิการที่เราต้องพัฒนาข้อมูลบนเว็บไซต์ให้เข้าถึงได้ เช่น ผู้พิการ ทางสายตา รวมทั้งตาบอดและวิสัยทัศน์ต่ำ สายตามีความไวต่อแสง, คนที่หูหนวก และการสูญเสียการได้ยิน, ผู้บกพร่องทางการเรียนรู้, มีข้อจำกัดทางภูมิปัญญา, จำกัดการเคลื่อนไหว, ผู้พิการทางการพูด หรือแม้กระทั่งผู้สูงอายุ!
  • 3. The  Standard   (WCAG) 2.0 นั้น ถูกระบุไว้ในมาตรฐาน ISO/IEC 40500:2012! http://www.iso.org/iso/home/store/catalogue_tc/catalogue_detail.htm?csnumber=58625! •  มีการประกาศใช้ “กฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ในการเข้าถึงและใช้ ประโยชน์จากข้อมูลข่าวสาร การสื่อสารบริการโทรคมนาคม เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร เทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อการสื่อสาร และบริการสื่อสาธารณะ สำหรับคน พิการ พ.ศ. 2554”! •  มีการออกกรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563! •  ถูกระบุไว้ในพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550!
  • 4. หลักการ (Principle)   หลักการตามวัตถุประสงค์ในการออกแบบเว็บไซต์ที่เข้าถึงได้ มี 4 หลักการ! ! •  หลักการที่ 1 - ผู้อ่านต้องสามารถรับรู้เนื้อหาได้ (Perceivable)! •  หลักการที่ 2 - องค์ประกอบต่าง ๆ ของการอินเตอร์เฟสกับเนื้อหาจะต้องใช้งานได้ (Operable)! •  หลักการที่ 3 - ผู้ใช้สามารถเข้าใจเนื้อหา และส่วนควบคุมการทำงานต่างๆ ได้ (Understandable)! •  หลักการที่ 4 - เนื้อหาต้องมีความยืดหยุ่นที่จะทำงานกับเทคโนโลยีเว็บในปัจจุบันและอนาคตได้ (รวมถึงเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวก) (Robust)!
  • 5. แนวทาง (Guideline)   แนวทางจะถูกแบ่งออกเป็นข้อๆ ตามหลักการ ดังนี้ี! ! •  •  •  •  แนวทางที่ 1.1 - จัดเตรียมข้อมูลที่เป็นข้อความ (Text) แทน เนื้อหาที่มีรูปแบบเป็นอื่น! แนวทางที่ 1.2 - จัดเตรียมข้อความบรรยายที่ตรงกับเหตุการณ์ในสื่อมัลติมีเดีย! แนวทางที่ 1.3 - การออกแบบโครงสร้าง และเนื้อหา ต้องสามารถทำงานเป็นอิสระจากกันและกัน! แนวทางที่ 1.4 - ต้องมั่นใจได้ว่าพื้นหน้าและพื้นหลัง(สีและเสียง) ต้องมีความแตกต่างกันมากพอที่ผู้ใช้จะสามารถแยกแยะได้! •  •  •  •  แนวทางที่ 2.1 - การทำงานทุกอย่างต้องรองรับการใช้งานจากคีย์บอร์ดได้! แนวทางที่ 2.2 - จัดเตรียมเวลาให้เพียงพอในการอ่าน หรือการกระทำใดๆ ของข้อมูล สำหรับผู้ใช้ที่เป็นคนพิการ! แนวทางที่ 2.3 - ไม่สร้างเนื้อหาที่อาจเป็นสาเหตุของอาการลมชัก! แนวทางที่ 2.4 - จัดเตรียมทางช่วยเหลือสำหรับผู้ใช้ในการสืบค้นเนื้อหา รู้ว่าตัวเองอยู่ในตำแหน่งใดในเนื้อหา และท่องไปในเนื้อหานั้นได้! •  •  •  แนวทางที่ 3.1 - สร้างเนื้อหาให้สามารถอ่านและเข้าใจได้! แนวทางที่ 3.2 - การทำงานของระบบต่างๆ หรือการแสดงผลบนหน้าเว็บ ต้องเป็นสิ่งที่ผู้ใช้สามารถคาดเดาได้! แนวทางที่ 3.3 - จัดเตรียมส่วนการช่วยเหลือให้ผู้ใช้ให้สามารถกรอกข้อมูลได้ถูกต้อง! •  แนวทางที่ 4.1 - รองรับการใช้งานร่วมกับ User Agent ได้ทั้งในปัจจุบัน และอนาคต (รวมถึงเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวก)!
  • 6. ประโยชน์ (Helpful)   แนวทาง WCAG จะเอื้อต่อผู้พิการ หรือผู้ที่มีความบกพร่อง ทางด้านต่าง ๆ ดังนี้ี! ! •  •  •  •  •  กลุ่มผู้บกพร่องทางการมองเห็น (Visual)! กลุ่มผู้พิการทางการเคลื่อนไหวหรือทางร่างกาย (Motor / Mobility)! ผู้พิการทางการได้ยินและสื่อความหมาย (Auditory)! ผู้ที่มีปัญหาเรื่องภาพกระพริบ / สีฉูดฉาด (Seizures)! ผู้บกพร่องด้านความรู้ความเข้าใจ (Cognitive / Intellectual)!
  • 7. เกณฑ์ความสำเร็จ (Success Criteria)   เป็นตัวบอกระดับความสำเร็จ ของหัวข้อแนวทางที่จะทำให้เป็นไปตาม! หลักการ แบ่งเป็น 3 ระดับ! ! •  ระดับ เอ (A) ! เป็นเกณฑ์ที่ *ต้อง* ปฏิบัติตาม เพื่อให้คนพิการเข้าถึงเว็บไซต์ได้ (พอใช้)! •  ระดับ ดับเบิ้ลเอ (AA) ! เป็นเกณฑ์ที่ *ควรจะ* ปฏิบัติตาม เพื่อให้คนพิการเข้าถึงเว็บไซต์ได้ง่ายขึ้น (ดี)! •  ระดับ ทริปเปิ้ลเอ (AAA) ! เป็นเกณฑ์ที่ *อาจจะ* ปฏิบัติตาม เพื่อให้คนพิการเข้าถึงเว็บไซต์ได้ง่ายที่สุด (ดีมาก)! Reference : http://www.w3.org/TR/UNDERSTANDING-WCAG20/conformance.html!
  • 8. ระดับการเข้าถึง (Level)   เพื่อให้ทราบถึงว่าเว็บไซต์ใดเป็นเว็บไซต์ที่อำนวยความสะดวกให้กับคนพิการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้นั้นได้ จะต้องมีสัญลักษณ์ *(Icon) กำกับอยู่ที่หน้าเว็บของเว็บไซต์นั้นๆ ซึ่งหมายถึงการที่เว็บไซต์นั้นๆ ได้ผ่านการ ตรวจสอบความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลได้ ตามแนวทางของการเข้าถึงข้อมูล ! สำหรับสัญลักษณ์ที่แสดงนั้นจะแบ่งความสามารถในการเข้าถึงเป็น 3 ระดับ! •  ระดับ เอ (A) ! หมายถึง ผ่านการตรวจสอบตามเกณฑ์การตรวจสอบทั้งหมด ที่กำหนดในระดับเอ! •  ระดับ ดับเบิ้ลเอ (AA) ! หมายถึง ผ่านการตรวจสอบตามเกณฑ์การตรวจสอบทั้งหมด ที่กำหนดในระดับเอ และดับเบิ้ลเอ! •  ระดับ ทริปเปิ้ลเอ (AAA) ! หมายถึง ผ่านการตรวจสอบตามเกณฑ์การตรวจสอบทั้ง 3 ระดับ! * Reference : http://www.w3.org/WAI/WCAG2-Conformance!
  • 9. Jomla!  Accessibility  Standards   WCAG, ! WCAG is produced and maintained by the World Wide Web consortium (W3C). WCAG's standards are based on three levels named Priority 1, Priority 2, and Priority 3. Priority 1 maintains the most basic requirements that a site should attain in order to be accessible. A good place to start in getting more information about WCAG can be found in their Web Content Accessibility Guidelines 2.0 ! (http://www.w3.org/TR/WCAG20/)! ! ! Section 508, ! Section 508 is a US federal law enacted in 1998. Its basis was for use in all government agencies but it has since been adopted by the wider community as a benchmark for web accessibility. For more information on Section 508 we suggest you have a look at the official website. ! (http://www.section508.gov)!
  • 10. Web  Accessibility  on  Joomla!   แบ่งออกได้ 2 ส่วนหลักๆ คือ! •  Content : คือการเขียนเนื้อหาบนเว็บไซต์โดยใส่ข้อมูลต่างๆ ให้ครบตาม มาตฐาน HTML (HTML Elements, HTML Attributes)! ! •  Template : คือการใช้ หรือการสร้างให้มีเครื่องมือในการเอื้ออำนวย ความสะดวกต่อผู้ใช้ ในการเข้าถึงเนื้อหา หรือใช้งานเว็บไซต์ได้ดีขึ้น ครบถ้วนตามมาตฐาน!
  • 11. Accessibility in  Content   •  •  •  •  •  •  Images alternative text! Link title! Modal boxes! Medias in content! Forms are accessible! Site map!
  • 12. Accessibility in  Template   •  Template! –  Style! –  Font size tools! –  TAB keyboard support! –  Screen Reader support!
  • 13. การทำเว็บไซต์ Joomla ของเราให้เข้าถึงได้มากขึ้น   เพิ่มข้อความ ALT ให้กับทุกภาพบนเว็บไซต์ของเรา นอกเหนือจากการใส่ลงไปบนภาพ! ใช้เครื่องหมายที่แสดงความหมายที่ถูกต้องที่หัวเรื่องของเนื้อหาบนเว็บไซต์ (HTML Headings) โดยเริ่มจาก H1-H6 ตามลำดับ เพื่อบ่งบอกลำดับความสำคัญของแต่ละหัวเรื่อง! •  •  ! •  •  •  จัดเรียงเนื้อหาของคุณในทางตรรกะ หรือทำการเพิ่มสถานะ :focus เพื่อเป็นการเชื่อมโยงภายในเว็บไซต์ของเรา จากนั้น ให้ ทำการทดลอง และเพิ่มการนำทางบนหน้าเว็บไซต์ของเราผ่านแป้นพิมพ์ปุ่ม TAB และพยายามคิดแทนผู้พิการว่า ถ้าเรากด แป้นพิมพ์แล้ว มันจะไปที่ไหนบ้าง เพื่อให้ไปยังจุดต่างๆ ได้ ถ้าเราไม่สามารถมองเห็นเราจะอยู่ส่วนไหนบนหน้าเว็บ โดยเมื่อกด แท็บแล้วเราจะได้เห็นในจุดที่เชื่อมโยงต่างๆ กันบนหน้าเว็บไซต์ไปเรื่อยๆ! พิจารณาสีบนเว็บไซต์ของคุณ โดยคำนึงถึงผู้ใช้ที่เป็นคนตาบอดสีและวิธีการที่คนตาบอดสีอาจจะเข้ามาดูเว็บไซต์ของเรา ให้ดูที่ ระดับความคมชัดของข้อความและพื้นหลังของข้อความบนเว็บของเรา ถ้าสีสดมากเกินไป หรือที่มีระดับของความคมชัดต่ำ ซึ่ง อาจจะกลายเป็นสิ่งที่ยากต่อการอ่าน ! การตรวจสอบระดับความคมชัด ผ่านเว็บได้ท AIM (http://webaim.org/resources/contrastchecker/)! ทำการเพิ่มแท็ก *WAI-ARIA ลงไปยังเว็บไซต์ Joomla ของเรา โดยทำเป็นลิงค์ช่วยเหลือสำหรับผู้ที่ใช้โปรแกรมอ่านหน้าจอ ! <main role="main">! ! * WAI-ARIA [ Web Accessibility Initiative (WAI) - Accessible Rich Internet Applications (ARIA) ]! http://www.w3.org/TR/wai-aria/! http://www.w3.org/WAI/! http://www-03.ibm.com/able/resources/wai_aria_intro.html!
  • 14. Accessibility  Extensions   •  Screen  Reader   •  ArLcle  PXFont  Size   •  Resizer  &  High  Contrast   •  Zoom   http://extensions.joomla.org/extensions/style-a-design/accessibility!