SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 17
ระบบบำบัดน้ำเสียทำงเคมี
การตกตะกอน (Coagulation)
การทาให้เป็นกลาง (Neutralization)
การแลกประจุ (Ion Exchange)
การดูดซับด้วยผงถ่าน (Carbon Adsorption)
การทาลายเชื้อโรค (Disinfection)
 น้าเสียที่มีสารแขวนลอยที่มีประจุลบ เช่น ดินเหนียว ไม่สามารถจะตกตะกอนเองได้
จาเป็นที่จะต้องหาสารเคมีที่มีประจุบวกเติมลงไปเพื่อทาให้เกิดความเป็ นกลาง กวนให้
เกิดการรวมตัวจนได้ตะกอนใหญ่ขึ้นและตกลงมายังก้นถังได้ สารเคมีที่มีประจุบวกเป็น
จานวนมาก ได้แก่ สารส้ม และเกลือเหล็ก แต่ที่นิยมใช้กันคือ สารส้ม เพราะมีราคาถูก
แต่ตะกอนที่ตกด้วยสารส้มจะเบารีดน้าออกยากกว่าตะกอนที่เกิดจากเกลือเหล็ก ในบาง
กรณีอาจต้องใช้สารส้มปริมาณสูง จึงจะเกิดผลตามต้องการ ทาให้มีราคงแพงกว่าการใช้
เกลือเหล็กซึ่งให้ผลเช่นเดียวกัน เช่น การกาจัดสีจากโรงงานฟอกย้อม หากใช้สารส้มจะ
ใช้ปริมาณสูงถึง 600 มิลลิกรัมต่อลิตร เมื่อเปลี่ยนมาใช้เกลือเหล็กปริมาณความต้องการ
เพียง 13 มิลลิกรัมต่อลิตรก็สามารถลดสีจนได้มาตรฐานน้าทิ้ง (300 ADMI) ตามต้องการ
เมื่อคิดเป็นค่าใช้จ่ายในการใช้สารส้มจะสูงเกือบเป็น 10 เท่าของเกลือเหล็ก
ตะกอนดิน สารเคมีประจุบวก
ตะกอนดิน สารเคมีประจุบวก
กาจัดตะกอนโลหะหนักที่เป็นอันตราย จะต้องนาไปกาจัด มิฉะนั้น
แล้วจะเกิดอันตรายต่อระบบนิเวศได้
สารละลายอินทรีย์บางประเภท อาจกาจัดออกได้ด้วยวิธีเคมีหากปรับ
สภาพให้เกิดปฏิกิริยาได้อย่างเหมาะสม และมีราคาถูกว่าระบบ
ชีวภาพมากเพราะใช้พลังงานน้อยกว่า ปฏิกิริยาเกิดขึ้นได้รวดเร็วกว่า
และปริมาณพื้นที่ที่ต้องการใช้ยังน้อยกว่า
 เป็นการปรับสภาพความเป็นกรด-ด่าง หรือพีเอชให้อยู่ในสภาพที่เป็นกลาง เพื่อให้เกิด
ความเหมาะสมที่จะนาไปบาบัดน้าเสียในขั้นอื่นต่อไป
 กระบวนการบาบัดน้าเสียด้วยวิธีทางชีวภาพซึ่งต้องการน้าเสียที่มีค่าพีเอชอยู่ระหว่าง
6.5 - 8.5
 ค่าพีเอชในน้าทิ้งควรอยู่ระหว่าง 5 - 9
 ถ้าพีเอชต่าจะต้องปรับสภาพด้วยด่าง ด่างที่นิยมนามาใช้คือ โซดาไฟ (NaOH) ปูนขาว
(CaO) หรือ แอมโมเนีย (NH3) เป็นต้น และถ้าน้าเสียมีค่าพีเอชสูงต้องทาการปรับสภาพ
พีเอชให้เป็นกลางโดยใช้กรด กรดที่นิยมนามาใช้ ได้แก่ กรดกามะถัน (H2SO4) กรด
เกลือ (HCl) หรือก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)
สารสังเคราะห์ประเภทเรซิน (Synthetic Resin) มีความสามารถในการแลก
ประจุได้ดี นิยมนามากาจัดโลหะหนัก เช่น เหล็กและโครเมียม หรือพวก
สารอาหาร เช่น ไนโตรเจน แอมโมเนีย และฟอสเฟต ออกจากน้าทิ้ง และ
ป้ องกันไม่ให้สาหร่ายเกิดขึ้นมากเกินต้องการ
สารอาหารที่ถูกเรซินจับไว้สามารถนากลับมาใช้ประโยชน์ได้อีก ส่วนตัวเรซิน
สังเคราะห์เมื่อใช้งานหมดประสิทธิภาพแล้ว นากลับมาปรับคืนสภาพ
(Regenerate) ด้วยกรดเกลือ (HCI) หรือเกลือแกง (NaCl) แล้วนามาใช้ใหม่
ได้การปรับคืนสภาพสามารถทาได้หลายครั้งมาก ทาให้อายุการใช้งาน
ของเรซินนานถึง 3-4 ปี หรือมากกว่า
ประเภทของเรซิน
 เรซินที่เป็นกรด จะเป็นกรดแก่หรือกรดอ่อนที่นามาแลกเปลี่ยนกับประจุ
บวก เมื่อประสิทธิภาพในการแลกประจุหมดลง ก็นามาปรับคืนสภาพด้วย
เกลือแกงหรือกรดเกลือ
 เรซินที่เป็นด่าง จะเป็นด่างแก่หรือด่างอ่อน นามาแลกเปลี่ยนกับประจุลบ
และสามารถปรับฟื้นคืนสภาพด้วยโซดาไฟ กรดเกลือหรือสารละลาย
แอมโมเนียตามคุณสมบัติของเรซินที่นามาใช้
 เรซินแต่ละตัวจะมีคุณสมบัติแตกต่างกันไป แม้ว่าจะอยู่กลุ่มเดียวกันก็ตาม
คุณสมบัติของมันจะถูกกาหนดไว้เพื่อให้ผู้ใช้เลือกใช้อย่างถูกต้องว่า เรซินตัว
นั้นมีความสามารถแลกประจุได้มากน้อยเพียงใด จับสารอะไรได้ดี ปรับคืน
สภาพอย่างไร เมื่อไม่สามารถปรับคืนสภาพแล้วจะต้องเผาทิ้งที่อุณหภูมิ
เท่าใดจึงไม่เกิดปัญหากับสิ่งแวดล้อม เป็นต้น
 การบาบัดน้าเสียด้วยวิธีแลกประจุได้ผลรวดเร็ว ใช้พื้นที่น้อย ประสิทธิภาพ
สูง อาจได้ผลพลอยได้นากลับมาใช้ประโยชน์ได้ใหม่ เช่น การบาบัดน้าเสีย
จากกระบวนการเคลือบผิวด้วยโครเมียม น้าเสียจะเป็นพวกกรดโครมิคที่ไม่
บริสุทธิ์ ผ่านเข้ามายังเรซินเปลี่ยนประจุบวก แล้วจะได้กรดโครมิคที่บริสุทธิ์
ออกมา เป็นต้น
 การดูดซับด้วยผงถ่านเป็นกระบวนการที่ใช้ผงถ่านดูดซับเอาสารเคมี (สา
รอนินทรีย์และสารอินทรีย์) บางชนิดที่ละลายอยู่ในน้าเสีย หลังจากแยกเอา
ผงถ่านออกแล้วจะได้น้าทิ้งที่ได้มาตรฐานระบายออกจากโรงงานได้
การผลิตผงถ่าน
 ผงถ่านที่นามาดูดซับสี สารอินทรีย์ หรือสารอนินทรีย์ เป็นผง
ถ่านที่มีขนาดเล็ก 0.1 มิลลิเมตรผ่านการเผาในเตาที่มีออกซิเจน
จนร้อนแดงเพื่อไล่สารพวกไฮโดรคาร์บอน แล้วนามาแอกติเวท
(Activate) ด้วยก๊าซ (Oxidizing Gas) จนโครงสร้างพรุนไปทั่ว
จากนั้นนามาแยกขนาด
การนาไปใช้งาน
 ผงถ่านพวกนี้เมื่อนามาใช้คล้ายวัสดุกรองในถังกรอง โดยปล่อยให้น้าเสียที่ต้องการ
กาจัดไหลผ่านถังกรองถ่านช้าๆ เพื่อให้เกิดการดูดซับได้เต็มที่ น้าที่ผ่านการกรองนี้แล้ว
จะระบายทิ้งหรือนากลับมาใช้ประโยชน์อย่างอื่นได้
 ส่วนตัวผงถ่านที่หมดประสิทธิภาพการดูดซับแล้ว สามารถนากลับมาล้างด้วยสารเคมี
เพื่อปรับคืนสภาพ แล้วนามาใช้ใหม่ได้ ทาซ้าๆ เช่นนี้ไปจนกว่าผงถ่านนั้นจะหมดสภาพ
ไปจริงๆ
 ในกรณีนี้ใช้ได้กับการดูดซับที่ไม่เกิดปฏิกิริยาเคมีติดแน่นกับผงถ่าน หากในระหว่างการ
กรองหรือดูดซับเกิดปฏิกิริยาเคมีติดแน่นกับผงถ่านก็
ไม่สามารถนามาปรับคืนสภาพได้ต้องนาไปกาจัดด้วยการเผาต่อไป
ปัญหาที่พบบ่อย
 ปัญหาในการดูดซับ คือ ปัญหาของพื้นผิวนอกอุดตันจนปิดช่องว่า
ระหว่างเม็ดถ่านทาให้น้าเสียไหลผ่านลงไปไม่ได้ จาเป็ นต้องล้างสิ่ง
สกปรกเหล่านั้นออกแบบเดียวกับการล้างทรายกรอง
 การตรวจสอบเพื่อหาปริมาณผงถ่านที่เหมาะสมต่อการดูดซับ
ตลอดจนหาจานวนครั้งที่นาผงถ่านนั้นกลับมาใช้ซ้า สามารถทาได้ใน
ห้องทดลองโดยใช้หลักการของไอโซเทอม (Isothem) ข้อมูลที่ได้จาก
การทาไอโซเทอมสามารถนามาหาคาตอบที่ต้องการได้ เราจะทราบ
ได้ว่า 1 หน่วยน้าหนักของผงถ่านจะดูดซับสารชนิดนั้น ๆ ได้เท่าไร
เป็นต้น
 การทาลายเชื้อโรคในน้าเสียเป็นการทาลายจุลินทรีย์ที่ทาให้เกิดโรคโดยใช้
เคมีหรือสารอื่น ๆ โดยมีวัตถุประสงค์คือ เพื่อป้ องกันการแพร่กระจายของเชื้อ
โรคมาสู่คนและเพื่อทาลายห่วงโซ่ของเชื้อโรคและการติดเชื้อก่อนที่จะถูก
ปล่อยลงแหล่งน้าธรรมชาติ ซึ่งสารเคมีที่ใช้ในการกาจัดเชื้อโรค ได้แก่ คลอรีน
และสารประกอบคลอรีน โบรมีน ไอโอดีน โอโซน ฟีนอลและสารประกอบ
ของฟีนอล แอลกอฮอล์ เป็นต้น ซึ่งคลอรีนเป็นสารเคมีที่นิยมใช้มาก

Mais conteúdo relacionado

Destaque

AAPS Advanced Controls Uploaded 2
AAPS Advanced Controls Uploaded 2AAPS Advanced Controls Uploaded 2
AAPS Advanced Controls Uploaded 2Paul Brodbeck
 
Divided Wall Distillation Column
Divided Wall Distillation Column  Divided Wall Distillation Column
Divided Wall Distillation Column Prateek Mishra
 
Smart Process Distillation Application Improves Recovery And Saves Energy
Smart Process Distillation Application Improves Recovery And Saves EnergySmart Process Distillation Application Improves Recovery And Saves Energy
Smart Process Distillation Application Improves Recovery And Saves EnergyJim Cahill
 
15 organic chemistry
15 organic chemistry15 organic chemistry
15 organic chemistryNeung Satang
 
Control of Continuous Distillation Columns
Control of Continuous Distillation ColumnsControl of Continuous Distillation Columns
Control of Continuous Distillation ColumnsGerard B. Hawkins
 
Desalination and water reuse technologies
Desalination and water reuse technologiesDesalination and water reuse technologies
Desalination and water reuse technologiesAbengoa
 
Distillation column manufacturer (cyclic distillation) efficiency distillatio...
Distillation column manufacturer (cyclic distillation) efficiency distillatio...Distillation column manufacturer (cyclic distillation) efficiency distillatio...
Distillation column manufacturer (cyclic distillation) efficiency distillatio...Maleta cyclic distillation LLC
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงพัน พัน
 
Maintenance of distillation column asmita
Maintenance of distillation column asmitaMaintenance of distillation column asmita
Maintenance of distillation column asmitaAsmita Mishra
 
Distillation
DistillationDistillation
DistillationMeet2395
 
Practical Advanced Process Control for Engineers and Technicians
Practical Advanced Process Control for Engineers and TechniciansPractical Advanced Process Control for Engineers and Technicians
Practical Advanced Process Control for Engineers and TechniciansLiving Online
 
New Techniques of wastewater Management
New Techniques  of wastewater ManagementNew Techniques  of wastewater Management
New Techniques of wastewater ManagementPrashant Ojha
 
Distillation
DistillationDistillation
Distillationajeet006
 
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารบทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารKetsarin Prommajun
 
C3 revision powerpoint
C3 revision powerpointC3 revision powerpoint
C3 revision powerpointHannah Evans
 
Introduction To Distillation
Introduction To DistillationIntroduction To Distillation
Introduction To DistillationEdward Dobson
 
Lime Soda Process - Softening Of Water
Lime Soda Process - Softening Of WaterLime Soda Process - Softening Of Water
Lime Soda Process - Softening Of WaterVishvaraj Chauhan
 

Destaque (20)

AAPS Advanced Controls Uploaded 2
AAPS Advanced Controls Uploaded 2AAPS Advanced Controls Uploaded 2
AAPS Advanced Controls Uploaded 2
 
Laboratory Distillation
Laboratory DistillationLaboratory Distillation
Laboratory Distillation
 
Divided Wall Distillation Column
Divided Wall Distillation Column  Divided Wall Distillation Column
Divided Wall Distillation Column
 
Smart Process Distillation Application Improves Recovery And Saves Energy
Smart Process Distillation Application Improves Recovery And Saves EnergySmart Process Distillation Application Improves Recovery And Saves Energy
Smart Process Distillation Application Improves Recovery And Saves Energy
 
15 organic chemistry
15 organic chemistry15 organic chemistry
15 organic chemistry
 
Control of Continuous Distillation Columns
Control of Continuous Distillation ColumnsControl of Continuous Distillation Columns
Control of Continuous Distillation Columns
 
Desalination and water reuse technologies
Desalination and water reuse technologiesDesalination and water reuse technologies
Desalination and water reuse technologies
 
Distillation column manufacturer (cyclic distillation) efficiency distillatio...
Distillation column manufacturer (cyclic distillation) efficiency distillatio...Distillation column manufacturer (cyclic distillation) efficiency distillatio...
Distillation column manufacturer (cyclic distillation) efficiency distillatio...
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลง
 
Maintenance of distillation column asmita
Maintenance of distillation column asmitaMaintenance of distillation column asmita
Maintenance of distillation column asmita
 
Distillation
DistillationDistillation
Distillation
 
Practical Advanced Process Control for Engineers and Technicians
Practical Advanced Process Control for Engineers and TechniciansPractical Advanced Process Control for Engineers and Technicians
Practical Advanced Process Control for Engineers and Technicians
 
New Techniques of wastewater Management
New Techniques  of wastewater ManagementNew Techniques  of wastewater Management
New Techniques of wastewater Management
 
Water softening ce3
Water softening ce3Water softening ce3
Water softening ce3
 
Distillation
DistillationDistillation
Distillation
 
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารบทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
 
C3 revision powerpoint
C3 revision powerpointC3 revision powerpoint
C3 revision powerpoint
 
Introduction To Distillation
Introduction To DistillationIntroduction To Distillation
Introduction To Distillation
 
Lime Soda Process - Softening Of Water
Lime Soda Process - Softening Of WaterLime Soda Process - Softening Of Water
Lime Soda Process - Softening Of Water
 
Evaporation
EvaporationEvaporation
Evaporation
 

L05 treat20150305

Notas do Editor

  1. การบำบัดน้ำเสียด้วยวิธีเคมีมีหลายรูปแบบให้เลือก เพราะรูปแบบหนึ่งอาจเหมาะกับการบำบัดสารเคมีกลุ่มหนึ่ง แต่อาจไม่เหมาะสมกับสารเคมีอีกกลุ่มหนึ่ง ผู้ใช้จึงต้องรู้จักเลือกให้เหมาะสมและได้ประสิทธิภาพการบำบัดที่ต้องการ ต่อไปนี้จะกล่าวถึงกระบวนการบำบัดทางเคมีบางประเภทที่นิยมใช้กัน
  2. น้ำเสียที่มีสารแขวนลอยที่มีประจุลบ เช่น ดินเหนียว ไม่สามารถจะตกตะกอนเองได้ จำเป็นที่จะต้องหาสารเคมีที่มีประจุบวกเติมลงไปเพื่อทำให้เกิดความเป็นกลาง กวนให้เกิดการรวมตัวจนได้ตะกอนใหญ่ขึ้นและตกลงมายังก้นถังได้ สารเคมีที่มีประจุบวกเป็นจำนวนมาก ได้แก่ สารส้ม และเกลือเหล็ก แต่ที่นิยมใช้กันคือ สารส้ม เพราะมีราคาถูก แต่ตะกอนที่ตกด้วยสารส้มจะเบารีดน้ำออกยากกว่าตะกอนที่เกิดจากเกลือเหล็ก ในบางกรณีอาจต้องใช้สารส้มปริมาณสูง จึงจะเกิดผลตามต้องการ ทำให้มีราคงแพงกว่าการใช้เกลือเหล็กซึ่งให้ผลเช่นเดียวกัน เช่น การกำจัดสีจากโรงงานฟอกย้อม หากใช้สารส้มจะใช้ปริมาณสูงถึง 600 มิลลิกรัมต่อลิตร เมื่อเปลี่ยนมาใช้เกลือเหล็กปริมาณความต้องการเพียง 13 มิลลิกรัมต่อลิตรก็สามารถลดสีจนได้มาตรฐานน้ำทิ้ง (300 ADMI) ตามต้องการเมื่อคิดเป็นค่าใช้จ่ายในการใช้สารส้มจะสูงเกือบเป็น 10 เท่าของเกลือเหล็ก
  3. เป็นการปรับสภาพความเป็นกรด - ด่าง หรือพีเอชให้อยูในสภาพที่เป็นกลาง เพื่อให้เกิดความเหมาะสมที่จะนำไปบำบัดน้ำเสียในขั้นอื่นต่อไป โดยเฉพาะกระบวนการบำบัดน้ำเสียด้วยวิธีทางชีวภาพซึ่งต้องการน้ำเสียที่มีค่าพีเอชอยู่ในช่วง 6.5-8.5 แต่ก่อนที่จะปล่อยน้ำเสียที่ผ่านกระบวนการบำบัดดีแล้วลงสู่ธรรมชาติ ต้องปรับสภาพพีเอชอยู่ในช่วง 5-9 ถ้าพีเอชต่ำจะต้องปรับสภาพด้วยด่าง ด่างที่นิยมนำมาใช้คือ โซดาไฟ (NaOH) ปูนขาว (CaO) หรือ แอมโมเนีย (NH3) เป็นต้น และถ้าน้ำเสียมีค่าพีเอชสูงต้องทำการปรับสภาพพีเอชให้เป็นกลางโดยใช้กรด กรดที่นิยมนำมาใช้ ได้แก่ กรดกำมะถัน (H2SO4) กรดเกลือ (HCL) หรือก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)
  4. การค้นพบสารสังเคราะห์ประเภทเรซิน (Synthetic Resin) ซึ่งมีความสามารถในการแลกประจุได้ดี นับได้ว่ามีประโยชน์ต่อการทำน้ำสะอาดและการบำบัดน้ำเสีย โดยเฉพาะการกำจัดเอาพวกโลหะหนัก เช่น เหล็กและโครเมียม หรือพวกสารอาหาร เช่น ไนโตรเจน แอมโมเนีย และฟอสเฟต ออกจากน้ำทิ้ง และป้องกันไม่ให้สาหร่ายเกิดขึ้นมากเกินต้องการ นอกจากนี้สารอาหารที่ถูกเรซินจับไว้สามารถนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้อีก ส่วนตัวเรซินสังเคราะห์เมื่อใช้งานหมดประสิทธิภาพแล้ว นำกลับมาปรับคืนสภาพ (Regenerate) ด้วยกรดเกลือ (HCI) หรือเกลือแกง (NaCl) แล้วนำมาใช้ใหม่ได้การปรับคืนสภาพสามารถทำได้หลายครั้งมาก ทำให้อายุการใช้งานของเรซินนานถึง 3-4 ปี บางชนิดอาจมีอายุมากกว่านั้นก็เป็นได้หากถูกสังเคราะห์มาด้วยวัสดุที่แข็งแกร่ง
  5. เรซินสังเคราะห์มีหลายชนิด