SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 15
การเลือกใช้ไฟฟ้าในบ้าน จัดทำโดย ด.ช.  ณัฐนนท์  เภตรา     เลขที่ 3   ชั้น ม. 3/2 นาย  ทำนุรัฐ    กันวงค์    เลขที่ 5   ชั้น ม. 3/2 ด.ญ. ณัฐกมล   กลมไล    เลขที่ 18 ชั้น ม. 3/2 ด.ญ. บุษรา    พรหมวิชัย  เลขที่ 20 ชั้น ม. 3/2 ด.ญ. อารีรัตน์ สืบสาย      เลขที่ 37 ชั้น ม. 3/2
                   เครื่องใช้ไฟฟ้า        เครื่องใช้ไฟฟ้าคือ อุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานรูปอื่น เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ได้แก่   1. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้แสงสว่าง   2. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้ความร้อน   3. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล   4. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานเสียง
1. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้แสงสว่าง  หลอดไฟฟ้า  เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีใช้ในทุกบ้านที่มีการใชพลังงานไฟฟ้า เป็นเครื่องใช้ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้า ไปเป็นพลังงานแสง หลอดไฟฟ้าที่ใช้ทั่วไป มี 3 ชนิด คือ      1. หลอดไฟธรรมดา      2.หลอดเรืองแสงหรือหลอดฟูลออเร้น(Fluorescent Lamp)      
 1. หลอดไฟฟ้าแบบธรรมดา          หลอดไฟฟ้าแบบธรรมดา  มีการเปลี่ยนรูปพลังงานจากพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อน แล้วจึงเปลี่ยนเป็นพลังงานแสง หลอดไฟฟ้าแบบธรรมดามี 2 แบบ คือแบบเกลียวและแบบเขี้ยว มีส่วนประกอบดังนี้ 1. ไส้หลอด ทำด้วยโลหะที่มีจุดหลอดเหลวสูง ทนความร้อนได้มาก มีความทานสูง  เช่น ทังสเตน    2. หลอดแก้วทำจากแก้วที่ทนความร้อนได้ดี ไม่แตกง่าย สูบอากาศออกจนหมดภายในบรรจุก๊าซไนโตรเจนและอาร์กอนเล็กน้อย  3.   ขั้วหลอดไฟ เป็นจุดต่อวงจรไฟฟ้า มี 2แบบ คือ แบบเขี้ยวและแบบเกลียว       เนื่องจากหลอดไฟฟ้าประเภทนี้ให้แสงสว่างได้ด้วยการเปล่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อน
   2.หลอดเรืองแสงหรือหลอดฟลูออเรสเซนต์                         หลอดเรืองแสงหรือหลอดฟลูออเรสเซนต์ (Fluorescent Lamp) ทำด้วยหลอดแก้วที่สูบอากาศออกจนหมดแล้วบรรจุไอปรอทไว้เล็กน้อย มีไส้ที่ปลายหลอดทั้งสองข้าง หลอดเรืองแสงอาจทำเป็นหลอดตรง หรือครึ่งวงกลมก็ได้  ส่วนประกอบและการทำงานของหลอดเรืองแสง มีดังนี้   1. ตัวหลอด  ภายในสูบอากาศออกจนหมดแล้วบรรจุไอปรอทและก๊าซอาร์กอน เล็กน้อย  ผิวด้านในของหลอดเรืองแสงฉาบด้วยสารเรืองแสงชนิดต่างๆ     2. ไส้หลอด ทำด้วยทังสเตนหรือวุลแฟรมอยู่ที่ปลายทั้งสองข้าง เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านไส้หลอดจะทำให้ไส้หลอดร้อนขึ้น ความร้อนที่เกิดขึ้นจะทำให้ไอปรอทที่บรรจุไว้ในหลอดกลายเป็นไอมากขึ้น แต่ขณะนั้นกระแสไฟฟ้ายังผ่านไอปรอทไม่สะดวก เพราะปรอทยัง
                  2. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้ความร้อน    เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน  เป็นเครื่องใช้ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อน โดยใช้หลักการคือ เมื่อปล่อยกระแสไฟฟ้าผ่านขดลวดตัวนำที่มีความต้านทานสูงๆ ลวดตัวนำนั้นจะร้อนจนสามารถนำความร้อนออกไปใช้ประโยชน์ได้ เนื่องจากเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อนมาก จึงสิ้นเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ามากเมื่อเปรียบกับการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทอื่นๆ เมื่อใช้ในเวลาที่เท่ากัน   ฉะนั้นขณะใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าให้พลังงานความร้อนจึงควรใช้ด้วยความระมัดระวัง ตัวอย่างเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน เช่น เตารีด หม้อหุงข้าว กระทะไฟฟ้า กาต้มน้ำ เครื่องต้มกาแฟ เตาไฟฟ้า ฯลฯ                                                       
                        1. หม้อหุงข้าว      วิธีใช้หม้อหุงข้าวให้ประหยัดพลังงานและปลอดภัย     1. ต้องต่อสายดินกับหม้อหุงข้าว และหมั่นใช้ไขควงลองไฟทดสอบอยู่เสมอ2. ขั้วต่อสายที่ต่อสายที่ตัวหม้อหุงข้าวและที่เต้ารับต้องเสียบให้แน่นสนิท3. เมื่อเลิกใช้งานควรถอดปลั๊กออกจากเต้ารับ4. ดูข้อควรปฏิบัติในการใช้ไฟฟ้าหรือเครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย
                          2. เตารีด วิธีใช้เตารีดไฟฟ้าให้ประหยัดพลังงาน       1.ควรรีดผ้าคราวละมากๆ ติดต่อกันจนเสร็จ และควรเริ่มรีดผ้าบางๆ ก่อนในขณะที่เตารีดยังไม่ร้อน และก่อนรีดเสร็จประมาณ 2-3 นาทีให้ถอดปลั๊กออก2.เมื่อไม่ได้ใช้งานควรถอดปลั๊กออก และก่อนจะเก็บควรทิ้งให้เตารีดเย็นก่อน   คำแนะนำด้านความปลอดภัยของเตารีด     1.ควรระวังไม่ให้ความร้อนจากเตารีดสัมผัสสายไฟฟ้าเพราะจะทำให้เปลือกสาย(ฉนวน) เสียหายได้2.สายปลั๊กของเตารีด เปลือกสาย (ฉนวน) ต้องไม่เสื่อมสภาพหรือฉีกขาด3.ต้องคอยหมั่นตรวจสอบฉนวนยางที่หุ้มสายเข้าเตารีด หากพบว่าเปื่อยหรือฉีกขาดควรรีบเปลี่ยนใหม่โดยช่างผู้มีความรู้ เพราะหากไม่รีบเปลี่ยนสายไฟบริเวณนั้นอาจชำรุดและถูกไฟดูดได้4.ขณะใช้งาน เมื่อหยุดรีดต้องวางบนวัสดุที่ไม่ติดไฟง่าย5.เตารีดที่ใช้ควรมีสายดินและต่อลงดินผ่านทางเต้าเสียบ – เต้ารับที่มีสายดินด้วย และหมั่นตรวจสอบไฟรั่วด้วยไขควงลองไฟเสมอ6.ดูข้อควรปฏิบัติในการใช้ไฟฟ้า หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย
                 3. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล     เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล  มีการเปลี่ยนรูปพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล โดยอาศัยหลักการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้า ด้วยอุปกรณ์ ที่เรียกว่า มอเตอร ์และ เครื่องควบคุมความเร็ว ซึ่งเป็นอุปกรณ์หลักในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล ตัวอย่าง เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล เช่น เครื่องปรับอากาศ ตู้เย็น เครื่องดูดฝุ่น พัดลม เครื่องซักผ้า เครื่องปั่นน้ำผลไม้ ฯลฯ                 
                     1. เครื่องปรับอากาศ        1 ควรเลือกซื้อเครื่องปรับอากาศที่มีสลากประหยัดไฟ โดยเป็นสติกเกอร์ติดอยู่ที่เครื่องปรับอากาศ ซึ่งสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) เป็นผู้ตรวจสอบและรับรองคุณภาพ โดยกำหนดเป็นตัวเลขดังนี้      2ควรเลือกขนาดของเครื่องปรับอากาศให้เหมาะสมกับห้องที่ต้องการติดตั้ง โดยที่ความสูงของห้องไม่เกิน
            วิธีใช้เครื่องปรับอากาศให้ประหยัดพลังงาน      1.ติดตั้งในที่เหมาะสม คือต้องสูงจากพื้นพอสมควร สามารถเปิด-ปิดปุ่มต่าง ๆ ได้สะดวก และเพื่อให้ความเย็นเป่าออกจากเครื่องได้หมุนเวียนภายในห้องอย่างทั่วถึง2.อย่าให้ความเย็นรั่วไหล ควรจะปิดประตูหรือหน้าต่างห้องให้มิดชิด3.ปรับปุ่มต่าง ๆ ให้เหมาะสมเมื่อเริ่มเปิดเครื่องควรตั้งความเร็วพัดลมไปที่ตำแหน่งสูงสุด เมื่อความเย็นพอเหมาะแล้วให้ตั้งไปที่อุณหภูมิ26 องศาเซลเซียส4.หมั่นทำความสะอาดแผ่นกรองอากาศ อุปกรณ์ในระบบปรับอากาศ และตะแกรง รวมทั้งชุดคอมเดนเซอร ์เพื่อให้อากาศผ่านเข้าออกได้สะดวกจะประหยัดไฟโดยตรง5.ใช้พัดลมระบายอากาศเท่าที่จำเป็น
4. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานเสียง เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานเสียง เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง เช่น เครื่องรับวิทยุ เครื่องบันทึกเสียง เครื่องขยายเสียง 
เครื่องรับวิทยุ      เป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง โดยเครื่องรับวิทยุอาศัยการรับคลื่นวิทยุจากสถานีส่ง แล้วใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขยายสัญญาณเสียงที่อยู่ในรูปของสัญญาณไฟฟ้าให้แรงขึ้นจนเพียงพอที่ทำให้ลำโพงเสียงสั่นสะเทือนเป็นเสียงให้เราได้ยิน ดังแผนผัง            
เครื่องบันทึกเสียง      เครื่องบันทึกเสียงเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง โดยขณะบันทึกใช้การพูดผ่านไมโครโฟน ซึ่งจะเปลี่ยนเสียงเป็นสัญญาณไฟฟ้า แล้วบันทึกลงในแถบบันทึกเสียงซึ่งฉาบด้วยสารแม่เหล็กในรูปของสัญญาณแม่เหล็ก เมื่อนำแถบบันทึกเสียงที่บันทึกไว้มาเล่น สัญญาณแม่เหล็กจะถูกเปลี่ยนกลับไปเป็นสัญญาณไฟฟ้า และสัญญาณไฟฟ้าจะถูกขยายให้แรงขึ้นด้วยอุปกรณ์ไฟฟ้า สัญญาณไฟฟ้าจะถูกส่งไปถึงลำโพง ทำให้ลำโพงสั่นสะเทือนกลับเป็นเสียงขึ้นอีกครั้งหนึ่ง ดังแผนผัง 
จบการนำเสนอแล้ว ค่ะ /ครับ

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
Arnan Khankham
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์
sugareyes
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
Boyz Bill
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
1560100453451
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
Panatsaya
 
เรื่องประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่องประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าเรื่องประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่องประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ธนวัฒน์ ตุ้ยคำ
 
จัดทำโดย
จัดทำโดยจัดทำโดย
จัดทำโดย
sugareyes
 
จัดทำโดย
จัดทำโดยจัดทำโดย
จัดทำโดย
sugareyes
 
งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์
sugareyes
 

Mais procurados (11)

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
งาน
งานงาน
งาน
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เรื่องประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่องประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าเรื่องประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่องประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
จัดทำโดย
จัดทำโดยจัดทำโดย
จัดทำโดย
 
จัดทำโดย
จัดทำโดยจัดทำโดย
จัดทำโดย
 
งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์
 

Destaque

1.Teknik PP Umum Prasekolah
1.Teknik PP Umum Prasekolah1.Teknik PP Umum Prasekolah
1.Teknik PP Umum Prasekolah
Normala Mehat
 
Eksibisi cinta
Eksibisi cintaEksibisi cinta
Eksibisi cinta
roysvm
 
Manuel m. altamirano
Manuel m. altamiranoManuel m. altamirano
Manuel m. altamirano
EPMMA
 
A auga e_o_corpo_humano
A auga e_o_corpo_humanoA auga e_o_corpo_humano
A auga e_o_corpo_humano
Luisa Dacosta
 
Videoiden hakukoneoptimointi
Videoiden hakukoneoptimointiVideoiden hakukoneoptimointi
Videoiden hakukoneoptimointi
Katja Idman
 

Destaque (20)

1.Teknik PP Umum Prasekolah
1.Teknik PP Umum Prasekolah1.Teknik PP Umum Prasekolah
1.Teknik PP Umum Prasekolah
 
Dashboard
DashboardDashboard
Dashboard
 
Biodiversidade
BiodiversidadeBiodiversidade
Biodiversidade
 
Geen Commentaar
Geen CommentaarGeen Commentaar
Geen Commentaar
 
Inclusão Digital e Inclusão Social: a experiência dos roteiros didáticos digi...
Inclusão Digital e Inclusão Social: a experiência dos roteiros didáticos digi...Inclusão Digital e Inclusão Social: a experiência dos roteiros didáticos digi...
Inclusão Digital e Inclusão Social: a experiência dos roteiros didáticos digi...
 
1432 1433
1432 14331432 1433
1432 1433
 
Зачем вашему бизнесу Социальные Медиа?
Зачем вашему бизнесу Социальные Медиа?Зачем вашему бизнесу Социальные Медиа?
Зачем вашему бизнесу Социальные Медиа?
 
VII Colóquio de Cartografia para Crianças e Escolares: imaginação e inovação ...
VII Colóquio de Cartografia para Crianças e Escolares: imaginação e inovação ...VII Colóquio de Cartografia para Crianças e Escolares: imaginação e inovação ...
VII Colóquio de Cartografia para Crianças e Escolares: imaginação e inovação ...
 
Rahvuslik
RahvuslikRahvuslik
Rahvuslik
 
Eksibisi cinta
Eksibisi cintaEksibisi cinta
Eksibisi cinta
 
Manuel m. altamirano
Manuel m. altamiranoManuel m. altamirano
Manuel m. altamirano
 
Salud pública dengue
Salud pública  dengueSalud pública  dengue
Salud pública dengue
 
Dviračių trasų pasiūlymai
Dviračių trasų pasiūlymaiDviračių trasų pasiūlymai
Dviračių trasų pasiūlymai
 
用户体验介绍
用户体验介绍用户体验介绍
用户体验介绍
 
Sudama charit-and-hundi-by-premanand
Sudama charit-and-hundi-by-premanandSudama charit-and-hundi-by-premanand
Sudama charit-and-hundi-by-premanand
 
O que restou do rio comprido?
O que restou do rio comprido?O que restou do rio comprido?
O que restou do rio comprido?
 
A auga e_o_corpo_humano
A auga e_o_corpo_humanoA auga e_o_corpo_humano
A auga e_o_corpo_humano
 
Kitching_et_al_1998_Cap3_38-69.pdf
Kitching_et_al_1998_Cap3_38-69.pdfKitching_et_al_1998_Cap3_38-69.pdf
Kitching_et_al_1998_Cap3_38-69.pdf
 
Videoiden hakukoneoptimointi
Videoiden hakukoneoptimointiVideoiden hakukoneoptimointi
Videoiden hakukoneoptimointi
 
Memo from God
Memo from GodMemo from God
Memo from God
 

Semelhante a จัดทำโดย

งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์
sugareyes
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์
sugareyes
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์
sugareyes
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
Arnan Khankham
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
sangzaclub
 
เรียบร้อย
เรียบร้อยเรียบร้อย
เรียบร้อย
Arnan Khankham
 
เรียบร้อย
เรียบร้อยเรียบร้อย
เรียบร้อย
Arnan Khankham
 
เรียบร้อย
เรียบร้อยเรียบร้อย
เรียบร้อย
Arnan Khankham
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
sangzaclub
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
twosoraya25
 

Semelhante a จัดทำโดย (20)

งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
เรียบร้อย
เรียบร้อยเรียบร้อย
เรียบร้อย
 
เรียบร้อย
เรียบร้อยเรียบร้อย
เรียบร้อย
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
เรียบร้อย
เรียบร้อยเรียบร้อย
เรียบร้อย
 
เรียบร้อย
เรียบร้อยเรียบร้อย
เรียบร้อย
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 

จัดทำโดย

  • 1. การเลือกใช้ไฟฟ้าในบ้าน จัดทำโดย ด.ช. ณัฐนนท์ เภตรา เลขที่ 3 ชั้น ม. 3/2 นาย ทำนุรัฐ กันวงค์ เลขที่ 5 ชั้น ม. 3/2 ด.ญ. ณัฐกมล กลมไล เลขที่ 18 ชั้น ม. 3/2 ด.ญ. บุษรา พรหมวิชัย เลขที่ 20 ชั้น ม. 3/2 ด.ญ. อารีรัตน์ สืบสาย เลขที่ 37 ชั้น ม. 3/2
  • 2. เครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องใช้ไฟฟ้าคือ อุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานรูปอื่น เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ได้แก่ 1. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้แสงสว่าง 2. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้ความร้อน 3. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล 4. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานเสียง
  • 3. 1. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้แสงสว่าง  หลอดไฟฟ้า  เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีใช้ในทุกบ้านที่มีการใชพลังงานไฟฟ้า เป็นเครื่องใช้ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้า ไปเป็นพลังงานแสง หลอดไฟฟ้าที่ใช้ทั่วไป มี 3 ชนิด คือ      1. หลอดไฟธรรมดา      2.หลอดเรืองแสงหรือหลอดฟูลออเร้น(Fluorescent Lamp)      
  • 4.  1. หลอดไฟฟ้าแบบธรรมดา          หลอดไฟฟ้าแบบธรรมดา  มีการเปลี่ยนรูปพลังงานจากพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อน แล้วจึงเปลี่ยนเป็นพลังงานแสง หลอดไฟฟ้าแบบธรรมดามี 2 แบบ คือแบบเกลียวและแบบเขี้ยว มีส่วนประกอบดังนี้ 1. ไส้หลอด ทำด้วยโลหะที่มีจุดหลอดเหลวสูง ทนความร้อนได้มาก มีความทานสูง  เช่น ทังสเตน   2. หลอดแก้วทำจากแก้วที่ทนความร้อนได้ดี ไม่แตกง่าย สูบอากาศออกจนหมดภายในบรรจุก๊าซไนโตรเจนและอาร์กอนเล็กน้อย  3.   ขั้วหลอดไฟ เป็นจุดต่อวงจรไฟฟ้า มี 2แบบ คือ แบบเขี้ยวและแบบเกลียว      เนื่องจากหลอดไฟฟ้าประเภทนี้ให้แสงสว่างได้ด้วยการเปล่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อน
  • 5.    2.หลอดเรืองแสงหรือหลอดฟลูออเรสเซนต์ หลอดเรืองแสงหรือหลอดฟลูออเรสเซนต์ (Fluorescent Lamp) ทำด้วยหลอดแก้วที่สูบอากาศออกจนหมดแล้วบรรจุไอปรอทไว้เล็กน้อย มีไส้ที่ปลายหลอดทั้งสองข้าง หลอดเรืองแสงอาจทำเป็นหลอดตรง หรือครึ่งวงกลมก็ได้  ส่วนประกอบและการทำงานของหลอดเรืองแสง มีดังนี้   1. ตัวหลอด  ภายในสูบอากาศออกจนหมดแล้วบรรจุไอปรอทและก๊าซอาร์กอน เล็กน้อย  ผิวด้านในของหลอดเรืองแสงฉาบด้วยสารเรืองแสงชนิดต่างๆ    2. ไส้หลอด ทำด้วยทังสเตนหรือวุลแฟรมอยู่ที่ปลายทั้งสองข้าง เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านไส้หลอดจะทำให้ไส้หลอดร้อนขึ้น ความร้อนที่เกิดขึ้นจะทำให้ไอปรอทที่บรรจุไว้ในหลอดกลายเป็นไอมากขึ้น แต่ขณะนั้นกระแสไฟฟ้ายังผ่านไอปรอทไม่สะดวก เพราะปรอทยัง
  • 6. 2. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้ความร้อน    เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน  เป็นเครื่องใช้ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อน โดยใช้หลักการคือ เมื่อปล่อยกระแสไฟฟ้าผ่านขดลวดตัวนำที่มีความต้านทานสูงๆ ลวดตัวนำนั้นจะร้อนจนสามารถนำความร้อนออกไปใช้ประโยชน์ได้ เนื่องจากเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อนมาก จึงสิ้นเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ามากเมื่อเปรียบกับการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทอื่นๆ เมื่อใช้ในเวลาที่เท่ากัน   ฉะนั้นขณะใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าให้พลังงานความร้อนจึงควรใช้ด้วยความระมัดระวัง ตัวอย่างเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน เช่น เตารีด หม้อหุงข้าว กระทะไฟฟ้า กาต้มน้ำ เครื่องต้มกาแฟ เตาไฟฟ้า ฯลฯ                                                       
  • 7. 1. หม้อหุงข้าว วิธีใช้หม้อหุงข้าวให้ประหยัดพลังงานและปลอดภัย 1. ต้องต่อสายดินกับหม้อหุงข้าว และหมั่นใช้ไขควงลองไฟทดสอบอยู่เสมอ2. ขั้วต่อสายที่ต่อสายที่ตัวหม้อหุงข้าวและที่เต้ารับต้องเสียบให้แน่นสนิท3. เมื่อเลิกใช้งานควรถอดปลั๊กออกจากเต้ารับ4. ดูข้อควรปฏิบัติในการใช้ไฟฟ้าหรือเครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย
  • 8. 2. เตารีด วิธีใช้เตารีดไฟฟ้าให้ประหยัดพลังงาน 1.ควรรีดผ้าคราวละมากๆ ติดต่อกันจนเสร็จ และควรเริ่มรีดผ้าบางๆ ก่อนในขณะที่เตารีดยังไม่ร้อน และก่อนรีดเสร็จประมาณ 2-3 นาทีให้ถอดปลั๊กออก2.เมื่อไม่ได้ใช้งานควรถอดปลั๊กออก และก่อนจะเก็บควรทิ้งให้เตารีดเย็นก่อน   คำแนะนำด้านความปลอดภัยของเตารีด 1.ควรระวังไม่ให้ความร้อนจากเตารีดสัมผัสสายไฟฟ้าเพราะจะทำให้เปลือกสาย(ฉนวน) เสียหายได้2.สายปลั๊กของเตารีด เปลือกสาย (ฉนวน) ต้องไม่เสื่อมสภาพหรือฉีกขาด3.ต้องคอยหมั่นตรวจสอบฉนวนยางที่หุ้มสายเข้าเตารีด หากพบว่าเปื่อยหรือฉีกขาดควรรีบเปลี่ยนใหม่โดยช่างผู้มีความรู้ เพราะหากไม่รีบเปลี่ยนสายไฟบริเวณนั้นอาจชำรุดและถูกไฟดูดได้4.ขณะใช้งาน เมื่อหยุดรีดต้องวางบนวัสดุที่ไม่ติดไฟง่าย5.เตารีดที่ใช้ควรมีสายดินและต่อลงดินผ่านทางเต้าเสียบ – เต้ารับที่มีสายดินด้วย และหมั่นตรวจสอบไฟรั่วด้วยไขควงลองไฟเสมอ6.ดูข้อควรปฏิบัติในการใช้ไฟฟ้า หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย
  • 9. 3. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล     เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล  มีการเปลี่ยนรูปพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล โดยอาศัยหลักการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้า ด้วยอุปกรณ์ ที่เรียกว่า มอเตอร ์และ เครื่องควบคุมความเร็ว ซึ่งเป็นอุปกรณ์หลักในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล ตัวอย่าง เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล เช่น เครื่องปรับอากาศ ตู้เย็น เครื่องดูดฝุ่น พัดลม เครื่องซักผ้า เครื่องปั่นน้ำผลไม้ ฯลฯ                 
  • 10. 1. เครื่องปรับอากาศ 1 ควรเลือกซื้อเครื่องปรับอากาศที่มีสลากประหยัดไฟ โดยเป็นสติกเกอร์ติดอยู่ที่เครื่องปรับอากาศ ซึ่งสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) เป็นผู้ตรวจสอบและรับรองคุณภาพ โดยกำหนดเป็นตัวเลขดังนี้ 2ควรเลือกขนาดของเครื่องปรับอากาศให้เหมาะสมกับห้องที่ต้องการติดตั้ง โดยที่ความสูงของห้องไม่เกิน
  • 11. วิธีใช้เครื่องปรับอากาศให้ประหยัดพลังงาน 1.ติดตั้งในที่เหมาะสม คือต้องสูงจากพื้นพอสมควร สามารถเปิด-ปิดปุ่มต่าง ๆ ได้สะดวก และเพื่อให้ความเย็นเป่าออกจากเครื่องได้หมุนเวียนภายในห้องอย่างทั่วถึง2.อย่าให้ความเย็นรั่วไหล ควรจะปิดประตูหรือหน้าต่างห้องให้มิดชิด3.ปรับปุ่มต่าง ๆ ให้เหมาะสมเมื่อเริ่มเปิดเครื่องควรตั้งความเร็วพัดลมไปที่ตำแหน่งสูงสุด เมื่อความเย็นพอเหมาะแล้วให้ตั้งไปที่อุณหภูมิ26 องศาเซลเซียส4.หมั่นทำความสะอาดแผ่นกรองอากาศ อุปกรณ์ในระบบปรับอากาศ และตะแกรง รวมทั้งชุดคอมเดนเซอร ์เพื่อให้อากาศผ่านเข้าออกได้สะดวกจะประหยัดไฟโดยตรง5.ใช้พัดลมระบายอากาศเท่าที่จำเป็น
  • 12. 4. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานเสียง เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานเสียง เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง เช่น เครื่องรับวิทยุ เครื่องบันทึกเสียง เครื่องขยายเสียง 
  • 13. เครื่องรับวิทยุ      เป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง โดยเครื่องรับวิทยุอาศัยการรับคลื่นวิทยุจากสถานีส่ง แล้วใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขยายสัญญาณเสียงที่อยู่ในรูปของสัญญาณไฟฟ้าให้แรงขึ้นจนเพียงพอที่ทำให้ลำโพงเสียงสั่นสะเทือนเป็นเสียงให้เราได้ยิน ดังแผนผัง            
  • 14. เครื่องบันทึกเสียง      เครื่องบันทึกเสียงเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง โดยขณะบันทึกใช้การพูดผ่านไมโครโฟน ซึ่งจะเปลี่ยนเสียงเป็นสัญญาณไฟฟ้า แล้วบันทึกลงในแถบบันทึกเสียงซึ่งฉาบด้วยสารแม่เหล็กในรูปของสัญญาณแม่เหล็ก เมื่อนำแถบบันทึกเสียงที่บันทึกไว้มาเล่น สัญญาณแม่เหล็กจะถูกเปลี่ยนกลับไปเป็นสัญญาณไฟฟ้า และสัญญาณไฟฟ้าจะถูกขยายให้แรงขึ้นด้วยอุปกรณ์ไฟฟ้า สัญญาณไฟฟ้าจะถูกส่งไปถึงลำโพง ทำให้ลำโพงสั่นสะเทือนกลับเป็นเสียงขึ้นอีกครั้งหนึ่ง ดังแผนผัง