SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 42
Baixar para ler offline
วาระการประชุม
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์
ครั้งที่ 2/2558
วันจันทร์ที่ 18 พฤษภาคม 2558
ณ ห้องประชุม 203 ชั้น 2 อาคารคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์
-------------------------------
หน้า
วาระที่ 1 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ 1
วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุม 1
วาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง 5
3.1 การประเมินความเสี่ยง (RA.F1) ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 5
3.2 การบริหารความเสี่ยง (RMP.F1) ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 22
3.3 แบบสรุปการประเมินความเสี่ยง ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 36
3.4 แบบสรุปโครงการการบริหารความเสี่ยง ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 38
วาระที่ 4 เรื่องเสนอพิจารณา 40
วาระที่ 5 เรื่องอื่นๆ (ถ้ามี) 40
เอกสารประกอบการประชุม
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์
ครั้งที่ 2 / ปีงบประมาณ 2558
วันจันทร์ที่ 18 พฤษภาคม 2558
ณ ห้องประชุม 203 ชั้น 2 อาคารคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์
---------------------------------
เริ่มประชุมเวลา...................................น.
วาระที่ 1 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ
1.1 ............................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................
1.2 ............................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................
1.3 ............................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................
วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 1/ปีงบประมาณ 2558 วันพฤหัสบดีที่ 5 มีนาคม 2558 (หน้า 2-4)
รับรอง โดยไม่แก้ไข
รับรอง โดยแก้ไข ดังนี้
....................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................
2
รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์
ครั้งที่ 1 / ปีงบประมาณ 2558
วันพฤหัสบดีที่ 5 มีนาคม 2558
ณ ห้องประชุม 203 ชั้น 2 อาคารคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์
----------------------------------------------------------------
ผู้มาประชุม
1. รองศาสตราจารย์นฤมล เครือองอาจนุกูล ประธานกรรมการ
2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์นนทกร สถิตานนท์ รองประธานกรรมการ
3. อาจารย์ ดร.ศิริศาส เอื้อใจ กรรมการ
4. อาจารย์ ดร.สุธิดา อัครชนียากร กรรมการ
5. อาจารย์ ดร.ศิริขวัญ ทินรัตน์ กรรมการ
6. อาจารย์สถิต ประสมพันธ์ กรรมการ
7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์นุชรินทร์ ทิพยวรรณากร กรรมการ
8. อาจารย์ ดร.เอกชัย คุณวุฒิปรีชาชาญ กรรมการ
9. อาจารย์รสจรินทร์ บุญทวัน กรรมการ
10. นางสาววรรณศิริ มิถอย กรรมการ
11. นางสาวจันทร เพ็ชรอําไพ กรรมการ
12. นางอาภารัตน์ เดชเลิศประยูร กรรมการ
13. นางสาวศรีวิไล ซุยเจริญ กรรมการ
14. นางสาววิลาวรรณ แซ่เจ๊ง กรรมการ
15. นางพุทธชาติ บรรดาศักดิ์ กรรมการ
16. นางภควรรณ สีสวย กรรมการ
17. นายเก็จ แก้วแดง กรรมการและเลขานุการ
18. นางสาววรรณนิภา ขาวผ่อง กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
ผู้ไม่มาประชุม (ติดราชการ)
1. นายปิยะวัฒน์ สุธา กรรมการ
2. นายธีรวุฒิ นาคขํา กรรมการ
เริ่มประชุมเวลา 11.50 น.
วาระที่ 1 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ
1.1 คําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์
ตามที่ประธานโดย ผศ.ดร.กฤดาภัทร สีหารี ได้หมดวาระการบริหารงาน คณะฯจึงมีการเปลี่ยนแปลงคําสั่งแต่งตั้ง
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงฯ ตามคําสั่งคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ที่ วท 072/2558 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความ
เสี่ยงและควบคุมภายใน คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ลงวันที่ 23 มกราคม พ.ศ.2558
มติที่ประชุม รับทราบ
1.2 โครงการบริหารความเสี่ยง ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงร่วมกันพิจารณาโครงการบริหารความเสี่ยง คราวประชุมครั้งที่ 4 เมื่อวันที่ 5 กันยายน
2557 เพื่อนําเสนอต่อคณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการ และเสนอต่อมหาวิทยาลัย จํานวน 3 โครงการ ดังนี้
1. โครงการการวางแผนป้องกันและระงับอัคคีภัย
2. โครงการเพิ่มทักษะทางด้านภาษาเพื่อมุ่งสู่ประชาคมอาเซียน
3
3. โครงการสนับสนุนผลักดันบุคลากรให้ศึกษาต่อในระดับปริญญาเอกและสร้างผลงานเพื่อการเข้าสู่ตําแหน่งทาง
วิชาการ
คณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ คราวประชุมครั้งที่ 14/2557 เมื่อวันที่ 17 กันยายน
2557 ได้พิจารณาพร้อมเปลี่ยนแปลงโครงการเพื่อเสนอต่อมหาวิทยาลัย จํานวน 3 โครงการ ดังนี้
1. โครงการการวางแผนป้องกันและระงับอัคคีภัย
2. โครงการเพิ่มทักษะทางด้านภาษาเพื่อมุ่งสู่ประชาคมอาเซียน
3. โครงการการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
มติที่ประชุม รับทราบ
วาระที่ 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุม
ที่ประชุมรับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 4/ปีงบประมาณ 2557 วันศุกร์ที่ 5 กันยายน 2557 โดยแก้ไข ดังนี้
1. วาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง เพิ่มหัวข้อ 3.2 ดังนี้
3.2 รายงานผลการบริหารความเสี่ยง (RM.F1) ประจําปีงบประมาณ 2557 รอบ 12 เดือน
หน่วยงานได้รายงานผลการบริหารความเสี่ยง ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 รอบ 12 เดือน รวมทั้งสิ้น 14 โครงการ
มติที่ประชุม รับทราบ
2. วาระที่ 4 เรื่องเสนอพิจารณา ดังนี้
วาระที่ 4 เรื่องเสนอพิจารณา
4.1 แผนการประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
มติที่ประชุม มอบฝ่ายเลขาฯ ปรับแผนการประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 และนํามาแจ้งที่ประชุมต่อไป
แก้ไขโดยเปลี่ยนมติที่ประชุม เป็น
มติที่ประชุม เห็นชอบการปรับแผนการประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
วาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง
3.1 การรายงานผลการบริหารความเสี่ยง (RM.F1) ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 รอบ 6 เดือน
ที่ประชุมร่วมกันพิจารณารายงานผลการบริหารความเสี่ยง ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 รอบ 6 เดือน ที่หน่วยงาน
รายงานมา โดยที่ประชุมมีการสอบถามและปรับแก้ข้อมูลจากการรายงานผลการดําเนินงานพร้อมทั้งร่วมกันพิจารณาผลการประเมิน
การควบคุมของโครงการ จํานวนทั้งสิ้น 11 โครงการ นอกจากนี้ ที่ประชุมได้มอบหมายให้ภาควิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร
อาหารและสิ่งแวดล้อม ดําเนินการประเมินความเสี่ยงของหน่วยงานพร้อมกับทําโครงการบริหารความเสี่ยงเพิ่มเติมจํานวน 1 โครงการ
มติที่ประชุม รับทราบและมอบหมายให้ผู้รับผิดชอบโครงการปรับแก้ข้อมูลตามข้อเสนอแนะในที่ประชุม
3.2 การกําหนดดัชนีตัวชี้วัดโครงการการบริหารความเสี่ยง
ที่ประชุมเสนอให้หน่วยงานกําหนดแผนการประเมินผลการดําเนินงานและปัจจัยชี้วัดความสําเร็จไว้ล่วงหน้า เพื่อให้มี
เป้าหมายของการติดตามผลการดําเนินโครงการได้อย่างชัดเจนมากขึ้น โดยให้ระบุในรูปร้อยละของค่าปัจจัยชี้วัดความสําเร็จของ
โครงการเป็นลําดับตลอดระยะเวลาของการบริหารโครงการความเสี่ยง ทั้งนี้กําหนดให้มีเป้าหมายความสําเร็จเป็นร้อยละ 100
มติที่ประชุม รับทราบและมอบหมายให้ผู้รับผิดชอบโครงการปรับแก้ข้อมูลตามข้อเสนอแนะในที่ประชุม
วาระที่ 4 เรื่องเสนอพิจารณา
4.1 แนวทางการดําเนินงานการประเมินและบริหารความเสี่ยง ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
ที่ประชุมพิจารณาแนวทางการดําเนินงานการประเมินและบริหารความเสี่ยง ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 โดยขอให้
ผู้รับผิดชอบพิจารณาถึงผลการดําเนินงานของโครงการบริหารความเสี่ยงในปัจจุบัน และพิจารณาความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต
โดยกําหนดให้มีดําเนินการดังนี้
4
ระดับภาควิชา ประเมินความเสี่ยงตามแบบฟอร์ม RA.F1 อย่างน้อย 3 ด้าน และเลือกบริหารความเสี่ยงตามแบบฟอร์ม
RMP.F1 อย่างน้อย 1 โครงการ
สํานักงานคณบดี ประเมินความเสี่ยงตามแบบฟอร์ม RA.F1 หน่วยละ 1 ด้าน และบริหารความเสี่ยงตามแบบฟอร์ม
RMP.F1 หน่วยละ 1 โครงการ
มติที่ประชุม รับทราบ
4.2 การตั้งเป้าหมายเป็น 1 ใน 5 โครงการระดับมหาวิทยาลัย เพื่อนําเสนอต่อสภามหาวิทยาลัย
ฝ่ายเลขานุการเสนอให้ที่ประชุมกําหนดแนวทางเพื่อให้โครงการบริหารความเสี่ยงของคณะได้รับเลือกเป็นโครงการบริหาร
ความเสี่ยงระดับมหาวิทยาลัย ที่ประชุมให้ข้อคิดเห็นว่าขอให้ดําเนินการตามแนวทางการบริหารความเสี่ยงตามที่แจ้งในข้อ 4.1 และ
การได้รับคัดเลือกเป็นโครงการระดับมหาวิทยาลัยนั้นขอเป็นไปตามความเห็นชอบของมหาวิทยาลัย
มติที่ประชุม เห็นชอบ
วาระที่ 5 เรื่องอื่น ๆ (ถ้ามี)
5.1 ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินตามระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปีการศึกษา 2557
ในปีการศึกษา 2557 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ได้ปรับเปลี่ยนเกณฑ์การประเมินในเรื่องของการ
บริหารความเสี่ยง จากเดิมการบริหารความเสี่ยง อยู่ในองค์ประกอบที่ 7 ตัวบ่งชี้ที่ 7.4 ระบบการบริหารความเสี่ยง โดยกําหนดให้
ดําเนินงานตามเกณฑ์มาตรฐานทั้งหมด 6 ข้อ นั้น ในปีการศึกษาที่ 2557 ได้ปรับเปลี่ยนตัวบ่งชี้ดังกล่าว โดยเรื่องการบริหารความ
เสี่ยงถูกบรรจุให้เป็นเกณฑ์มาตรฐาน ขององค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกํากับ
ติดตาม ผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบันและเอกลักษณ์ของคณะ โดยมีรายละเอียดดังนี้
องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกํากับ ติดตาม ผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบันและเอกลักษณ์ของ
คณะ
คําอธิบายตัวบ่งชี้ สถาบันอุดมศึกษามีพันธกิจหลัก คือ การเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการแก่สังคม
และการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม ในการดําเนินพันธกิจหลัก สถาบันอุดมศึกษาจําเป็นต้องดําเนินงานผ่านคณะ ดังนั้น คณะต้อง
มีการพัฒนาแผนเพื่อกําหนดทิศทางการพัฒนาและการดําเนินงานของคณะให้สอดคล้องกับเป้าหมายและกลุ่มสถาบัน ตลอดจนมีการ
บริหารทั้งด้านบุคลากร การเงิน ความเสี่ยงและการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานตามพันธกิจหลักให้บรรลุ
ตามเป้าหมายที่วางไว้
เกณฑ์มาตรฐาน
3. ดําเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง ที่เป็นผลจากการวิเคราะห์และระบุปัจจัยเสี่ยงที่เกิดจาก
ปัจจัยภายนอก หรือปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้ที่ส่งผลต่อการดําเนินงานตามพันธกิจของ
คณะและให้ระดับความเสี่ยงลดลงจากเดิม
มติที่ประชุม รับทราบและขอให้ดําเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยงที่กําหนดไว้
ปิดประชุมเวลา 13.10 น.
นายเก็จ แก้วแดง
กรรมการและเลขานุการ
ผู้บันทึกรายงานการประชุม
นายเก็จ แก้วแดง
กรรมการและเลขานุการ
ผู้บันทึกรายงานการประชุม
5
วาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง
RA.F13.1 การประเมินความเสี่ยง (RA.F1) ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
การประเมินความเสี่ยง ปีงบประมาณ 2559
ส่วนงาน : สํานักงานคณบดี
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์ที่ 1.1 : ระบบบริหารองค์กรมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสามารถรองรับต่อสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลง
วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2558
การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง
ความเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง การดําเนินงานปัจจุบัน ระดับ ระดับความเสี่ยง วิธีการบริหาร
ความเสี่ยง
ผู้รับผิดชอบ/
ความเสี่ยงด้านโอกาส ผลกระทบ โครงการ/กิจกรรม
ความเสี่ยง ที่ยอมรับได้ กําหนดแล้วเสร็จ
-ความเสี่ยง
ความเสียหายต่อตัวอาคารและ
อุปกรณ์ที่อยู่ภายในอาคาร และต่อ
ความปลอดภัยของบุคลากร
ปัจจัยเสี่ยง
ความประมาท การขาดการ
ฝึกอบรม
- จัดทํา ก ร ม ธ ร ร ม์
ประกันภัยคุ้มครอง
ความสูญเสียและความ
เสียหายต่างๆ ที่อาจ
เกิดขึ้นในอนาคต
ผู้รับผิดชอบ
- จัดทําทางหนีไฟ ป้าย
บอกทาง
- จัดให้มีเครื่องดับเพลิง
แบบมือถือที่สามารถใช้
ดับเพลิงในเบื้องต้นได้
- จัดให้มีระบบไฟฟ้า
ฉุกเฉิน
1 5 ทรัพยากร สูง น้อย ยอมรับ
ควบคุม
- บรรเทา
- กระจาย
- หลีกเลี่ยง
- อบรมการป้องกัน
ระงับอัคคีภัยและ
เผยแพร่แผนอพยพ
หนีไฟ
สํานักงานคณบดี
ระยะเวลา
ภายใน
ปีงบประมาณ 2559
การประเมินความเสี่ยง ปีงบประมาณ 2559
ส่วนงาน : สํานักงานคณบดี
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์ที่ 1.1 : ระบบบริหารองค์กรมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสามารถรองรับต่อสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลง
วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2558
การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง
ความเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง การดําเนินงานปัจจุบัน ระดับ ระดับความเสี่ยง วิธีการบริหาร
ความเสี่ยง
ผู้รับผิดชอบ/
ความเสี่ยงด้านโอกาส ผลกระทบ โครงการ/กิจกรรม
ความเสี่ยง ที่ยอมรับได้ กําหนดแล้วเสร็จ
-
6
ความเสี่ยง
การขาดงานวิจัยด้านความเสี่ยงของ
คณะฯ
ปัจจัยเสี่ยง
บุคลากรไม่สนใจทํางานวิจัยด้าน
ความเสี่ยง
- 3 3 การวิจัย สูง ปานกลาง ยอมรับ
ควบคุม
- บรรเทา
- กระจาย
- หลีกเลี่ยง
- จัดทํางานวิจัยด้าน
ความเสี่ยงเพื่อเพิ่ม
ทักษะในการประเมิน
และบริหารความ
เสี่ยงและเพื่อการ
ประกันคุณภาพ
การศึกษา
ผู้รับผิดชอบ
สํานักงานคณบดี
ระยะเวลา
ภายใน
ปีงบประมาณ 2559
RA.F1
RA.F1
การประเมินความเสี่ยง ปีงบประมาณ 2559
ส่วนงาน : ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์ที่ 1.2 : บุคลากรมีความรู้ความสามารถและมีความสุขในการทางานก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานเพื่อนาองค์กรสู่ความสาเร็จ
วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2558
7
การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง
ความเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง
ระดับความ
เสี่ยง
ระดับผล
วิธีการบริหารโอกาสการดําเนินงานปัจจุบัน โครงการ/กิจกรรมความเสี่ยงด้าน ความ
เสี่ยง
กระทบ
ความเสี่ยง
ที่ยอมรับได้
ผู้รับผิดชอบ/
กําหนดแล้วเสร็จ
- การสนับสนุนการทําวิจัยของ
บุคลากร และการให้ข้อมูล
ให้ความรู้ด้านงานวิจัยอย่าง
ต่อเนื่องเพียงพอและ
สนับสนุนเงินทุนวิจัยให้กับ
บุคลากร เพื่อการเข้าสู่
การปฏิบัติงาน 4 4 สูงมาก น้อย หัวน้าภาควิชา /
ต.ค.58 – ก.ย.59
ขาดบุคลากรเข้าสู่ตําแหน่งทาง
วิชาการและการผลิตผลงานวิจัย
ขาดความต่อเนื่อง
ยอมรับ
 ควบคุม
- การเข้าสู่ตําแหน่งทางวิชาการบรรเทา
- กระจาย
การขอตําแหน่งทางวิชาการ - หลีกเลี่ยง
RA.F1
การประเมินความเสี่ยง ปีงบประมาณ 2559
ส่วนงาน : ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
ประเด็นยุทธศาสตร์ 1 : การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ. . เป้าประสงค์ที่ 1.2 : บุคลากรมีความรู้ความสามารถและมีความสุขในการทํางานก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการปฎิบัติงาน
วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2558
การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง
ระดับ ระดับความ
เสี่ยง
ความเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง การดําเนินงานปัจจุบัน วิธีการบริหาร
ความเสี่ยง
ผู้รับผิดชอบ/
โครงการ/กิจกรรมโอกาส ผลกระทบ ความเสี่ยงด้าน ความ
เสี่ยง ที่ยอมรับได้
กําหนดแล้วเสร็จ
-ความเสี่ยง ปาน
กลาง
ปานกลาง
8
-ความเสียหายจากการปฎิบัติงาน
ผิดพลาดในการควบคุมดูแล
ห้องปฏิบัติการและระบบ
ซอฟต์แวร์/เซิร์ฟเว่อร์ภายใน
ปัจจัยเสี่ยง
-ความรู้ความสามารถของบุคลากร
-การขาดการฝึกอบรม
-การขาดความต่อเนื่องของการส่ง
ถ่ายงานของเจ้าหน้าที่เทคนิค
คอมพิวเตอร์
-จัดทําคู่มือการ
ปฏิบัติงานการดูแล
ห้องปฏิบัติการ
3 1 การปฎิบัติงาน
(การจัดการ
ความรู้)
การฝึกอบรมสําหรับ
ควบคุมดูแลห้อง lab
และระบบ software,
server ภายใน
ยอมรับ
ควบคุม
- บรรเทา
- กระจาย
- หลีกเลี่ยง
ฝ่ายไอทีภาควิชา/
ภายใน
ปีงบประมาณ 2559
9
RA.F1
การประเมินความเสี่ยง ปีงบประมาณ 2559
ส่วนงาน : ภาควิชาสถิติประยุกต์
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์ที่ 1.2 : พัฒนาบุคลากรให้เกิดประสิทธิภาพและมีความก้าวหน้าในสายงาน
วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2558
การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง
ความเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง การดําเนินงานปัจจุบัน ระดับ ระดับความเสี่ยง วิธีการบริหาร
ความเสี่ยง
ผู้รับผิดชอบ/
ความเสี่ยงด้านโอกาส ผลกระทบ โครงการ/กิจกรรม
ความเสี่ยง ที่ยอมรับได้ กําหนดแล้วเสร็จ
4 1 การปฏิบัติงานคณาจารย์ที่เข้าร่วมการ
อบรมหรือสัมมนาเป็นผู้
จัดเก็บเอกสารการ
อบรม มีการบอกกล่าว
เนื้อหา/ความรู้ที่ได้รับ
แก่บุคลากรในภาควิชา
เฉพาะกลุ่มที่สนใจ แต่
ยังไม่ได้จัดให้มีการ
รายงานเนื้อหาหรือ
ความรู้ให้แก่บุคลากร
ส่วนใหญ่ในภาควิชา
ได้รับทราบ
หัวหน้าภาควิชา/
ตุลาคม 2559
ขาดการถ่ายทอดความรู้ที่ได้จาก
การเข้าร่วมอบรมหรือสัมมนาเชิง
ปฏิบัติการจากผู้เข้าร่วมสู่บุคลากร
ท่านอื่นๆ ในภาควิชา
ปานกลาง ปานกลาง ควบคุม ให้คณาจารย์ที่เข้าร่วม
อบรมหรือสัมมนา
ถ่ายทอดความรู้จากการ
อบรม โดยนําข้อมูลหรือ
เอกสารประกอบการ
อบรมเผยแพร่ให้แก่
บุคลากรท่านอื่นใน
ภาควิชาทราบเพื่อเป็น
แนวทาง/ข้อมูลสําหรับ
ศึกษาเรียนรู้และนํา
ความรู้ไปใช้ในการ
จัดการเรียนการสอน
การประเมินความเสี่ยง ปีงบประมาณ 2559
ส่วนงาน : ภาควิชาสถิติประยุกต์
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : การผลิตบัณฑิต เป้าประสงค์ที่ 2.1 : บัณฑิตของคณะมีคุณสมบัติสอดคล้องตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของมหาวิทยาลัย
วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2558
การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง
ความเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง การดําเนินงานปัจจุบัน ระดับ ระดับความเสี่ยง วิธีการบริหาร
ความเสี่ยง
ผู้รับผิดชอบ/
ความเสี่ยงด้านโอกาส ผลกระทบ โครงการ/กิจกรรม
ความเสี่ยง ที่ยอมรับได้ กําหนดแล้วเสร็จ
10
1. จํานวนนักศึกษาระดับ
บัณฑิตศึกษาที่รับเข้ามีน้อยลง
1. หลักสูตรปริญญาโท มี
ผู้สมัครเข้าเรียนน้อย
เนื่องจากบัณฑิตส่วนใหญ่
มีทางเลือกในการสมัคร
เรียนในสาขาอื่นๆ ที่
หลากหลาย และสาขา
สถิติประยุกต์จะมี
ลักษณะงานที่รองรับ
เฉพาะด้าน
4 3 การปฏิบัติงาน สูง สูง ชี้แนะ 1. ทําความร่วมมือ
ระหว่างภาควิชากับ
หน่วยงานภาครัฐหรือ
เอกชนที่มีความต้องการ
ใช้งานมหาบัณฑิตสถิติ
ประยุกต์ โดยการเปิด
หลักสูตรเพื่อพัฒนา
บุคลากรในองค์กรนั้นๆ
และเพิ่มช่องทางการ
ประชาสัมพันธ์หลักสูตร
ทาง Social network
ให้มากขึ้น
2. ในหลักสูตรปริญญา
เอกนั้นมีมหาบัณฑิตที่
ประสงค์จะเข้าเรียน
จํานวนน้อย เนื่องจาก
ผู้สมัครส่วนใหญ่เป็น
อาจารย์ในมหาวิทยาลัยที่
ต้องการเพิ่มวุฒิการ
ศึกษา ดังนั้นกลุ่มเป้า
หมายจึงมีขนาดเล็ก และ
ในปัจจุบันมีการสอนสถิติ
ประยุกต์ระดับปริญญา
เอกในหลายมหาวิทยาลัย
2. จัดสรรทุนการศึกษา
ให้กับบุคคลภายนอก
เพื่อสร้างแรงจูงใจให้
ศึกษาต่อในสาขาวิชา
สถิติประยุกต์ มจพ.
หัวหน้าภาควิชา/
ตุลาคม 2559
RA.F1
11
การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง
ความเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง การดําเนินงานปัจจุบัน
โอกาส ผลกระทบ ความเสี่ยงด้าน
ระดับ
ความเสี่ยง
ระดับความเสี่ยง
ที่ยอมรับได้
วิธีการบริหาร
ความเสี่ยง
โครงการ/กิจกรรม
ผู้รับผิดชอบ/
กําหนดแล้วเสร็จ
2. อาจารย์ประจํามีจํานวนไม่
เพียงพอ
1. ปัจจุบันสาขาวิชา
สถิติธุรกิจและการ
ประกันภัยขาดแคลน
อาจารย์ประจําสาขาวิชา
การประกันภัย เนื่อง
จากมีผู้สําเร็จการศึกษา
ด้านการประกันภัยตาม
ข้อกําหนดในการรับ
บรรจุอาจารย์ประจํา
น้อยมาก เช่น ไม่มีการ
เรียนสอนระดับปริญญา
เอกสาขาประกันภัย
นอกจากนี้ค่าตอบแทน
การเป็นอาจารย์ประจํา
ไม่จูงใจให้มหาบัณฑิตที่
สําเร็จการศึกษาด้าน
ประกันภัยสนใจศึกษา
ต่อระดับปริญญาเอก
เพื่อมาเป็นอาจารย์
2. ภาควิชามีภาระสอน
วิชาสถิติบริการเป็น
จํานวนมากโดยเฉพาะ
ในภาคเรียนที่ 1 ของทุก
ปีการศึกษา
3 3 การปฏิบัติงาน สูง สูง ควบคุม 1. เสนอนโยบายให้
ผู้บริหารพิจารณาปรับ
เกณฑ์การรับสมัคร
อาจารย์ในสาขา
ประกันภัยให้สอดคล้อง
กับสภาพที่เป็นจริง และ
พิจารณาค่าตอบแทนให้
สูงขึ้นเพื่อจูงใจให้ผู้มี
ความรู้ความสามารถ
บรรจุเป็นอาจารย์
ประจํา
2. ให้ทุนการศึกษาต่อ
แก่นักศึกษาที่มีผลการ
เรียนดี เพื่อให้กลับมา
เป็นอาจารย์
หัวหน้าภาควิชา/
ตุลาคม 2559
12
การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง
ความเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง การดําเนินงานปัจจุบัน
โอกาส ผลกระทบ ความเสี่ยงด้าน
ระดับ
ความเสี่ยง
ระดับความเสี่ยง
ที่ยอมรับได้
วิธีการบริหาร
ความเสี่ยง
โครงการ/กิจกรรม
ผู้รับผิดชอบ/
กําหนดแล้วเสร็จ
3. ขาดผลงานวิชาการประเภท
หนังสือหรือตํารา
จากนโยบายการจูงใจ
ของมหาวิทยาลัยซึ่งให้
อาจารย์ที่เป็นพนักงาน
มหาวิทยาลัยสามารถขอ
ตําแหน่งทางวิชาได้โดย
ใช้ผลงานวิจัยแทนการ
หนังสือหรือตํารานั้น
เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทําให้มี
การผลิตหนังสือหรือ
ตําราน้อยลง ในขณะที่
อาจารย์ที่เป็นข้าราชการ
ใช้กฎเกณฑ์ที่ต่างกัน คือ
ต้องมีหนังสือหรือตํารา
ประกอบการขอ
ตําแหน่งทางวิชาทําให้
ไม่มีแรงจูงใจในการเพิ่ม
ตําแหน่งทางวิชาในกลุ่ม
อาจารย์ข้าราชการ
นอกจากนี้อีกปัจจัยหนึ่ง
คือในการเขียนหนังสือ
หรือตํารา เนื่องจากต้อง
ทุ่มเทแรงกายแรงใจและ
ใช้เวลานานกว่าการทํา
วิจัย
3 3 ปฏิบัติงาน สูง สูง ขี้แนะ สนับสนุนให้อาจารย์
ผลิตตําราหรือหนังสือ
เพื่อเป็นสื่อการสอนให้
มากขึ้น
หัวหน้าภาควิชา/
ตุลาคม 2559
การประเมินความเสี่ยง ปีงบประมาณ 2559
ส่วนงาน : ภาควิชาสถิติประยุกต์
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : การวิจัย เป้าประสงค์ที่ 3.2 : บุคลากรสร้างผลงานวิจัยที่มีคุณค่า นําไปประยุกต์ใช้และขยายผลไปยังภาคอุตสาหกรรมชุมชนและสังคม
วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2558
การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง
ความเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง การดําเนินงานปัจจุบัน ระดับ ระดับความเสี่ยง วิธีการบริหาร
ความเสี่ยง
ผู้รับผิดชอบ/
ความเสี่ยงด้านโอกาส ผลกระทบ โครงการ/กิจกรรม
ความเสี่ยง ที่ยอมรับได้ กําหนดแล้วเสร็จ
4 3ภาควิชาสนับสนุนให้
บุคลากรของภาควิชาฯ
เข้าร่วมการประชุม /
อบรมวิชาการ เพื่อพัฒนา
ความรู้ทางด้านสถิติและ
สถิติประยุกต์ และจัด
โครงการเชิญผู้เชี่ยวชาญ
จากต่างประเทศเพื่อ
บรรยายให้ความรู้ด้าน
วิชาการทางสถิติและ
สถิติประยุกต์ เพื่อเป็น
การกระตุ้นให้บุคลากร
ของภาควิชาฯ เร่งผลิต
งานวิจัยอย่างต่อเนื่อง
1. ด้านการผลิตผลงานวิจัยอย่าง
ต่อเนื่องและสม่ําเสมอ
เนื่องจากกลไกการประกันคุณภาพ
การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ได้
กําหนดคุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และ
อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ ต้องมี
การประสบการณ์ในการทํางานวิจัย
ดังนั้นอาจารย์ประจําหลักสูตรระดับ
บัณฑิตศึกษา ควรมีการผลิตผล
งานวิจัยอย่างต่อเนื่องและสม่ําเสมอ
หากบุคลากรขาดโอกาสในการ
พัฒนาความรู้ใหม่ๆ ทางด้านสถิติ
และสถิติประยุกต์เพื่อใช้ในการ
พัฒนางานวิจัย จะส่งผลให้การผลิต
งานวิจัยไม่ต่อเนื่องและขาดความ
สม่ําเสมอ
การผลิตผลงานวิจัย
อย่างต่อเนื่อง
สูง สูง ควบคุม โครงการเชิญผู้เชี่ยวชาญ
มาบรรยายทางวิชาการ
เพื่อให้ความรู้ทางด้าน
สถิติและสถิติประยุกต์
เพื่อพัฒนาศักยภาพใน
การผลิตงานวิจัย
อาจารย์ประจํา
หลักสูตรและ
อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
หลักสูตร/
ตุลาคม 2559
RA.F1
13
14
การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง
ความเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง การดําเนินงานปัจจุบัน
โอกาส ผลกระทบ ความเสี่ยงด้าน
ระดับ
ความเสี่ยง
ระดับความเสี่ยง
ที่ยอมรับได้
วิธีการบริหาร
ความเสี่ยง
โครงการ/กิจกรรม
ผู้รับผิดชอบ/
กําหนดแล้วเสร็จ
2. การนําผลงานวิจัยหรืองาน
สร้างสรรค์ไปใช้ให้เกิดประโยขน์
และมีการรับรองการใช้ประโยชน์
จากหน่วยงานภายนอกน้อยมาก
เนื่องจากงานผลงานวิจัย
ของภาควิชา เป็น
งานวิจัยบริสุทธิ์ ผู้สนใจ
ต้องนํางานวิจัยไป
ประยุกต์ใช้ต่อกับข้อมูล
เฉพาะทาง แต่เนื่องจาก
ภาควิชายังไม่มีความ
เชื่อมโยงกับองค์กรธุรกิจ
หรือหน่วยงานภายนอก
มากนักทําให้การนํา
ผลงานวิจัยไปประยุกต์
ใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์
ต่อหน่วยงานภายนอก
ไม่สามารถทําได้มากนัก
4 3 ชื่อเสียง สูง สูง ควบคุม สร้างความร่วมมือ
ระหว่างภาควิชากับ
หน่วยงานภาครัฐหรือ
เอกชนเพื่อนําผลงาน
วิจัยไปประยุกต์ใช้ให้มี
ประโยชน์จากผลงาน
วิจัยในเชิงรูปธรรมให้
มากขึ้น หรือนําไปต่อ
ยอดในการพัฒนาทาง
วิชาการ
หัวหน้าภาควิชา/
ตุลาคม 2559
15
RA.F1การประเมินความเสี่ยง ปีงบประมาณ 2559
ส่วนงาน : ภาควิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และสิ่งแวดล้อม
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : การผลิตบัณฑิต
เป้าประสงค์ 2.1 : บัณฑิตของคณะมีคุณลักษณะสอดคล้องตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์โดยเน้นการนําความรู้สู่การปฏิบัติพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงสู่ประชาคมอาเซียน
วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2558
การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง
ความเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง
ผล ระดับ ระดับความ
เสี่ยง
วิธีการบริหารโอกาสการดําเนินงานปัจจุบัน โครงการ/กิจกรรมความเสี่ยงด้าน กระทบ ความ
เสี่ยง
ความเสี่ยง
ที่ยอมรับได้
ผู้รับผิดชอบ/
กําหนดแล้วเสร็จ
ผู้รับผิดชอบโครงการความเสี่ยง 4 4 สูงมาก ปานกลาง ควบคุม1. ประชาสัมพันธ์ให้อาจารย์
ผู้สอนทุกรายวิชา เตรียม
จัดทํารายละเอียดของรายวิชา
(มคอ.3) ประสบการณ์
ภาคสนาม (มคอ.4) รายงาน
ผลการดําเนินงานรายวิชา
(มคอ.5) และรายงานผลการ
ดําเนินการประสบการณ์
ภาคสนาม (มคอ.6) ตาม
กรอบระยะเวลาที่กําหนด
ด้านการปฏิบัติงาน
(กระบวนการบริหาร
หลักสูตร)
หลักสูตรไม่เป็นไปตามกรอบ
มาตรฐาน TQF
จัดทําและปรับปรุงหลักสูตรให้เป็นไป
ตามกรอบมาตรฐาน TQF
หัวหน้าภาควิชาฯ
อาจารย์ผู้สอน และ
อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
หลักสูตร
กําหนดแล้วเสร็จ
ปัจจัยเสี่ยง กิจกรรม
1. 1.มี มคอ. 3-6 ไม่ครบทุกรายวิชา จัดทํารายชื่อวิชาที่เปิดสอนในแต่
ละภาคการศึกษาจากขบวนวิชา2. มี มคอ. 7 ไม่ครบทุกหลักสูตร
2. ระบุชื่อผู้จัดทํา มคอ. ในกรณีที่
รายวิชานั้นๆ มีผู้สอนมากกว่า 1
คน เพื่อใช้ในการติดตาม
ภายใน 30 มิ.ย. 59
โดยมีรายละเอียดดังนี้
1.1 มคอ.3-4 ส่ง
ก่อนเปิดภาคเรียน
1/2558 และ2/2558
3. กําหนดปฏิทินช่วงเวลาที่ต้องส่ง
มคอ. 3-7 และแจ้งให้คณาจารย์
ทราบล่วงหน้าในแต่ละภาค
การศึกษา
2. ประชาสัมพันธ์ให้อาจารย์
ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุก
หลักสูตรรายงานผลการ
ดําเนินงานหลักสูตร (มคอ.7)
ตามกรอบระยะเวลาที่กําหนด
1.2 มคอ.5-6 30
วัน ส่งหลังสิ้นภาค
การศึกษา 1/2558
และ2/2558
1.3 มคอ.7 ส่ง
45 วันหลังสิ้นภาค
การศึกษา 2558
16
การประเมินความเสี่ยง ปีงบประมาณ 2559
ส่วนงาน : ภาควิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และสิ่งแวดล้อม
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ
เป้าประสงค์ 1.2 : บุคลากรมีความรู้ความสามารถและมีความสุขในการทํางาน ก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานเพื่อนําองค์กรสู่ความสําเร็จ
วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2558
การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง
ความเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง
ระดับความ
เสี่ยง
ระดับผล
วิธีการบริหารโอกาสการดําเนินงานปัจจุบัน โครงการ/กิจกรรมความเสี่ยงด้าน ความ
เสี่ยง
กระทบ
ความเสี่ยง
ที่ยอมรับได้
ผู้รับผิดชอบ/
กําหนดแล้วเสร็จ
โครงการความเสี่ยง ผู้รับผิดชอบด้านกลยุทธ์ (นโยบาย) 3 3 สูง ปานกลาง ควบคุมกําหนดให้อาจารย์ที่เข้าร่วม
โครงการฯ รายงาน
ความก้าวหน้าของการผลิต
ผลงานทางวิชาการต่อ
หัวหน้าภาควิชาทุก 3 เดือน
และจัดให้มีการประเมินผล
งานทุก 12 เดือน
การเพิ่มจํานวนบุคลากรสาย
วิชาการให้มีคุณวุฒิปริญญญาเอก
และตําแหน่งทางวิชาการ
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555-2559
ไม่เป็นเป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้ง
ไว้
โครงการส่งเสริมและกระตุ้นให้
ผู้เข้าร่วมโครงการขอกําหนด
ตําแหน่งทางวิชาการ
หัวหน้าภาควิชาฯ
อาจารย์ที่เข้าร่วม
โครงการ/
กิจกรรม 30 กันยายน 2559
ปัจจัยเสี่ยง
อาจารย์ที่เข้าร่วมโครงการฯ ไม่
สามารถผลิตผลงานทางวิชาการ
ได้ตามหลักเกณฑ์ที่โครงการ
กําหนด (โครงการต่อเนื่องจาก
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558)
การรายงานผลความก้าวหน้าของ
การผลิตผลงานทางวิชาการของ
อาจารย์ที่เข้าร่วมโครงการฯ ต่อ
หัวหน้าภาคทุก 3 เดือน และจัดให้
มีการประเมินผลงานทุก 12 เดือน
หมายเหตุ ภาควิชาประเมินเป็นความเสี่ยงของภาควิชา(ตามข้อมูลการรายงานผลการดําเนินงานของปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 รอบ 6 เดือน)
แต่ไม่จัดทําโครงการบริหารความเสี่ยง เนื่องจากเป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัย เรื่อง โครงการส่งเสริมการเพิ่มจํานวน
บุคลากรสายวิชาการให้มีคุณวุฒิปริญญาเอกและตําแหน่งทางวิชาการ ลงวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2558
บุคลากรที่เข้าร่วมโครงการ ณ รอบที่มีการประเมินความเสี่ยง (พ.ค.58) เหลือเพียง 1 ท่าน และมีอัตราเงินเดือนที่ไม่สามารถเข้าร่วมโครงการได้)
RA.F1
(
RA.F1
การประเมินความเสี่ยง ปีงบประมาณ 2559
ส่วนงาน : ภาควิชาเคมีอุตสาหกรรม
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์ที่ 1.1 : ระบบบริหารองค์กรมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสามารถรองรับต่อสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลง
วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2558
การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง
ความเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง การดําเนินงานปัจจุบัน ระดับ ระดับความเสี่ยง วิธีการบริหาร
ความเสี่ยง
ผู้รับผิดชอบ/
ความเสี่ยงด้านโอกาส ผลกระทบ โครงการ/กิจกรรม
ความเสี่ยง ที่ยอมรับได้ กําหนดแล้วเสร็จ
-ความเสี่ยง ขาดมาตรฐานการ
ป ฏิ บั ติ ง า น ที่ เ ป็ น
ขั้นตอนรองรับ เมื่อมี
การหยุดงานโดยไม่
ปัจจุบันทันด่วนของ
นั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ /
ผู้ ป ฏิ บั ติ ง า น ใ น
ห้องปฏิบัติการ
4 4 การปฏิบัติงาน สูงมาก น้อย
17
1. การหยุดปฏิบัติงานของ
นักวิทยาศาสตร์ /ผู้ปฏิบัติงานใน
ห้องปฏิบัติการ
ปัจจัยเสี่ยง
1. เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการไม่
สามารถมาปฏิบัติงานได้เนื่องจาก
ป่วย อุบัติเหตุ สาย ทําให้กระทบ
การสอนวิชาปฏิบัติการ
ยอมรับ
ควบคุม
บรรเทา
- กระจาย
- หลีกเลี่ยง
- จัดทํางานวิจัยด้าน
การจัดทํามาตรฐาน
ดําเนินการรองรับการ
ขาดปฏิบัติงานฉุกเฉิน
ผู้รับผิดชอบ
หัวหน้าภาควิชา
นักวิทยาศาสตร์
ระยะเวลา
ภายใน 30
กันยายน 2559
18
การประเมินความเสี่ยง ปีงบประมาณ 2559
ส่วนงาน : ภาควิชาฟิสิกส์อุตสาหกรรมและอุปกรณ์การแพทย์
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ
เป้าประสงค์ที่ 1 : ระบบบริหารจัดการหน่วยงานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสามารถรองรับต่อสภาวะการเปลี่ยนแปลงควบคู่กับธรรมาภิบาล จริยธรรมและความรับผิดชอบ
วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2558
การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง
ความเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง การดําเนินงานปัจจุบัน ความเสี่ยงด้าน
โอกาส
ผล
กระทบ
ระดับ
ความ
เสี่ยง
ระดับความ
เสี่ยง
ที่ยอมรับได้
วิธีการบริหาร
ความเสี่ยง
โครงการ/กิจกรรม
ผู้รับผิดชอบ/
กําหนดแล้วเสร็จ
ความเสี่ยง
1. การเกิดอันตรายต่อนักศึกษา
ในบริเวณห้องน้ําชั้น 4 โซน A
2. การเกิดอัคคีภัยจากบริเวณ
ห้องน้ําชั้น 4 โซน A
ปัจจัยเสี่ยง
1. บริเวณห้องน้ําชั้น 4 โซน A
เป็นบริเวณที่มีจุดลับตาคนและ
เป็นจุดสุ่มเสี่ยงต่อการเกิด
อันตรายต่อนักศึกษา
2. บริเวณห้องน้ําชั้น 4 โซน A
เป็นบริเวณที่มีนักศึกษาเข้ามาลับ
ลอบสูบบุหรี่และเป็นจุดสุ่มเสี่ยง
ต่อการเกิดอัคคีภัย
1. มีการตรวจสอบจุดติดตั้ง
กล้องวงจรปิดเพื่อทราบ
พิกัดและมุมอับที่กล้องวงจร
ปิดไม่สามารถมองเห็นถึง
แต่ยังไม่ได้ดําเนินการแก้ไข
2. มีการวางแผนเพื่อติดตั้ง
เครื่องตรวจควัน
ทรัพยากร(อาคาร
สถานที่)
4 5 สูงมาก น้อย ควบคุม ติดตั้งระบบรักษาความปลอดภัย
ในบริเวณห้องน้ําชั้น 4 โซน A
หัวหน้าภาควิชา
นักวิทยาศาสตร์/
วิศวกร/
30 ก.ย. 2559
RA.F1
การประเมินความเสี่ยง ปีงบประมาณ 2559
ส่วนงาน : ภาควิชาฟิสิกส์อุตสาหกรรมและอุปกรณ์การแพทย์
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : การผลิตบัณฑิตที่พึงประสงค์ เป้าประสงค์ที่ 2 : นักศึกษามีองค์ความรู้และมีลักษณะนิสัยอันพึงประสงค์อันเกิดจากการบูรณาการกระบวนการจัดการเรียนการสอนกับการจัดกิจกรรมนักศึกษา
วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2558
การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง
ความเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง การดําเนินงานปัจจุบัน ระดับ ระดับความเสี่ยง วิธีการบริหาร
ความเสี่ยง
ผู้รับผิดชอบ/
ความเสี่ยงด้านโอกาส ผลกระทบ โครงการ/กิจกรรม
ความเสี่ยง ที่ยอมรับได้ กําหนดแล้วเสร็จ
ความเสี่ยง 4 4 การปฏิบัติงาน สูงมาก น้อย
19
นักศึกษาของภาควิชาขาดทักษะ
ทางด้านภาษาอังกฤษ
ปัจจัยเสี่ยง
1. นักศึกษาขาดความกระตือรือร้น
ในการพัฒนาความสามารถในด้าน
ภาษาอังกฤษ
2. ขาดสภาพแวดล้อมที่สนับสนุน
การเรียนรู้ทางด้านภาษาอังกฤษ
1. ภาควิชาได้ทดลอง
การสอนภาษาอังกฤษ
ด้วยกิจกรรมออกกําลัง
กายและได้ผลตอบรับ
อย่างดีเยี่ยมจาก
นักศึกษา
ควบคุม จัดกิจกรรมเพิ่มทักษะ
ภาษาอังกฤษผ่าน
ทางด้านกิจกรรม
นักศึกษา
2. สนับสนุนการใช้
ภาษาอังกฤษในสอน
และเชื่อมโยงการพบปะ
ระหว่างนักศึกษา
โครงการสองภาษาและ
โครงการภาษาไทย
ภาควิชาฟิสิกส์ฯ/
ก.ย.59
20
RA.F1
การประเมินความเสี่ยง ปีงบประมาณ 2559
ส่วนงาน : ภาควิชาฟิสิกส์อุตสาหกรรมและอุปกรณ์การแพทย์
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : การวิจัยและพัฒนา เป้าประสงค์ที่ 1 : มุ่งสู่คณะ/มหาวิทยาลัยวิจัย
วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2558
การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง
ความเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง การดําเนินงานปัจจุบัน ระดับ ระดับความเสี่ยง วิธีการบริหาร
ความเสี่ยง
ผู้รับผิดชอบ/
ความเสี่ยงด้านโอกาส ผลกระทบ โครงการ/กิจกรรม
ความเสี่ยง ที่ยอมรับได้ กําหนดแล้วเสร็จ
ความเสี่ยง 4 4 การปฏิบัติงาน สูงมาก น้อย ควบคุม
บุคลากรของภาควิชาไม่สามารถ
ทํางานวิจัยอย่างเต็มความสามารถ
ปัจจัยเสี่ยง
1. อาจารย์ใหม่ของภาควิชาต้องใช้
เวลาในการปรับตัวเข้ากับภาระการ
สอน
2. ภาระการสอนวิชาปฏิบัติการมาก
เกินไป
1. ภาควิชาได้ทําการวาง
แผนการจัดตารางสอน
ให้สอดคล้องกับ
บุคลากรเพื่อรองรับการ
ทําวิจัย
กิจกรรมสนับสนุน
งานวิจัย โดยเชื่อมโยง
ภาาระการสอนและการ
วิจัยอย่างเป็นระบบและ
พัฒนาระบบผู้ช่วยสอน
ให้เกิดประสิทธิภาพ
สูงสุด
2. ภาควิชาได้
เตรียมพร้อมการ
จัดระบบผู้ช่วยสอนเพื่อ
แบ่งเบาภาระการสอน
วิชาปฎิบัติ
ภาควิชาฟิสิกส์ฯ/
ก.ย.59
21
มติที่ประชุม ..................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................
22
RMP.F13.2 การบริหารความเสี่ยง (RMP.F1) ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
การบริหารความเสี่ยงสําหรับโครงการ ปีงบประมาณ 2559
ส่วนงาน : สํานักงานคณบดี
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์ที่ 1.1 : ระบบบริหารองค์กรมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสามารถรองรับต่อสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลง
โครงการ/กิจกรรม : อบรมการป้องกันระงับอัคคีภัยและเผยแพร่แผนอพยพหนีไฟ
ความเสี่ยงด้าน : ทรัพยากร (อาคารสถานที่)
วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2558
การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยงระดับ
ระดับ ลําดับการดําเนินงาน
ปัจจุบัน
ขั้นตอน วัตถุประสงค์ขั้นตอน ความเสี่ยง ปัจจัยเสี่ยง ความเสี่ยง
ความเสี่ยงความเสี่ยง วิธีบริหาร การจัดการ ผู้รับผิดชอบ/ที่ยอมรับได้โอกาส ผลกระทบ
ความเสี่ยง ความเสี่ยง กําหนดแล้วเสร็จ
1.จัดให้มีการ
ฝึกซ้อมอพยพ
ผู้ปฏิบัติงาน
ออกจากอาคาร
ไปตามเส้นทาง
หนีไฟ
เพื่อเป็นการป้องกัน
การสูญเสียทั้งชีวิต
และทรัพย์สินหาก
เกิดเหตุเพลิงไหม้
หากเกิดเหตุ
เพลิงไหม้
อาจทําให้
บุคลากรของ
คณะเกิด
ภาวะการ
ตัดสินใจ
ไม่ถูก
ไม่สามารถที่
จะช่วยเหลือ
ตัวเองหรือ
เพื่อน
ร่วมงานได้
-การขาดการ
ฝึกอบรม
-ความ
ประมาท
มีการทํา
ประกันภัยต่อ
อาคารและ
ทรัพย์กับ
บริษัท
ประกันภัย
1 5 สูง น้อย 1 ควบคุม อบรมการป้องกัน
ระงับอัคคีภัยและ
เผยแพร่แผน
อพยพหนีไฟ
สํานักงาน
คณบดี/ภายใน
ปีงบประมาณ
2559
23
การบริหารความเสี่ยงสําหรับโครงการ ปีงบประมาณ 2559
ส่วนงาน : สํานักงานคณบดี
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์ที่ 1.1 : ระบบบริหารองค์กรมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสามารถรองรับต่อสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลง
โครงการ/กิจกรรม : จัดทํางานวิจัยด้านความเสี่ยงเพื่อเพิ่มทักษะในการประเมินและบริหารความเสี่ยงและเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา
ความเสี่ยงด้าน : การวิจัย
วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2558
การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง
ขั้นตอน วัตถุประสงค์ขั้นตอน ความเสี่ยง ปัจจัยเสี่ยง
การดําเนินงาน
ปัจจุบัน
โอกาส ผลกระทบ
ระดับ
ความเสี่ยง
ระดับ
ความเสี่ยง
ที่ยอมรับได้
ลําดับ
ความเสี่ยง วิธีบริหาร
ความเสี่ยง
การจัดการ
ความเสี่ยง
ผู้รับผิดชอบ/
กําหนดแล้วเสร็จ
1. จัดทํา
งานวิจัยด้าน
ความเสี่ยง
เพื่อจัดทํางานวิจัย
ด้านความเสี่ยง
การขาด
งานวิจัยด้าน
ความเสี่ยง
ของคณะฯ
-บุคลากรไม่
สนใจทํางาน
วิจัยด้านความ
เสี่ยง
- 3 3 สูง ปานกลาง 1 ควบคุม - จัดทํางานวิจัย
ด้านความเสี่ยง
ได้แก่
- ระบบ
สารสนเทศเพื่อ
การบริหาร
ความเสี่ยง
- การพัฒนา
ระบบบริหาร
ความเสี่ยงด้าน
การเงิน
- การพัฒนา
ระบบบริหาร
ความเสี่ยงด้าน
พัสดุ
- การพัฒนา
ระบบบริหาร
ความเสี่ยงด้าน
งานแผนและ
พัฒนา
สํานักงาน
คณบดี/ภายใน
ปีงบประมาณ
2559
RMP.F1
การบริหารความเสี่ยงสําหรับโครงการ ปีงบประมาณ 2559
ส่วนงาน : สํานักงานคณบดี
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์ที่ 1.1 : ระบบบริหารองค์กรมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสามารถรองรับต่อสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลง
โครงการ/กิจกรรม : จัดทํางานวิจัยด้านความเสี่ยงเพื่อเพิ่มทักษะในการประเมินและบริหารความเสี่ยงและเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา
ความเสี่ยงด้าน : การวิจัย
วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2558
การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยงระดับ
ระดับ ลําดับการดําเนินงาน
ปัจจุบัน
ขั้นตอน วัตถุประสงค์ขั้นตอน ความเสี่ยง ปัจจัยเสี่ยง ความเสี่ยง
ความเสี่ยงความเสี่ยง วิธีบริหาร การจัดการ ผู้รับผิดชอบ/ที่ยอมรับได้โอกาส ผลกระทบ
ความเสี่ยง ความเสี่ยง กําหนดแล้วเสร็จ
- การพัฒนา
ระบบบริหาร
ความเสี่ยงด้าน
วิชาการ
- การพัฒนา
ระบบบริหาร
ความเสี่ยงด้าน
งานสารบรรณ
และงานบริหาร
บุคลากร
- การพัฒนา
ระบบบริหาร
ความเสี่ยงด้าน
กิจการ
นักศึกษา
- การพัฒนา
ระบบบริหาร
ความเสี่ยงด้าน
งานวิจัย
24
RMP.F1
การบริหารความเสี่ยงสําหรับโครงการ ปีงบประมาณ 2559
ส่วนงาน : สํานักงานคณบดี
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์ที่ 1.1 : ระบบบริหารองค์กรมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสามารถรองรับต่อสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลง
โครงการ/กิจกรรม : จัดทํางานวิจัยด้านความเสี่ยงเพื่อเพิ่มทักษะในการประเมินและบริหารความเสี่ยงและเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา
ความเสี่ยงด้าน : การวิจัย
วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2558
การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยงระดับ
ระดับ ลําดับการดําเนินงาน
ปัจจุบัน
ขั้นตอน วัตถุประสงค์ขั้นตอน ความเสี่ยง ปัจจัยเสี่ยง ความเสี่ยง
ความเสี่ยงความเสี่ยง วิธีบริหาร การจัดการ ผู้รับผิดชอบ/ที่ยอมรับได้โอกาส ผลกระทบ
ความเสี่ยง ความเสี่ยง กําหนดแล้วเสร็จ
'- การพัฒนา
ระบบบริหาร
ความเสี่ยงด้าน
การลดขั้นตอน
งาน
- การพัฒนา
ระบบบริหาร
ความเสี่ยงด้าน
คอมพิวเตอร์
- การพัฒนา
ระบบบริหาร
ความเสี่ยงด้าน
อาคาร สถานที่
ฯลฯ
25
RMP.F1
การบริหารความเสี่ยงสําหรับโครงการ ปีงบประมาณ 2559
ส่วนงาน : ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์ที่ 1.2 : บุคลากรมีความรู้ความสามารถและมีความสุขในการทางานก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานเพื่อนาองค์กรสู่ความสาเร็จ
โครงการ/กิจกรรม : การสนับสนุนให้บุคลากรสร้างผลงานเพื่อการเข้าสู่ตําแหน่งทางวิชาการ
ความเสี่ยงด้าน : บุคลากร
วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2558
การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยงระดับ
ระดับ ลําดับการดําเนินงาน
ปัจจุบัน
ขั้นตอน วัตถุประสงค์ขั้นตอน ความเสี่ยง ปัจจัยเสี่ยง ความเสี่ยง
ความเสี่ยงความเสี่ยง วิธีบริหาร การจัดการ ผู้รับผิดชอบ/ที่ยอมรับได้โอกาส ผลกระทบ
ความเสี่ยง ความเสี่ยง กําหนดแล้วเสร็จ
26
1. ให้ความรู้
และการสนับ
สนุนเงินทุนวิจัย
2. สนับสนุน
ผลักดันให้สร้าง
ผลงานเพื่อเข้าสู่
ตําแหน่งทาง
วิชาการ
1. เพื่อสร้างนักวิจัย
รุ่นใหม่ให้มี
ผลงานวิจัยอย่าง
ต่อเนื่อง
2. เพื่อให้บุคลากรมี
ต่ําแหน่งทาง
วิชาการมากขึ้นและ
สูงขึ้น
ส่งผลต่อการ
เข้าสู่
ตําแหน่งทาง
วิชาการ
ขาดบุคลากร
เข้าสู่ตําแหน่ง
ทางวิชาการ
และการผลิต
ผลงานวิจัย
ขาด
ความต่อเนื่อง
ให้ความรู้ด้าน
งานวิจัยอย่าง
ต่อเนื่อง
เพียงพอและ
สนับสนุน
เงินทุนวิจัย
ให้กับบุคลากร
ภายในภาค
และการ
ติดตามผลเพื่อ
ผลักดันให้
เข้าสู่ตําแหน่ง
ทางวิชาการ
4 4 สูงมาก น้อย 1 ควบคุม ดําเนินการติดตาม
อย่างต่อเนื่อง
หัวหน้าภาควิชา
/ ต.ค.58 –
ก.ย.59
การบริหารความเสี่ยงสําหรับโครงการ ปีงบประมาณ 2559
ส่วนงาน : ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์.
ประเด็นยุทธศาสตร์ 1 : การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ. . เป้าประสงค์ที่ 1.2 : บุคลากรมีความรู้ความสามารถและมีความสุขในการทํางานก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการปฎิบัติงาน
โครงการ/กิจกรรม : การฝึกอบรมสําหรับควบคุมดูแลห้อง lab และระบบ software, server ภายใน
ความเสี่ยงด้าน : การปฎิบัติงาน(การจัดการความรู้)
วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2558
การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยงระดับ
27
ขั้นตอน วัตถุประสงค์ขั้นตอน ความเสี่ยง ปัจจัยเสี่ยง
การ
ดําเนินงาน
ปัจจุบัน โอกาส ผลกระทบ
ระดับ
ลําดับ
ความ
เสี่ยง
ความเสี่ยง
ความเสี่ยง วิธีบริหาร การจัดการ ผู้รับผิดชอบ/ที่ยอมรับได้
ความเสี่ยง ความเสี่ยง กําหนดแล้วเสร็จ
1.จัดทําคู่มือการ
บริหาร Server
และซอฟต์แวร์
ภายในภาควิชา
เพื่อสร้างคู่มือในการ
ปฎิบัติงาน สําหรับ
ควบคุมดูแลห้อง lab
และระบบ software,
server ภายใน
หาก server
หรือซอฟต์แวร์
ระบบบริหารงาน
ภายในภาควิชา
เกิดข้อผิดพลาด
อาจทําให้
เจ้าหน้าที่ไม่
สามารถแก้ไขได้
-การขาดความรู้
ความสามารถของ
บุคลากร
การสร้าง
เอกสารคู่มือ
การใช้งาน
ระบบบาง
ระบบ
3 1 ปาน
กลาง
ปานกลาง 1 ควบคุม จัดทําคู่มือการบริหาร
Server และ
ซอฟต์แวร์ภายใน
ภาควิชา-การขาดการ
ฝึกอบรม
-การขาดความ
ต่อเนื่องของการส่ง
ถ่ายงานของ
เจ้าหน้าที่เทคนิค
คอมพิวเตอร์
ฝ่ายไอที
ภาควิชา/ภายใน
ปีงบประมาณ
2559
2.จัดฝึกอบรม
เกี่ยวกับการ
บริหาร Server
และซอฟต์แวร์
ภายในภาควิชา
เพื่อให้เจ้าหน้าที่
computer
technique มีความรู้
และความต่อเนื่องใน
การปฎิบัติงาน สําหรับ
ควบคุมดูแลห้อง lab
และระบบ software,
server ภายใน
หาก server
หรือซอฟต์แวร์
ระบบบริหารงาน
ภายในภาควิชา
เกิดข้อผิดพลาด
อาจทําให้
เจ้าหน้าที่ไม่
สามารถแก้ไขได้
-การขาดความรู้
ความสามารถของ
บุคลากร
การฝึกอบรม
ให้ความรู้กับ
เจ้าหน้าที่ไม่
มากพอ
3 1 ปาน
กลาง
ปานกลาง 2 ควบคุม จัดฝึกอบรมเกี่ยวกับ
การบริหาร Server
และซอฟต์แวร์ภายใน
ภาควิชา-การขาดการ
ฝึกอบรม
-การขาดความ
ต่อเนื่องของการส่ง
ถ่ายงานของ
เจ้าหน้าที่เทคนิค
คอมพิวเตอร์
ฝ่ายไอที
ภาควิชา/ภายใน
ปีงบประมาณ
2559
RMP.F1
วาระการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 2/2558
วาระการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 2/2558
วาระการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 2/2558
วาระการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 2/2558
วาระการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 2/2558
วาระการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 2/2558
วาระการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 2/2558
วาระการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 2/2558
วาระการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 2/2558
วาระการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 2/2558
วาระการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 2/2558
วาระการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 2/2558
วาระการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 2/2558
วาระการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 2/2558

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘Duangnapa Inyayot
 
คำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าว
คำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าวคำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าว
คำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าวJitiya Purksametanan
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยประพันธ์ เวารัมย์
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนkrupornpana55
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2Sircom Smarnbua
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘Duangnapa Inyayot
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)Kruthai Kidsdee
 
บทที่ 7 การวางแผนกลยุทธ์และกลยุทธ์การเจรจาต่อรองข้ามชาติ
บทที่ 7 การวางแผนกลยุทธ์และกลยุทธ์การเจรจาต่อรองข้ามชาติบทที่ 7 การวางแผนกลยุทธ์และกลยุทธ์การเจรจาต่อรองข้ามชาติ
บทที่ 7 การวางแผนกลยุทธ์และกลยุทธ์การเจรจาต่อรองข้ามชาติTeetut Tresirichod
 
ตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงานตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงานJitiya Purksametanan
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 50981081205
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศmaerimwittayakom school
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์พัน พัน
 
Audit Risk Assessment Model Thai
Audit Risk Assessment Model ThaiAudit Risk Assessment Model Thai
Audit Risk Assessment Model ThaiPairat Srivilairit
 
บทความวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง ...
บทความวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง  ...บทความวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง  ...
บทความวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง ...Jaturapad Pratoom
 
ตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุdnavaroj
 

Mais procurados (20)

แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
 
คำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าว
คำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าวคำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าว
คำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าว
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
 
โมเมนต์
โมเมนต์โมเมนต์
โมเมนต์
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
บทที่ 7 การวางแผนกลยุทธ์และกลยุทธ์การเจรจาต่อรองข้ามชาติ
บทที่ 7 การวางแผนกลยุทธ์และกลยุทธ์การเจรจาต่อรองข้ามชาติบทที่ 7 การวางแผนกลยุทธ์และกลยุทธ์การเจรจาต่อรองข้ามชาติ
บทที่ 7 การวางแผนกลยุทธ์และกลยุทธ์การเจรจาต่อรองข้ามชาติ
 
ตารางค่าขนย้าย
ตารางค่าขนย้ายตารางค่าขนย้าย
ตารางค่าขนย้าย
 
ตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงานตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
Audit Risk Assessment Model Thai
Audit Risk Assessment Model ThaiAudit Risk Assessment Model Thai
Audit Risk Assessment Model Thai
 
บทความวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง ...
บทความวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง  ...บทความวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง  ...
บทความวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง ...
 
ตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุ
 

Mais de งานอาคารฯ คณะวิทย์ มจพ.

วาระการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 3/2558
วาระการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 3/2558วาระการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 3/2558
วาระการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 3/2558งานอาคารฯ คณะวิทย์ มจพ.
 
วาระการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 1/2558
วาระการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 1/2558วาระการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 1/2558
วาระการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 1/2558งานอาคารฯ คณะวิทย์ มจพ.
 

Mais de งานอาคารฯ คณะวิทย์ มจพ. (19)

ค่าและหน่วยไฟฟ้า ส.ค. 58
ค่าและหน่วยไฟฟ้า ส.ค. 58ค่าและหน่วยไฟฟ้า ส.ค. 58
ค่าและหน่วยไฟฟ้า ส.ค. 58
 
ค่าและหน่วยไฟฟ้า ก.ค. 58
ค่าและหน่วยไฟฟ้า ก.ค. 58ค่าและหน่วยไฟฟ้า ก.ค. 58
ค่าและหน่วยไฟฟ้า ก.ค. 58
 
ค่าและหน่วยไฟฟ้า มิ.ย. 58
ค่าและหน่วยไฟฟ้า มิ.ย. 58ค่าและหน่วยไฟฟ้า มิ.ย. 58
ค่าและหน่วยไฟฟ้า มิ.ย. 58
 
วาระการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 3/2558
วาระการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 3/2558วาระการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 3/2558
วาระการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 3/2558
 
วาระการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 1/2558
วาระการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 1/2558วาระการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 1/2558
วาระการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 1/2558
 
ค่าและหน่วยไฟฟ้า พ.ค. 58
ค่าและหน่วยไฟฟ้า พ.ค. 58ค่าและหน่วยไฟฟ้า พ.ค. 58
ค่าและหน่วยไฟฟ้า พ.ค. 58
 
ค่าและหน่วยไฟฟ้า เม.ย. 58
ค่าและหน่วยไฟฟ้า เม.ย. 58ค่าและหน่วยไฟฟ้า เม.ย. 58
ค่าและหน่วยไฟฟ้า เม.ย. 58
 
ค่าและหน่วยไฟฟ้า มี.ค. 58
ค่าและหน่วยไฟฟ้า มี.ค. 58ค่าและหน่วยไฟฟ้า มี.ค. 58
ค่าและหน่วยไฟฟ้า มี.ค. 58
 
ค่าและหน่วยไฟฟ้า ก.พ. 58
ค่าและหน่วยไฟฟ้า ก.พ. 58ค่าและหน่วยไฟฟ้า ก.พ. 58
ค่าและหน่วยไฟฟ้า ก.พ. 58
 
ค่าและหน่วยไฟฟ้า ม.ค. 58
ค่าและหน่วยไฟฟ้า ม.ค. 58ค่าและหน่วยไฟฟ้า ม.ค. 58
ค่าและหน่วยไฟฟ้า ม.ค. 58
 
ค่าและหน่วยไฟฟ้า ธ.ค. 57
ค่าและหน่วยไฟฟ้า ธ.ค. 57ค่าและหน่วยไฟฟ้า ธ.ค. 57
ค่าและหน่วยไฟฟ้า ธ.ค. 57
 
ค่าและหน่วยไฟฟ้า พ.ย. 57
ค่าและหน่วยไฟฟ้า พ.ย. 57ค่าและหน่วยไฟฟ้า พ.ย. 57
ค่าและหน่วยไฟฟ้า พ.ย. 57
 
ค่าและหน่วยไฟฟ้า ต.ค. 57
ค่าและหน่วยไฟฟ้า ต.ค. 57ค่าและหน่วยไฟฟ้า ต.ค. 57
ค่าและหน่วยไฟฟ้า ต.ค. 57
 
สรุปไฟฟ้าปีงบประมาณ 57
สรุปไฟฟ้าปีงบประมาณ 57สรุปไฟฟ้าปีงบประมาณ 57
สรุปไฟฟ้าปีงบประมาณ 57
 
ค่าและหน่วยไฟฟ้า ก.ย. 57
ค่าและหน่วยไฟฟ้า ก.ย. 57ค่าและหน่วยไฟฟ้า ก.ย. 57
ค่าและหน่วยไฟฟ้า ก.ย. 57
 
ค่าและหน่วยไฟฟ้า ส.ค. 57
ค่าและหน่วยไฟฟ้า ส.ค. 57ค่าและหน่วยไฟฟ้า ส.ค. 57
ค่าและหน่วยไฟฟ้า ส.ค. 57
 
ค่าและหน่วยไฟฟ้า ก.ค. 57
ค่าและหน่วยไฟฟ้า ก.ค. 57ค่าและหน่วยไฟฟ้า ก.ค. 57
ค่าและหน่วยไฟฟ้า ก.ค. 57
 
ค่าและหน่วยไฟฟ้า เม.ย. 57
ค่าและหน่วยไฟฟ้า เม.ย. 57ค่าและหน่วยไฟฟ้า เม.ย. 57
ค่าและหน่วยไฟฟ้า เม.ย. 57
 
ค่าและหน่วยไฟฟ้า ก.พ. 57
ค่าและหน่วยไฟฟ้า ก.พ. 57ค่าและหน่วยไฟฟ้า ก.พ. 57
ค่าและหน่วยไฟฟ้า ก.พ. 57
 

วาระการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 2/2558

  • 1. วาระการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 2/2558 วันจันทร์ที่ 18 พฤษภาคม 2558 ณ ห้องประชุม 203 ชั้น 2 อาคารคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ------------------------------- หน้า วาระที่ 1 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ 1 วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุม 1 วาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง 5 3.1 การประเมินความเสี่ยง (RA.F1) ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 5 3.2 การบริหารความเสี่ยง (RMP.F1) ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 22 3.3 แบบสรุปการประเมินความเสี่ยง ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 36 3.4 แบบสรุปโครงการการบริหารความเสี่ยง ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 38 วาระที่ 4 เรื่องเสนอพิจารณา 40 วาระที่ 5 เรื่องอื่นๆ (ถ้ามี) 40
  • 2. เอกสารประกอบการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 2 / ปีงบประมาณ 2558 วันจันทร์ที่ 18 พฤษภาคม 2558 ณ ห้องประชุม 203 ชั้น 2 อาคารคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ --------------------------------- เริ่มประชุมเวลา...................................น. วาระที่ 1 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ 1.1 ............................................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................... 1.2 ............................................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................... 1.3 ............................................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................... วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 1/ปีงบประมาณ 2558 วันพฤหัสบดีที่ 5 มีนาคม 2558 (หน้า 2-4) รับรอง โดยไม่แก้ไข รับรอง โดยแก้ไข ดังนี้ .................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................
  • 3. 2 รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 1 / ปีงบประมาณ 2558 วันพฤหัสบดีที่ 5 มีนาคม 2558 ณ ห้องประชุม 203 ชั้น 2 อาคารคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ---------------------------------------------------------------- ผู้มาประชุม 1. รองศาสตราจารย์นฤมล เครือองอาจนุกูล ประธานกรรมการ 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์นนทกร สถิตานนท์ รองประธานกรรมการ 3. อาจารย์ ดร.ศิริศาส เอื้อใจ กรรมการ 4. อาจารย์ ดร.สุธิดา อัครชนียากร กรรมการ 5. อาจารย์ ดร.ศิริขวัญ ทินรัตน์ กรรมการ 6. อาจารย์สถิต ประสมพันธ์ กรรมการ 7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์นุชรินทร์ ทิพยวรรณากร กรรมการ 8. อาจารย์ ดร.เอกชัย คุณวุฒิปรีชาชาญ กรรมการ 9. อาจารย์รสจรินทร์ บุญทวัน กรรมการ 10. นางสาววรรณศิริ มิถอย กรรมการ 11. นางสาวจันทร เพ็ชรอําไพ กรรมการ 12. นางอาภารัตน์ เดชเลิศประยูร กรรมการ 13. นางสาวศรีวิไล ซุยเจริญ กรรมการ 14. นางสาววิลาวรรณ แซ่เจ๊ง กรรมการ 15. นางพุทธชาติ บรรดาศักดิ์ กรรมการ 16. นางภควรรณ สีสวย กรรมการ 17. นายเก็จ แก้วแดง กรรมการและเลขานุการ 18. นางสาววรรณนิภา ขาวผ่อง กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ผู้ไม่มาประชุม (ติดราชการ) 1. นายปิยะวัฒน์ สุธา กรรมการ 2. นายธีรวุฒิ นาคขํา กรรมการ เริ่มประชุมเวลา 11.50 น. วาระที่ 1 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ 1.1 คําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ตามที่ประธานโดย ผศ.ดร.กฤดาภัทร สีหารี ได้หมดวาระการบริหารงาน คณะฯจึงมีการเปลี่ยนแปลงคําสั่งแต่งตั้ง คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงฯ ตามคําสั่งคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ที่ วท 072/2558 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความ เสี่ยงและควบคุมภายใน คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ลงวันที่ 23 มกราคม พ.ศ.2558 มติที่ประชุม รับทราบ 1.2 โครงการบริหารความเสี่ยง ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงร่วมกันพิจารณาโครงการบริหารความเสี่ยง คราวประชุมครั้งที่ 4 เมื่อวันที่ 5 กันยายน 2557 เพื่อนําเสนอต่อคณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการ และเสนอต่อมหาวิทยาลัย จํานวน 3 โครงการ ดังนี้ 1. โครงการการวางแผนป้องกันและระงับอัคคีภัย 2. โครงการเพิ่มทักษะทางด้านภาษาเพื่อมุ่งสู่ประชาคมอาเซียน
  • 4. 3 3. โครงการสนับสนุนผลักดันบุคลากรให้ศึกษาต่อในระดับปริญญาเอกและสร้างผลงานเพื่อการเข้าสู่ตําแหน่งทาง วิชาการ คณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ คราวประชุมครั้งที่ 14/2557 เมื่อวันที่ 17 กันยายน 2557 ได้พิจารณาพร้อมเปลี่ยนแปลงโครงการเพื่อเสนอต่อมหาวิทยาลัย จํานวน 3 โครงการ ดังนี้ 1. โครงการการวางแผนป้องกันและระงับอัคคีภัย 2. โครงการเพิ่มทักษะทางด้านภาษาเพื่อมุ่งสู่ประชาคมอาเซียน 3. โครงการการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร มติที่ประชุม รับทราบ วาระที่ 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุม ที่ประชุมรับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 4/ปีงบประมาณ 2557 วันศุกร์ที่ 5 กันยายน 2557 โดยแก้ไข ดังนี้ 1. วาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง เพิ่มหัวข้อ 3.2 ดังนี้ 3.2 รายงานผลการบริหารความเสี่ยง (RM.F1) ประจําปีงบประมาณ 2557 รอบ 12 เดือน หน่วยงานได้รายงานผลการบริหารความเสี่ยง ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 รอบ 12 เดือน รวมทั้งสิ้น 14 โครงการ มติที่ประชุม รับทราบ 2. วาระที่ 4 เรื่องเสนอพิจารณา ดังนี้ วาระที่ 4 เรื่องเสนอพิจารณา 4.1 แผนการประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 มติที่ประชุม มอบฝ่ายเลขาฯ ปรับแผนการประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 และนํามาแจ้งที่ประชุมต่อไป แก้ไขโดยเปลี่ยนมติที่ประชุม เป็น มติที่ประชุม เห็นชอบการปรับแผนการประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 วาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง 3.1 การรายงานผลการบริหารความเสี่ยง (RM.F1) ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 รอบ 6 เดือน ที่ประชุมร่วมกันพิจารณารายงานผลการบริหารความเสี่ยง ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 รอบ 6 เดือน ที่หน่วยงาน รายงานมา โดยที่ประชุมมีการสอบถามและปรับแก้ข้อมูลจากการรายงานผลการดําเนินงานพร้อมทั้งร่วมกันพิจารณาผลการประเมิน การควบคุมของโครงการ จํานวนทั้งสิ้น 11 โครงการ นอกจากนี้ ที่ประชุมได้มอบหมายให้ภาควิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร อาหารและสิ่งแวดล้อม ดําเนินการประเมินความเสี่ยงของหน่วยงานพร้อมกับทําโครงการบริหารความเสี่ยงเพิ่มเติมจํานวน 1 โครงการ มติที่ประชุม รับทราบและมอบหมายให้ผู้รับผิดชอบโครงการปรับแก้ข้อมูลตามข้อเสนอแนะในที่ประชุม 3.2 การกําหนดดัชนีตัวชี้วัดโครงการการบริหารความเสี่ยง ที่ประชุมเสนอให้หน่วยงานกําหนดแผนการประเมินผลการดําเนินงานและปัจจัยชี้วัดความสําเร็จไว้ล่วงหน้า เพื่อให้มี เป้าหมายของการติดตามผลการดําเนินโครงการได้อย่างชัดเจนมากขึ้น โดยให้ระบุในรูปร้อยละของค่าปัจจัยชี้วัดความสําเร็จของ โครงการเป็นลําดับตลอดระยะเวลาของการบริหารโครงการความเสี่ยง ทั้งนี้กําหนดให้มีเป้าหมายความสําเร็จเป็นร้อยละ 100 มติที่ประชุม รับทราบและมอบหมายให้ผู้รับผิดชอบโครงการปรับแก้ข้อมูลตามข้อเสนอแนะในที่ประชุม วาระที่ 4 เรื่องเสนอพิจารณา 4.1 แนวทางการดําเนินงานการประเมินและบริหารความเสี่ยง ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 ที่ประชุมพิจารณาแนวทางการดําเนินงานการประเมินและบริหารความเสี่ยง ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 โดยขอให้ ผู้รับผิดชอบพิจารณาถึงผลการดําเนินงานของโครงการบริหารความเสี่ยงในปัจจุบัน และพิจารณาความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต โดยกําหนดให้มีดําเนินการดังนี้
  • 5. 4 ระดับภาควิชา ประเมินความเสี่ยงตามแบบฟอร์ม RA.F1 อย่างน้อย 3 ด้าน และเลือกบริหารความเสี่ยงตามแบบฟอร์ม RMP.F1 อย่างน้อย 1 โครงการ สํานักงานคณบดี ประเมินความเสี่ยงตามแบบฟอร์ม RA.F1 หน่วยละ 1 ด้าน และบริหารความเสี่ยงตามแบบฟอร์ม RMP.F1 หน่วยละ 1 โครงการ มติที่ประชุม รับทราบ 4.2 การตั้งเป้าหมายเป็น 1 ใน 5 โครงการระดับมหาวิทยาลัย เพื่อนําเสนอต่อสภามหาวิทยาลัย ฝ่ายเลขานุการเสนอให้ที่ประชุมกําหนดแนวทางเพื่อให้โครงการบริหารความเสี่ยงของคณะได้รับเลือกเป็นโครงการบริหาร ความเสี่ยงระดับมหาวิทยาลัย ที่ประชุมให้ข้อคิดเห็นว่าขอให้ดําเนินการตามแนวทางการบริหารความเสี่ยงตามที่แจ้งในข้อ 4.1 และ การได้รับคัดเลือกเป็นโครงการระดับมหาวิทยาลัยนั้นขอเป็นไปตามความเห็นชอบของมหาวิทยาลัย มติที่ประชุม เห็นชอบ วาระที่ 5 เรื่องอื่น ๆ (ถ้ามี) 5.1 ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินตามระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปีการศึกษา 2557 ในปีการศึกษา 2557 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ได้ปรับเปลี่ยนเกณฑ์การประเมินในเรื่องของการ บริหารความเสี่ยง จากเดิมการบริหารความเสี่ยง อยู่ในองค์ประกอบที่ 7 ตัวบ่งชี้ที่ 7.4 ระบบการบริหารความเสี่ยง โดยกําหนดให้ ดําเนินงานตามเกณฑ์มาตรฐานทั้งหมด 6 ข้อ นั้น ในปีการศึกษาที่ 2557 ได้ปรับเปลี่ยนตัวบ่งชี้ดังกล่าว โดยเรื่องการบริหารความ เสี่ยงถูกบรรจุให้เป็นเกณฑ์มาตรฐาน ขององค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกํากับ ติดตาม ผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบันและเอกลักษณ์ของคณะ โดยมีรายละเอียดดังนี้ องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกํากับ ติดตาม ผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบันและเอกลักษณ์ของ คณะ คําอธิบายตัวบ่งชี้ สถาบันอุดมศึกษามีพันธกิจหลัก คือ การเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการแก่สังคม และการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม ในการดําเนินพันธกิจหลัก สถาบันอุดมศึกษาจําเป็นต้องดําเนินงานผ่านคณะ ดังนั้น คณะต้อง มีการพัฒนาแผนเพื่อกําหนดทิศทางการพัฒนาและการดําเนินงานของคณะให้สอดคล้องกับเป้าหมายและกลุ่มสถาบัน ตลอดจนมีการ บริหารทั้งด้านบุคลากร การเงิน ความเสี่ยงและการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานตามพันธกิจหลักให้บรรลุ ตามเป้าหมายที่วางไว้ เกณฑ์มาตรฐาน 3. ดําเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง ที่เป็นผลจากการวิเคราะห์และระบุปัจจัยเสี่ยงที่เกิดจาก ปัจจัยภายนอก หรือปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้ที่ส่งผลต่อการดําเนินงานตามพันธกิจของ คณะและให้ระดับความเสี่ยงลดลงจากเดิม มติที่ประชุม รับทราบและขอให้ดําเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยงที่กําหนดไว้ ปิดประชุมเวลา 13.10 น. นายเก็จ แก้วแดง กรรมการและเลขานุการ ผู้บันทึกรายงานการประชุม นายเก็จ แก้วแดง กรรมการและเลขานุการ ผู้บันทึกรายงานการประชุม
  • 6. 5 วาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง RA.F13.1 การประเมินความเสี่ยง (RA.F1) ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 การประเมินความเสี่ยง ปีงบประมาณ 2559 ส่วนงาน : สํานักงานคณบดี ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์ที่ 1.1 : ระบบบริหารองค์กรมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสามารถรองรับต่อสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลง วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2558 การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง ความเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง การดําเนินงานปัจจุบัน ระดับ ระดับความเสี่ยง วิธีการบริหาร ความเสี่ยง ผู้รับผิดชอบ/ ความเสี่ยงด้านโอกาส ผลกระทบ โครงการ/กิจกรรม ความเสี่ยง ที่ยอมรับได้ กําหนดแล้วเสร็จ -ความเสี่ยง ความเสียหายต่อตัวอาคารและ อุปกรณ์ที่อยู่ภายในอาคาร และต่อ ความปลอดภัยของบุคลากร ปัจจัยเสี่ยง ความประมาท การขาดการ ฝึกอบรม - จัดทํา ก ร ม ธ ร ร ม์ ประกันภัยคุ้มครอง ความสูญเสียและความ เสียหายต่างๆ ที่อาจ เกิดขึ้นในอนาคต ผู้รับผิดชอบ - จัดทําทางหนีไฟ ป้าย บอกทาง - จัดให้มีเครื่องดับเพลิง แบบมือถือที่สามารถใช้ ดับเพลิงในเบื้องต้นได้ - จัดให้มีระบบไฟฟ้า ฉุกเฉิน 1 5 ทรัพยากร สูง น้อย ยอมรับ ควบคุม - บรรเทา - กระจาย - หลีกเลี่ยง - อบรมการป้องกัน ระงับอัคคีภัยและ เผยแพร่แผนอพยพ หนีไฟ สํานักงานคณบดี ระยะเวลา ภายใน ปีงบประมาณ 2559
  • 7. การประเมินความเสี่ยง ปีงบประมาณ 2559 ส่วนงาน : สํานักงานคณบดี ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์ที่ 1.1 : ระบบบริหารองค์กรมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสามารถรองรับต่อสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลง วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2558 การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง ความเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง การดําเนินงานปัจจุบัน ระดับ ระดับความเสี่ยง วิธีการบริหาร ความเสี่ยง ผู้รับผิดชอบ/ ความเสี่ยงด้านโอกาส ผลกระทบ โครงการ/กิจกรรม ความเสี่ยง ที่ยอมรับได้ กําหนดแล้วเสร็จ - 6 ความเสี่ยง การขาดงานวิจัยด้านความเสี่ยงของ คณะฯ ปัจจัยเสี่ยง บุคลากรไม่สนใจทํางานวิจัยด้าน ความเสี่ยง - 3 3 การวิจัย สูง ปานกลาง ยอมรับ ควบคุม - บรรเทา - กระจาย - หลีกเลี่ยง - จัดทํางานวิจัยด้าน ความเสี่ยงเพื่อเพิ่ม ทักษะในการประเมิน และบริหารความ เสี่ยงและเพื่อการ ประกันคุณภาพ การศึกษา ผู้รับผิดชอบ สํานักงานคณบดี ระยะเวลา ภายใน ปีงบประมาณ 2559 RA.F1
  • 8. RA.F1 การประเมินความเสี่ยง ปีงบประมาณ 2559 ส่วนงาน : ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์ที่ 1.2 : บุคลากรมีความรู้ความสามารถและมีความสุขในการทางานก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานเพื่อนาองค์กรสู่ความสาเร็จ วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2558 7 การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง ความเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง ระดับความ เสี่ยง ระดับผล วิธีการบริหารโอกาสการดําเนินงานปัจจุบัน โครงการ/กิจกรรมความเสี่ยงด้าน ความ เสี่ยง กระทบ ความเสี่ยง ที่ยอมรับได้ ผู้รับผิดชอบ/ กําหนดแล้วเสร็จ - การสนับสนุนการทําวิจัยของ บุคลากร และการให้ข้อมูล ให้ความรู้ด้านงานวิจัยอย่าง ต่อเนื่องเพียงพอและ สนับสนุนเงินทุนวิจัยให้กับ บุคลากร เพื่อการเข้าสู่ การปฏิบัติงาน 4 4 สูงมาก น้อย หัวน้าภาควิชา / ต.ค.58 – ก.ย.59 ขาดบุคลากรเข้าสู่ตําแหน่งทาง วิชาการและการผลิตผลงานวิจัย ขาดความต่อเนื่อง ยอมรับ  ควบคุม - การเข้าสู่ตําแหน่งทางวิชาการบรรเทา - กระจาย การขอตําแหน่งทางวิชาการ - หลีกเลี่ยง
  • 9. RA.F1 การประเมินความเสี่ยง ปีงบประมาณ 2559 ส่วนงาน : ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ ประเด็นยุทธศาสตร์ 1 : การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ. . เป้าประสงค์ที่ 1.2 : บุคลากรมีความรู้ความสามารถและมีความสุขในการทํางานก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการปฎิบัติงาน วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2558 การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง ระดับ ระดับความ เสี่ยง ความเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง การดําเนินงานปัจจุบัน วิธีการบริหาร ความเสี่ยง ผู้รับผิดชอบ/ โครงการ/กิจกรรมโอกาส ผลกระทบ ความเสี่ยงด้าน ความ เสี่ยง ที่ยอมรับได้ กําหนดแล้วเสร็จ -ความเสี่ยง ปาน กลาง ปานกลาง 8 -ความเสียหายจากการปฎิบัติงาน ผิดพลาดในการควบคุมดูแล ห้องปฏิบัติการและระบบ ซอฟต์แวร์/เซิร์ฟเว่อร์ภายใน ปัจจัยเสี่ยง -ความรู้ความสามารถของบุคลากร -การขาดการฝึกอบรม -การขาดความต่อเนื่องของการส่ง ถ่ายงานของเจ้าหน้าที่เทคนิค คอมพิวเตอร์ -จัดทําคู่มือการ ปฏิบัติงานการดูแล ห้องปฏิบัติการ 3 1 การปฎิบัติงาน (การจัดการ ความรู้) การฝึกอบรมสําหรับ ควบคุมดูแลห้อง lab และระบบ software, server ภายใน ยอมรับ ควบคุม - บรรเทา - กระจาย - หลีกเลี่ยง ฝ่ายไอทีภาควิชา/ ภายใน ปีงบประมาณ 2559
  • 10. 9 RA.F1 การประเมินความเสี่ยง ปีงบประมาณ 2559 ส่วนงาน : ภาควิชาสถิติประยุกต์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์ที่ 1.2 : พัฒนาบุคลากรให้เกิดประสิทธิภาพและมีความก้าวหน้าในสายงาน วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2558 การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง ความเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง การดําเนินงานปัจจุบัน ระดับ ระดับความเสี่ยง วิธีการบริหาร ความเสี่ยง ผู้รับผิดชอบ/ ความเสี่ยงด้านโอกาส ผลกระทบ โครงการ/กิจกรรม ความเสี่ยง ที่ยอมรับได้ กําหนดแล้วเสร็จ 4 1 การปฏิบัติงานคณาจารย์ที่เข้าร่วมการ อบรมหรือสัมมนาเป็นผู้ จัดเก็บเอกสารการ อบรม มีการบอกกล่าว เนื้อหา/ความรู้ที่ได้รับ แก่บุคลากรในภาควิชา เฉพาะกลุ่มที่สนใจ แต่ ยังไม่ได้จัดให้มีการ รายงานเนื้อหาหรือ ความรู้ให้แก่บุคลากร ส่วนใหญ่ในภาควิชา ได้รับทราบ หัวหน้าภาควิชา/ ตุลาคม 2559 ขาดการถ่ายทอดความรู้ที่ได้จาก การเข้าร่วมอบรมหรือสัมมนาเชิง ปฏิบัติการจากผู้เข้าร่วมสู่บุคลากร ท่านอื่นๆ ในภาควิชา ปานกลาง ปานกลาง ควบคุม ให้คณาจารย์ที่เข้าร่วม อบรมหรือสัมมนา ถ่ายทอดความรู้จากการ อบรม โดยนําข้อมูลหรือ เอกสารประกอบการ อบรมเผยแพร่ให้แก่ บุคลากรท่านอื่นใน ภาควิชาทราบเพื่อเป็น แนวทาง/ข้อมูลสําหรับ ศึกษาเรียนรู้และนํา ความรู้ไปใช้ในการ จัดการเรียนการสอน
  • 11. การประเมินความเสี่ยง ปีงบประมาณ 2559 ส่วนงาน : ภาควิชาสถิติประยุกต์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : การผลิตบัณฑิต เป้าประสงค์ที่ 2.1 : บัณฑิตของคณะมีคุณสมบัติสอดคล้องตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของมหาวิทยาลัย วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2558 การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง ความเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง การดําเนินงานปัจจุบัน ระดับ ระดับความเสี่ยง วิธีการบริหาร ความเสี่ยง ผู้รับผิดชอบ/ ความเสี่ยงด้านโอกาส ผลกระทบ โครงการ/กิจกรรม ความเสี่ยง ที่ยอมรับได้ กําหนดแล้วเสร็จ 10 1. จํานวนนักศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษาที่รับเข้ามีน้อยลง 1. หลักสูตรปริญญาโท มี ผู้สมัครเข้าเรียนน้อย เนื่องจากบัณฑิตส่วนใหญ่ มีทางเลือกในการสมัคร เรียนในสาขาอื่นๆ ที่ หลากหลาย และสาขา สถิติประยุกต์จะมี ลักษณะงานที่รองรับ เฉพาะด้าน 4 3 การปฏิบัติงาน สูง สูง ชี้แนะ 1. ทําความร่วมมือ ระหว่างภาควิชากับ หน่วยงานภาครัฐหรือ เอกชนที่มีความต้องการ ใช้งานมหาบัณฑิตสถิติ ประยุกต์ โดยการเปิด หลักสูตรเพื่อพัฒนา บุคลากรในองค์กรนั้นๆ และเพิ่มช่องทางการ ประชาสัมพันธ์หลักสูตร ทาง Social network ให้มากขึ้น 2. ในหลักสูตรปริญญา เอกนั้นมีมหาบัณฑิตที่ ประสงค์จะเข้าเรียน จํานวนน้อย เนื่องจาก ผู้สมัครส่วนใหญ่เป็น อาจารย์ในมหาวิทยาลัยที่ ต้องการเพิ่มวุฒิการ ศึกษา ดังนั้นกลุ่มเป้า หมายจึงมีขนาดเล็ก และ ในปัจจุบันมีการสอนสถิติ ประยุกต์ระดับปริญญา เอกในหลายมหาวิทยาลัย 2. จัดสรรทุนการศึกษา ให้กับบุคคลภายนอก เพื่อสร้างแรงจูงใจให้ ศึกษาต่อในสาขาวิชา สถิติประยุกต์ มจพ. หัวหน้าภาควิชา/ ตุลาคม 2559 RA.F1
  • 12. 11 การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง ความเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง การดําเนินงานปัจจุบัน โอกาส ผลกระทบ ความเสี่ยงด้าน ระดับ ความเสี่ยง ระดับความเสี่ยง ที่ยอมรับได้ วิธีการบริหาร ความเสี่ยง โครงการ/กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ/ กําหนดแล้วเสร็จ 2. อาจารย์ประจํามีจํานวนไม่ เพียงพอ 1. ปัจจุบันสาขาวิชา สถิติธุรกิจและการ ประกันภัยขาดแคลน อาจารย์ประจําสาขาวิชา การประกันภัย เนื่อง จากมีผู้สําเร็จการศึกษา ด้านการประกันภัยตาม ข้อกําหนดในการรับ บรรจุอาจารย์ประจํา น้อยมาก เช่น ไม่มีการ เรียนสอนระดับปริญญา เอกสาขาประกันภัย นอกจากนี้ค่าตอบแทน การเป็นอาจารย์ประจํา ไม่จูงใจให้มหาบัณฑิตที่ สําเร็จการศึกษาด้าน ประกันภัยสนใจศึกษา ต่อระดับปริญญาเอก เพื่อมาเป็นอาจารย์ 2. ภาควิชามีภาระสอน วิชาสถิติบริการเป็น จํานวนมากโดยเฉพาะ ในภาคเรียนที่ 1 ของทุก ปีการศึกษา 3 3 การปฏิบัติงาน สูง สูง ควบคุม 1. เสนอนโยบายให้ ผู้บริหารพิจารณาปรับ เกณฑ์การรับสมัคร อาจารย์ในสาขา ประกันภัยให้สอดคล้อง กับสภาพที่เป็นจริง และ พิจารณาค่าตอบแทนให้ สูงขึ้นเพื่อจูงใจให้ผู้มี ความรู้ความสามารถ บรรจุเป็นอาจารย์ ประจํา 2. ให้ทุนการศึกษาต่อ แก่นักศึกษาที่มีผลการ เรียนดี เพื่อให้กลับมา เป็นอาจารย์ หัวหน้าภาควิชา/ ตุลาคม 2559
  • 13. 12 การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง ความเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง การดําเนินงานปัจจุบัน โอกาส ผลกระทบ ความเสี่ยงด้าน ระดับ ความเสี่ยง ระดับความเสี่ยง ที่ยอมรับได้ วิธีการบริหาร ความเสี่ยง โครงการ/กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ/ กําหนดแล้วเสร็จ 3. ขาดผลงานวิชาการประเภท หนังสือหรือตํารา จากนโยบายการจูงใจ ของมหาวิทยาลัยซึ่งให้ อาจารย์ที่เป็นพนักงาน มหาวิทยาลัยสามารถขอ ตําแหน่งทางวิชาได้โดย ใช้ผลงานวิจัยแทนการ หนังสือหรือตํารานั้น เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทําให้มี การผลิตหนังสือหรือ ตําราน้อยลง ในขณะที่ อาจารย์ที่เป็นข้าราชการ ใช้กฎเกณฑ์ที่ต่างกัน คือ ต้องมีหนังสือหรือตํารา ประกอบการขอ ตําแหน่งทางวิชาทําให้ ไม่มีแรงจูงใจในการเพิ่ม ตําแหน่งทางวิชาในกลุ่ม อาจารย์ข้าราชการ นอกจากนี้อีกปัจจัยหนึ่ง คือในการเขียนหนังสือ หรือตํารา เนื่องจากต้อง ทุ่มเทแรงกายแรงใจและ ใช้เวลานานกว่าการทํา วิจัย 3 3 ปฏิบัติงาน สูง สูง ขี้แนะ สนับสนุนให้อาจารย์ ผลิตตําราหรือหนังสือ เพื่อเป็นสื่อการสอนให้ มากขึ้น หัวหน้าภาควิชา/ ตุลาคม 2559
  • 14. การประเมินความเสี่ยง ปีงบประมาณ 2559 ส่วนงาน : ภาควิชาสถิติประยุกต์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : การวิจัย เป้าประสงค์ที่ 3.2 : บุคลากรสร้างผลงานวิจัยที่มีคุณค่า นําไปประยุกต์ใช้และขยายผลไปยังภาคอุตสาหกรรมชุมชนและสังคม วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2558 การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง ความเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง การดําเนินงานปัจจุบัน ระดับ ระดับความเสี่ยง วิธีการบริหาร ความเสี่ยง ผู้รับผิดชอบ/ ความเสี่ยงด้านโอกาส ผลกระทบ โครงการ/กิจกรรม ความเสี่ยง ที่ยอมรับได้ กําหนดแล้วเสร็จ 4 3ภาควิชาสนับสนุนให้ บุคลากรของภาควิชาฯ เข้าร่วมการประชุม / อบรมวิชาการ เพื่อพัฒนา ความรู้ทางด้านสถิติและ สถิติประยุกต์ และจัด โครงการเชิญผู้เชี่ยวชาญ จากต่างประเทศเพื่อ บรรยายให้ความรู้ด้าน วิชาการทางสถิติและ สถิติประยุกต์ เพื่อเป็น การกระตุ้นให้บุคลากร ของภาควิชาฯ เร่งผลิต งานวิจัยอย่างต่อเนื่อง 1. ด้านการผลิตผลงานวิจัยอย่าง ต่อเนื่องและสม่ําเสมอ เนื่องจากกลไกการประกันคุณภาพ การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ได้ กําหนดคุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และ อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ ต้องมี การประสบการณ์ในการทํางานวิจัย ดังนั้นอาจารย์ประจําหลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษา ควรมีการผลิตผล งานวิจัยอย่างต่อเนื่องและสม่ําเสมอ หากบุคลากรขาดโอกาสในการ พัฒนาความรู้ใหม่ๆ ทางด้านสถิติ และสถิติประยุกต์เพื่อใช้ในการ พัฒนางานวิจัย จะส่งผลให้การผลิต งานวิจัยไม่ต่อเนื่องและขาดความ สม่ําเสมอ การผลิตผลงานวิจัย อย่างต่อเนื่อง สูง สูง ควบคุม โครงการเชิญผู้เชี่ยวชาญ มาบรรยายทางวิชาการ เพื่อให้ความรู้ทางด้าน สถิติและสถิติประยุกต์ เพื่อพัฒนาศักยภาพใน การผลิตงานวิจัย อาจารย์ประจํา หลักสูตรและ อาจารย์ผู้รับผิดชอบ หลักสูตร/ ตุลาคม 2559 RA.F1 13
  • 15. 14 การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง ความเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง การดําเนินงานปัจจุบัน โอกาส ผลกระทบ ความเสี่ยงด้าน ระดับ ความเสี่ยง ระดับความเสี่ยง ที่ยอมรับได้ วิธีการบริหาร ความเสี่ยง โครงการ/กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ/ กําหนดแล้วเสร็จ 2. การนําผลงานวิจัยหรืองาน สร้างสรรค์ไปใช้ให้เกิดประโยขน์ และมีการรับรองการใช้ประโยชน์ จากหน่วยงานภายนอกน้อยมาก เนื่องจากงานผลงานวิจัย ของภาควิชา เป็น งานวิจัยบริสุทธิ์ ผู้สนใจ ต้องนํางานวิจัยไป ประยุกต์ใช้ต่อกับข้อมูล เฉพาะทาง แต่เนื่องจาก ภาควิชายังไม่มีความ เชื่อมโยงกับองค์กรธุรกิจ หรือหน่วยงานภายนอก มากนักทําให้การนํา ผลงานวิจัยไปประยุกต์ ใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์ ต่อหน่วยงานภายนอก ไม่สามารถทําได้มากนัก 4 3 ชื่อเสียง สูง สูง ควบคุม สร้างความร่วมมือ ระหว่างภาควิชากับ หน่วยงานภาครัฐหรือ เอกชนเพื่อนําผลงาน วิจัยไปประยุกต์ใช้ให้มี ประโยชน์จากผลงาน วิจัยในเชิงรูปธรรมให้ มากขึ้น หรือนําไปต่อ ยอดในการพัฒนาทาง วิชาการ หัวหน้าภาควิชา/ ตุลาคม 2559
  • 16. 15 RA.F1การประเมินความเสี่ยง ปีงบประมาณ 2559 ส่วนงาน : ภาควิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และสิ่งแวดล้อม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : การผลิตบัณฑิต เป้าประสงค์ 2.1 : บัณฑิตของคณะมีคุณลักษณะสอดคล้องตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์โดยเน้นการนําความรู้สู่การปฏิบัติพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงสู่ประชาคมอาเซียน วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2558 การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง ความเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง ผล ระดับ ระดับความ เสี่ยง วิธีการบริหารโอกาสการดําเนินงานปัจจุบัน โครงการ/กิจกรรมความเสี่ยงด้าน กระทบ ความ เสี่ยง ความเสี่ยง ที่ยอมรับได้ ผู้รับผิดชอบ/ กําหนดแล้วเสร็จ ผู้รับผิดชอบโครงการความเสี่ยง 4 4 สูงมาก ปานกลาง ควบคุม1. ประชาสัมพันธ์ให้อาจารย์ ผู้สอนทุกรายวิชา เตรียม จัดทํารายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) ประสบการณ์ ภาคสนาม (มคอ.4) รายงาน ผลการดําเนินงานรายวิชา (มคอ.5) และรายงานผลการ ดําเนินการประสบการณ์ ภาคสนาม (มคอ.6) ตาม กรอบระยะเวลาที่กําหนด ด้านการปฏิบัติงาน (กระบวนการบริหาร หลักสูตร) หลักสูตรไม่เป็นไปตามกรอบ มาตรฐาน TQF จัดทําและปรับปรุงหลักสูตรให้เป็นไป ตามกรอบมาตรฐาน TQF หัวหน้าภาควิชาฯ อาจารย์ผู้สอน และ อาจารย์ผู้รับผิดชอบ หลักสูตร กําหนดแล้วเสร็จ ปัจจัยเสี่ยง กิจกรรม 1. 1.มี มคอ. 3-6 ไม่ครบทุกรายวิชา จัดทํารายชื่อวิชาที่เปิดสอนในแต่ ละภาคการศึกษาจากขบวนวิชา2. มี มคอ. 7 ไม่ครบทุกหลักสูตร 2. ระบุชื่อผู้จัดทํา มคอ. ในกรณีที่ รายวิชานั้นๆ มีผู้สอนมากกว่า 1 คน เพื่อใช้ในการติดตาม ภายใน 30 มิ.ย. 59 โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1.1 มคอ.3-4 ส่ง ก่อนเปิดภาคเรียน 1/2558 และ2/2558 3. กําหนดปฏิทินช่วงเวลาที่ต้องส่ง มคอ. 3-7 และแจ้งให้คณาจารย์ ทราบล่วงหน้าในแต่ละภาค การศึกษา 2. ประชาสัมพันธ์ให้อาจารย์ ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุก หลักสูตรรายงานผลการ ดําเนินงานหลักสูตร (มคอ.7) ตามกรอบระยะเวลาที่กําหนด 1.2 มคอ.5-6 30 วัน ส่งหลังสิ้นภาค การศึกษา 1/2558 และ2/2558 1.3 มคอ.7 ส่ง 45 วันหลังสิ้นภาค การศึกษา 2558
  • 17. 16 การประเมินความเสี่ยง ปีงบประมาณ 2559 ส่วนงาน : ภาควิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และสิ่งแวดล้อม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์ 1.2 : บุคลากรมีความรู้ความสามารถและมีความสุขในการทํางาน ก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานเพื่อนําองค์กรสู่ความสําเร็จ วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2558 การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง ความเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง ระดับความ เสี่ยง ระดับผล วิธีการบริหารโอกาสการดําเนินงานปัจจุบัน โครงการ/กิจกรรมความเสี่ยงด้าน ความ เสี่ยง กระทบ ความเสี่ยง ที่ยอมรับได้ ผู้รับผิดชอบ/ กําหนดแล้วเสร็จ โครงการความเสี่ยง ผู้รับผิดชอบด้านกลยุทธ์ (นโยบาย) 3 3 สูง ปานกลาง ควบคุมกําหนดให้อาจารย์ที่เข้าร่วม โครงการฯ รายงาน ความก้าวหน้าของการผลิต ผลงานทางวิชาการต่อ หัวหน้าภาควิชาทุก 3 เดือน และจัดให้มีการประเมินผล งานทุก 12 เดือน การเพิ่มจํานวนบุคลากรสาย วิชาการให้มีคุณวุฒิปริญญญาเอก และตําแหน่งทางวิชาการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555-2559 ไม่เป็นเป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้ง ไว้ โครงการส่งเสริมและกระตุ้นให้ ผู้เข้าร่วมโครงการขอกําหนด ตําแหน่งทางวิชาการ หัวหน้าภาควิชาฯ อาจารย์ที่เข้าร่วม โครงการ/ กิจกรรม 30 กันยายน 2559 ปัจจัยเสี่ยง อาจารย์ที่เข้าร่วมโครงการฯ ไม่ สามารถผลิตผลงานทางวิชาการ ได้ตามหลักเกณฑ์ที่โครงการ กําหนด (โครงการต่อเนื่องจาก ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558) การรายงานผลความก้าวหน้าของ การผลิตผลงานทางวิชาการของ อาจารย์ที่เข้าร่วมโครงการฯ ต่อ หัวหน้าภาคทุก 3 เดือน และจัดให้ มีการประเมินผลงานทุก 12 เดือน หมายเหตุ ภาควิชาประเมินเป็นความเสี่ยงของภาควิชา(ตามข้อมูลการรายงานผลการดําเนินงานของปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 รอบ 6 เดือน) แต่ไม่จัดทําโครงการบริหารความเสี่ยง เนื่องจากเป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัย เรื่อง โครงการส่งเสริมการเพิ่มจํานวน บุคลากรสายวิชาการให้มีคุณวุฒิปริญญาเอกและตําแหน่งทางวิชาการ ลงวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2558 บุคลากรที่เข้าร่วมโครงการ ณ รอบที่มีการประเมินความเสี่ยง (พ.ค.58) เหลือเพียง 1 ท่าน และมีอัตราเงินเดือนที่ไม่สามารถเข้าร่วมโครงการได้) RA.F1 (
  • 18. RA.F1 การประเมินความเสี่ยง ปีงบประมาณ 2559 ส่วนงาน : ภาควิชาเคมีอุตสาหกรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์ที่ 1.1 : ระบบบริหารองค์กรมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสามารถรองรับต่อสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลง วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2558 การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง ความเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง การดําเนินงานปัจจุบัน ระดับ ระดับความเสี่ยง วิธีการบริหาร ความเสี่ยง ผู้รับผิดชอบ/ ความเสี่ยงด้านโอกาส ผลกระทบ โครงการ/กิจกรรม ความเสี่ยง ที่ยอมรับได้ กําหนดแล้วเสร็จ -ความเสี่ยง ขาดมาตรฐานการ ป ฏิ บั ติ ง า น ที่ เ ป็ น ขั้นตอนรองรับ เมื่อมี การหยุดงานโดยไม่ ปัจจุบันทันด่วนของ นั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ / ผู้ ป ฏิ บั ติ ง า น ใ น ห้องปฏิบัติการ 4 4 การปฏิบัติงาน สูงมาก น้อย 17 1. การหยุดปฏิบัติงานของ นักวิทยาศาสตร์ /ผู้ปฏิบัติงานใน ห้องปฏิบัติการ ปัจจัยเสี่ยง 1. เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการไม่ สามารถมาปฏิบัติงานได้เนื่องจาก ป่วย อุบัติเหตุ สาย ทําให้กระทบ การสอนวิชาปฏิบัติการ ยอมรับ ควบคุม บรรเทา - กระจาย - หลีกเลี่ยง - จัดทํางานวิจัยด้าน การจัดทํามาตรฐาน ดําเนินการรองรับการ ขาดปฏิบัติงานฉุกเฉิน ผู้รับผิดชอบ หัวหน้าภาควิชา นักวิทยาศาสตร์ ระยะเวลา ภายใน 30 กันยายน 2559
  • 19. 18 การประเมินความเสี่ยง ปีงบประมาณ 2559 ส่วนงาน : ภาควิชาฟิสิกส์อุตสาหกรรมและอุปกรณ์การแพทย์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์ที่ 1 : ระบบบริหารจัดการหน่วยงานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสามารถรองรับต่อสภาวะการเปลี่ยนแปลงควบคู่กับธรรมาภิบาล จริยธรรมและความรับผิดชอบ วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2558 การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง ความเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง การดําเนินงานปัจจุบัน ความเสี่ยงด้าน โอกาส ผล กระทบ ระดับ ความ เสี่ยง ระดับความ เสี่ยง ที่ยอมรับได้ วิธีการบริหาร ความเสี่ยง โครงการ/กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ/ กําหนดแล้วเสร็จ ความเสี่ยง 1. การเกิดอันตรายต่อนักศึกษา ในบริเวณห้องน้ําชั้น 4 โซน A 2. การเกิดอัคคีภัยจากบริเวณ ห้องน้ําชั้น 4 โซน A ปัจจัยเสี่ยง 1. บริเวณห้องน้ําชั้น 4 โซน A เป็นบริเวณที่มีจุดลับตาคนและ เป็นจุดสุ่มเสี่ยงต่อการเกิด อันตรายต่อนักศึกษา 2. บริเวณห้องน้ําชั้น 4 โซน A เป็นบริเวณที่มีนักศึกษาเข้ามาลับ ลอบสูบบุหรี่และเป็นจุดสุ่มเสี่ยง ต่อการเกิดอัคคีภัย 1. มีการตรวจสอบจุดติดตั้ง กล้องวงจรปิดเพื่อทราบ พิกัดและมุมอับที่กล้องวงจร ปิดไม่สามารถมองเห็นถึง แต่ยังไม่ได้ดําเนินการแก้ไข 2. มีการวางแผนเพื่อติดตั้ง เครื่องตรวจควัน ทรัพยากร(อาคาร สถานที่) 4 5 สูงมาก น้อย ควบคุม ติดตั้งระบบรักษาความปลอดภัย ในบริเวณห้องน้ําชั้น 4 โซน A หัวหน้าภาควิชา นักวิทยาศาสตร์/ วิศวกร/ 30 ก.ย. 2559
  • 20. RA.F1 การประเมินความเสี่ยง ปีงบประมาณ 2559 ส่วนงาน : ภาควิชาฟิสิกส์อุตสาหกรรมและอุปกรณ์การแพทย์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : การผลิตบัณฑิตที่พึงประสงค์ เป้าประสงค์ที่ 2 : นักศึกษามีองค์ความรู้และมีลักษณะนิสัยอันพึงประสงค์อันเกิดจากการบูรณาการกระบวนการจัดการเรียนการสอนกับการจัดกิจกรรมนักศึกษา วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2558 การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง ความเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง การดําเนินงานปัจจุบัน ระดับ ระดับความเสี่ยง วิธีการบริหาร ความเสี่ยง ผู้รับผิดชอบ/ ความเสี่ยงด้านโอกาส ผลกระทบ โครงการ/กิจกรรม ความเสี่ยง ที่ยอมรับได้ กําหนดแล้วเสร็จ ความเสี่ยง 4 4 การปฏิบัติงาน สูงมาก น้อย 19 นักศึกษาของภาควิชาขาดทักษะ ทางด้านภาษาอังกฤษ ปัจจัยเสี่ยง 1. นักศึกษาขาดความกระตือรือร้น ในการพัฒนาความสามารถในด้าน ภาษาอังกฤษ 2. ขาดสภาพแวดล้อมที่สนับสนุน การเรียนรู้ทางด้านภาษาอังกฤษ 1. ภาควิชาได้ทดลอง การสอนภาษาอังกฤษ ด้วยกิจกรรมออกกําลัง กายและได้ผลตอบรับ อย่างดีเยี่ยมจาก นักศึกษา ควบคุม จัดกิจกรรมเพิ่มทักษะ ภาษาอังกฤษผ่าน ทางด้านกิจกรรม นักศึกษา 2. สนับสนุนการใช้ ภาษาอังกฤษในสอน และเชื่อมโยงการพบปะ ระหว่างนักศึกษา โครงการสองภาษาและ โครงการภาษาไทย ภาควิชาฟิสิกส์ฯ/ ก.ย.59
  • 21. 20 RA.F1 การประเมินความเสี่ยง ปีงบประมาณ 2559 ส่วนงาน : ภาควิชาฟิสิกส์อุตสาหกรรมและอุปกรณ์การแพทย์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : การวิจัยและพัฒนา เป้าประสงค์ที่ 1 : มุ่งสู่คณะ/มหาวิทยาลัยวิจัย วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2558 การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง ความเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง การดําเนินงานปัจจุบัน ระดับ ระดับความเสี่ยง วิธีการบริหาร ความเสี่ยง ผู้รับผิดชอบ/ ความเสี่ยงด้านโอกาส ผลกระทบ โครงการ/กิจกรรม ความเสี่ยง ที่ยอมรับได้ กําหนดแล้วเสร็จ ความเสี่ยง 4 4 การปฏิบัติงาน สูงมาก น้อย ควบคุม บุคลากรของภาควิชาไม่สามารถ ทํางานวิจัยอย่างเต็มความสามารถ ปัจจัยเสี่ยง 1. อาจารย์ใหม่ของภาควิชาต้องใช้ เวลาในการปรับตัวเข้ากับภาระการ สอน 2. ภาระการสอนวิชาปฏิบัติการมาก เกินไป 1. ภาควิชาได้ทําการวาง แผนการจัดตารางสอน ให้สอดคล้องกับ บุคลากรเพื่อรองรับการ ทําวิจัย กิจกรรมสนับสนุน งานวิจัย โดยเชื่อมโยง ภาาระการสอนและการ วิจัยอย่างเป็นระบบและ พัฒนาระบบผู้ช่วยสอน ให้เกิดประสิทธิภาพ สูงสุด 2. ภาควิชาได้ เตรียมพร้อมการ จัดระบบผู้ช่วยสอนเพื่อ แบ่งเบาภาระการสอน วิชาปฎิบัติ ภาควิชาฟิสิกส์ฯ/ ก.ย.59
  • 22. 21 มติที่ประชุม .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................
  • 23. 22 RMP.F13.2 การบริหารความเสี่ยง (RMP.F1) ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 การบริหารความเสี่ยงสําหรับโครงการ ปีงบประมาณ 2559 ส่วนงาน : สํานักงานคณบดี ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์ที่ 1.1 : ระบบบริหารองค์กรมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสามารถรองรับต่อสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลง โครงการ/กิจกรรม : อบรมการป้องกันระงับอัคคีภัยและเผยแพร่แผนอพยพหนีไฟ ความเสี่ยงด้าน : ทรัพยากร (อาคารสถานที่) วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2558 การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยงระดับ ระดับ ลําดับการดําเนินงาน ปัจจุบัน ขั้นตอน วัตถุประสงค์ขั้นตอน ความเสี่ยง ปัจจัยเสี่ยง ความเสี่ยง ความเสี่ยงความเสี่ยง วิธีบริหาร การจัดการ ผู้รับผิดชอบ/ที่ยอมรับได้โอกาส ผลกระทบ ความเสี่ยง ความเสี่ยง กําหนดแล้วเสร็จ 1.จัดให้มีการ ฝึกซ้อมอพยพ ผู้ปฏิบัติงาน ออกจากอาคาร ไปตามเส้นทาง หนีไฟ เพื่อเป็นการป้องกัน การสูญเสียทั้งชีวิต และทรัพย์สินหาก เกิดเหตุเพลิงไหม้ หากเกิดเหตุ เพลิงไหม้ อาจทําให้ บุคลากรของ คณะเกิด ภาวะการ ตัดสินใจ ไม่ถูก ไม่สามารถที่ จะช่วยเหลือ ตัวเองหรือ เพื่อน ร่วมงานได้ -การขาดการ ฝึกอบรม -ความ ประมาท มีการทํา ประกันภัยต่อ อาคารและ ทรัพย์กับ บริษัท ประกันภัย 1 5 สูง น้อย 1 ควบคุม อบรมการป้องกัน ระงับอัคคีภัยและ เผยแพร่แผน อพยพหนีไฟ สํานักงาน คณบดี/ภายใน ปีงบประมาณ 2559
  • 24. 23 การบริหารความเสี่ยงสําหรับโครงการ ปีงบประมาณ 2559 ส่วนงาน : สํานักงานคณบดี ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์ที่ 1.1 : ระบบบริหารองค์กรมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสามารถรองรับต่อสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลง โครงการ/กิจกรรม : จัดทํางานวิจัยด้านความเสี่ยงเพื่อเพิ่มทักษะในการประเมินและบริหารความเสี่ยงและเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา ความเสี่ยงด้าน : การวิจัย วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2558 การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง ขั้นตอน วัตถุประสงค์ขั้นตอน ความเสี่ยง ปัจจัยเสี่ยง การดําเนินงาน ปัจจุบัน โอกาส ผลกระทบ ระดับ ความเสี่ยง ระดับ ความเสี่ยง ที่ยอมรับได้ ลําดับ ความเสี่ยง วิธีบริหาร ความเสี่ยง การจัดการ ความเสี่ยง ผู้รับผิดชอบ/ กําหนดแล้วเสร็จ 1. จัดทํา งานวิจัยด้าน ความเสี่ยง เพื่อจัดทํางานวิจัย ด้านความเสี่ยง การขาด งานวิจัยด้าน ความเสี่ยง ของคณะฯ -บุคลากรไม่ สนใจทํางาน วิจัยด้านความ เสี่ยง - 3 3 สูง ปานกลาง 1 ควบคุม - จัดทํางานวิจัย ด้านความเสี่ยง ได้แก่ - ระบบ สารสนเทศเพื่อ การบริหาร ความเสี่ยง - การพัฒนา ระบบบริหาร ความเสี่ยงด้าน การเงิน - การพัฒนา ระบบบริหาร ความเสี่ยงด้าน พัสดุ - การพัฒนา ระบบบริหาร ความเสี่ยงด้าน งานแผนและ พัฒนา สํานักงาน คณบดี/ภายใน ปีงบประมาณ 2559
  • 25. RMP.F1 การบริหารความเสี่ยงสําหรับโครงการ ปีงบประมาณ 2559 ส่วนงาน : สํานักงานคณบดี ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์ที่ 1.1 : ระบบบริหารองค์กรมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสามารถรองรับต่อสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลง โครงการ/กิจกรรม : จัดทํางานวิจัยด้านความเสี่ยงเพื่อเพิ่มทักษะในการประเมินและบริหารความเสี่ยงและเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา ความเสี่ยงด้าน : การวิจัย วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2558 การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยงระดับ ระดับ ลําดับการดําเนินงาน ปัจจุบัน ขั้นตอน วัตถุประสงค์ขั้นตอน ความเสี่ยง ปัจจัยเสี่ยง ความเสี่ยง ความเสี่ยงความเสี่ยง วิธีบริหาร การจัดการ ผู้รับผิดชอบ/ที่ยอมรับได้โอกาส ผลกระทบ ความเสี่ยง ความเสี่ยง กําหนดแล้วเสร็จ - การพัฒนา ระบบบริหาร ความเสี่ยงด้าน วิชาการ - การพัฒนา ระบบบริหาร ความเสี่ยงด้าน งานสารบรรณ และงานบริหาร บุคลากร - การพัฒนา ระบบบริหาร ความเสี่ยงด้าน กิจการ นักศึกษา - การพัฒนา ระบบบริหาร ความเสี่ยงด้าน งานวิจัย 24
  • 26. RMP.F1 การบริหารความเสี่ยงสําหรับโครงการ ปีงบประมาณ 2559 ส่วนงาน : สํานักงานคณบดี ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์ที่ 1.1 : ระบบบริหารองค์กรมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสามารถรองรับต่อสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลง โครงการ/กิจกรรม : จัดทํางานวิจัยด้านความเสี่ยงเพื่อเพิ่มทักษะในการประเมินและบริหารความเสี่ยงและเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา ความเสี่ยงด้าน : การวิจัย วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2558 การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยงระดับ ระดับ ลําดับการดําเนินงาน ปัจจุบัน ขั้นตอน วัตถุประสงค์ขั้นตอน ความเสี่ยง ปัจจัยเสี่ยง ความเสี่ยง ความเสี่ยงความเสี่ยง วิธีบริหาร การจัดการ ผู้รับผิดชอบ/ที่ยอมรับได้โอกาส ผลกระทบ ความเสี่ยง ความเสี่ยง กําหนดแล้วเสร็จ '- การพัฒนา ระบบบริหาร ความเสี่ยงด้าน การลดขั้นตอน งาน - การพัฒนา ระบบบริหาร ความเสี่ยงด้าน คอมพิวเตอร์ - การพัฒนา ระบบบริหาร ความเสี่ยงด้าน อาคาร สถานที่ ฯลฯ 25
  • 27. RMP.F1 การบริหารความเสี่ยงสําหรับโครงการ ปีงบประมาณ 2559 ส่วนงาน : ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์ที่ 1.2 : บุคลากรมีความรู้ความสามารถและมีความสุขในการทางานก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานเพื่อนาองค์กรสู่ความสาเร็จ โครงการ/กิจกรรม : การสนับสนุนให้บุคลากรสร้างผลงานเพื่อการเข้าสู่ตําแหน่งทางวิชาการ ความเสี่ยงด้าน : บุคลากร วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2558 การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยงระดับ ระดับ ลําดับการดําเนินงาน ปัจจุบัน ขั้นตอน วัตถุประสงค์ขั้นตอน ความเสี่ยง ปัจจัยเสี่ยง ความเสี่ยง ความเสี่ยงความเสี่ยง วิธีบริหาร การจัดการ ผู้รับผิดชอบ/ที่ยอมรับได้โอกาส ผลกระทบ ความเสี่ยง ความเสี่ยง กําหนดแล้วเสร็จ 26 1. ให้ความรู้ และการสนับ สนุนเงินทุนวิจัย 2. สนับสนุน ผลักดันให้สร้าง ผลงานเพื่อเข้าสู่ ตําแหน่งทาง วิชาการ 1. เพื่อสร้างนักวิจัย รุ่นใหม่ให้มี ผลงานวิจัยอย่าง ต่อเนื่อง 2. เพื่อให้บุคลากรมี ต่ําแหน่งทาง วิชาการมากขึ้นและ สูงขึ้น ส่งผลต่อการ เข้าสู่ ตําแหน่งทาง วิชาการ ขาดบุคลากร เข้าสู่ตําแหน่ง ทางวิชาการ และการผลิต ผลงานวิจัย ขาด ความต่อเนื่อง ให้ความรู้ด้าน งานวิจัยอย่าง ต่อเนื่อง เพียงพอและ สนับสนุน เงินทุนวิจัย ให้กับบุคลากร ภายในภาค และการ ติดตามผลเพื่อ ผลักดันให้ เข้าสู่ตําแหน่ง ทางวิชาการ 4 4 สูงมาก น้อย 1 ควบคุม ดําเนินการติดตาม อย่างต่อเนื่อง หัวหน้าภาควิชา / ต.ค.58 – ก.ย.59
  • 28. การบริหารความเสี่ยงสําหรับโครงการ ปีงบประมาณ 2559 ส่วนงาน : ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์. ประเด็นยุทธศาสตร์ 1 : การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ. . เป้าประสงค์ที่ 1.2 : บุคลากรมีความรู้ความสามารถและมีความสุขในการทํางานก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการปฎิบัติงาน โครงการ/กิจกรรม : การฝึกอบรมสําหรับควบคุมดูแลห้อง lab และระบบ software, server ภายใน ความเสี่ยงด้าน : การปฎิบัติงาน(การจัดการความรู้) วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2558 การประเมินความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยงระดับ 27 ขั้นตอน วัตถุประสงค์ขั้นตอน ความเสี่ยง ปัจจัยเสี่ยง การ ดําเนินงาน ปัจจุบัน โอกาส ผลกระทบ ระดับ ลําดับ ความ เสี่ยง ความเสี่ยง ความเสี่ยง วิธีบริหาร การจัดการ ผู้รับผิดชอบ/ที่ยอมรับได้ ความเสี่ยง ความเสี่ยง กําหนดแล้วเสร็จ 1.จัดทําคู่มือการ บริหาร Server และซอฟต์แวร์ ภายในภาควิชา เพื่อสร้างคู่มือในการ ปฎิบัติงาน สําหรับ ควบคุมดูแลห้อง lab และระบบ software, server ภายใน หาก server หรือซอฟต์แวร์ ระบบบริหารงาน ภายในภาควิชา เกิดข้อผิดพลาด อาจทําให้ เจ้าหน้าที่ไม่ สามารถแก้ไขได้ -การขาดความรู้ ความสามารถของ บุคลากร การสร้าง เอกสารคู่มือ การใช้งาน ระบบบาง ระบบ 3 1 ปาน กลาง ปานกลาง 1 ควบคุม จัดทําคู่มือการบริหาร Server และ ซอฟต์แวร์ภายใน ภาควิชา-การขาดการ ฝึกอบรม -การขาดความ ต่อเนื่องของการส่ง ถ่ายงานของ เจ้าหน้าที่เทคนิค คอมพิวเตอร์ ฝ่ายไอที ภาควิชา/ภายใน ปีงบประมาณ 2559 2.จัดฝึกอบรม เกี่ยวกับการ บริหาร Server และซอฟต์แวร์ ภายในภาควิชา เพื่อให้เจ้าหน้าที่ computer technique มีความรู้ และความต่อเนื่องใน การปฎิบัติงาน สําหรับ ควบคุมดูแลห้อง lab และระบบ software, server ภายใน หาก server หรือซอฟต์แวร์ ระบบบริหารงาน ภายในภาควิชา เกิดข้อผิดพลาด อาจทําให้ เจ้าหน้าที่ไม่ สามารถแก้ไขได้ -การขาดความรู้ ความสามารถของ บุคลากร การฝึกอบรม ให้ความรู้กับ เจ้าหน้าที่ไม่ มากพอ 3 1 ปาน กลาง ปานกลาง 2 ควบคุม จัดฝึกอบรมเกี่ยวกับ การบริหาร Server และซอฟต์แวร์ภายใน ภาควิชา-การขาดการ ฝึกอบรม -การขาดความ ต่อเนื่องของการส่ง ถ่ายงานของ เจ้าหน้าที่เทคนิค คอมพิวเตอร์ ฝ่ายไอที ภาควิชา/ภายใน ปีงบประมาณ 2559 RMP.F1