SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 82
Baixar para ler offline
!
!
!
!
!
!
!
!!!
!
!
!
!
!
!
พย.บ. (เกียรตินิยม)!
RTU Ubon
พย.ม.การพยาบาลผู้ใหญ่!
HCU
ปร.ด. การบริหารการพาบาล!
CTU	 :	 กำลังศึกษา
ติดต่อ : Tel. 095-849-9681, Line ID : nutt-chut , E-mail:nutt_chut@hotmail.comการศึกษา
เฉพาะทางการพยาบาลสาขา:-
1. Cath-Lab
สถาบันโรคทรวงอก
2. ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
3. ศาสตร์และศิลปะการสอนพยาบาล
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
5 . ผู้สูงอายุ
มหาวิทยาลัยมหิดล
โดย ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท)
4. การพยาบาลโรคผิวหนัง
สถาบันโรคผิวหนัง
น.บ. (นิติศาสตร์)!
TU	 :	 กำลังศึกษา
!
Rajabhat University
College of Nursing and Health
Suansunundha
การพยาบาลผู้ป่วย!
ที่มีปัญหาเกี่ยวกับ!
โรคของหลอดเลือดโคโรนารี
Lecture No. 9 / 27 มิ.ย.60 / 13.00-16.00 น.
บรรยายแก่ นศ.พยาบาลศาสตร์ ปี 2
(เอกสารโรคหัวใจชิ้นที่ 5/7)
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
ชัชวาล วงค์สารี. (2560). เอกสารประกอบการสอน (สไลด์) วิชา การพยาบาลผู้ใหญ่ 2
เรื่อง การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับโรคของหลอดเลือดโคโรนารี ที่ซับซ้อนใน
ระยะเฉียบพลันเเละเรื้อรัง . บรรยาย 27 มิถุนายน 2560 ณ วิทยาลัยพยาบาลและ
สุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. (อัดสำเนา).
!
Wongsaree, C.(2017). Hand out of Adult Nursing II : Coronary Artery
Diseases in Adult patient of Nursing Care patients ! with Critical !
! illness,!emergency ! & ! chronic ! illness . Collage of N u r s i n g
and Health. June 27, 2017, Lecture at Suansunundha Rajabhaj
University. (Copy Print).
!
! Online : www.teacher.ssru.ac.th>chutchavarn_wo
การนำเอกสารนี้ไปอ้างอิง
2
Internet Keywords; “…………” + pdf ให้อ่าน EVB ตั้งเเต่ระดับ 7 ขั้นไป
!
ไทย : การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับโรคของหลอดเลือดโคโรนารี / โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน!
Eng. : Concept of Nursing Care >>> Coronary Artery Diseases, Chest pain , Acute MI, CAG, PCI,
CABG
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
Online : www.teacher.ssru.ac.th>chutchavarn_wo
การนำเอกสารนี้ไปอ้างอิง
Internet Keywords; “…………” + pdf ให้อ่าน EVB ตั้งเเต่ระดับ 7 ขั้นไป
!
ไทย : การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับโรคของหลอดเลือดโคโรนารี / โรคกล้าม
เนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน!
Eng. : Concept of Nursing Care >>> Coronary Artery Diseases, Chest pain ,
Acute MI, CAG, PCI, CABG
1
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
3
3
6
TOPIC OUT LINE
4
5
ความหมายของ : ACS, Acute MI, Typical chest pain , Stable
Angina & Unstable Angina, CAG, PCI, CABG
พยาธิสรีรวิทยาการเกิดโรค ACS , AMI
การประเมินสภาพ : ซักประวัติ ตรวจร่างกาย Lab. EKG ที่
เกี่ยวข้อง
การพยาบาลที่ห้องฉุกเฉิน , สวนหัวใจ, การดูเเลต่อเนื่องเมื่อ
ผู้ป่วยกลับบ้าน
การพยาบาลผู้ป่วยที่รับการรักษาด้วยยา Streptokinase
7 การพยาบาลผู้ป่วยที่รับการรักษาด้วยการผ่าตัด CABG ระยะต่างๆ
2
สมรรถนะพยาบาลที่ดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจเเละหลอดเลือด
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
อธิบายหลักการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับโรคของหลอดเลือด
โคโรนารี ที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันและเรื้อรังโดยประยุกต์ใช้กระบวนการ
พยาบาลเพื่อการดูแลทั้งผู้ป่วยเเละครอบครัวได้อย่างถูกต้องเเละเหมาะสมตามหลักกฏ
หมายและจริยธรรมในวิชาชีพการพยาบาล/อธิบายผลลัพธ์ที่เกิดได้
บอก: บอกความหมาย / ลำดับการดูแล /!
การพยาบาลที่เหมาะสมเเละที่ไม่เหมาะสมได้!
นศ. จะปฏิบัติให้
ครอบคลุมทุกมิติ!
ได้อย่างไร
นศ. จะปฏิบัติบนพื้น
ฐานของอะไร
นศ. มีวิธีคิดในการ
เพิ่มต้นทุนให้กับ
ตนเองอย่างไร
นศ. มีต้นทุนความรู้!
/ทักษะเดิมเท่าไร
บอก: วิธีการสร้างเสริมสุขภาพ-การป้องกันโรค/
หลักการช่วยเเพทย์รักษา/!
หลักการฟื้นฟูสภาพ, กม. ที่เกี่ยวข้อง
!
เราจะช่วยเขา ให้ดีขึ้นได้อย่างไร
TOPIC OBJECTIVE :
ต้องรู้ ควรจะ/น่าจะรู้
4
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
CAD Anatomy
5
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
6
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
7
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
8
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
Angina	 Pectoris
เป็นกลุ่มอาการในระบบหัวใจและหลอดเลือดที่เก่ียว
เนื่องจากภาวะกล้ามเน้ือหัวใจมีเลือดไปเลี้ยง ไม่เพียงพอกับ
ความต้องการของกล้ามเน้ือหัวใจใน ขณะน้ัน จนทําให้เกิด
ภาวะ myocardial ischemic
สาเหตุที่พบบอย : Coronary atherosclerosis	

9
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
•เกิดจากการปริแตก (rupture) ของ vulnerable plaque
•Platelets มาเกาะกลุ่มในบริเวณดังกล่าวอย่างมากและรวดเร็ว
•รูของหลอดเลือดตีบแคบลงอย่างรวดเร็ว
•เกิดภาวะ unstable angina หรือรุนแรงถึงขั้นกล้ามเนื้อหัวใจตาย (acute
myocardial infarction)
Acute coronary syndrome
• เป็นกลุ่มอาการ angina ที่เกิดขึ้นไม่คงที่
• มีการเปลี่ยนแปลงลักษณะอาการ ระยะเวลาที่ปรากฏ อาการและความรุนแรง
• อาจเกิดขึ้นในรายที่มีประวัติเป็น Stable angina มาก่อนหรือเพิ่งเริ่มเป็น
• มักเกิดขึ้นขณะพัก
• มักเกิดจาก coronary atherosclerosis
Unstable angina
10
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
Unstable angina มี Progression of atherosclerosis
กรณีของ unstable angina นั้นจะพบการเพิ่มการเกาะกลุ่มของ
เกล็ดเลือดและการเพิ่มการสร้าง thromboxane A2 ซึ่งเป็นสาร
ที่มีฤทธิ์หดหลอดเลือดมากกว่ากรณี stable angina
ขณะย่อยอาหารจะมีการเปลี่ยนแปลงทาง hemodynamic
มีการเพิ่มการกระตุ้นsympathetic nervous system ทำให้ heart rate
และblood pressure เพิ่มขึ้น
!
ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจต้องการ O2 เพิ่มขึ้น
Postprandial angina
11
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
!
Vascular factor	

• Vasospasm 	

• Coronary resistance

• Atherosclerosis	

Cardiac factor

- Cardiac dysrhythmias

- Dilated
cardiomyopathy 	

- Valvular disease	

Hematologic factor	

- anemia	

- hypoxia
DecreaseOxygenSupply	

ปัจจัยการเกิด Angina pectoris
Increased heart rate	

- excercise

- stress

- cardiac dysrhythmias	

Increased myocardial wall tension
- systolic pressure 	

- ventricular volume 	

- heart contraction	

DecreaseOxygenDemand	

12
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
หลักการซักประวัติในผู้ป่วย ACS
13
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
ปัจจัยเสี่ยงของ CAD
1.เพศชาย
2.อายุที่เพิ่มขึ้น
ชาย > 45 ปี
หญิง> 55 ปี
3. พันธุกรรม
ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้
สามารถเปลี่ยนแปลงได้
• การสูบบุหรี่
• เบาหวาน
• ภาวะความดันโลหิตสูง
• ภาวะไขมันในเลือดสูง
• ภาวะมี homocysteine
สูงในเลือด
• ภาวะอ้วน
•ไม่ออกกำลังกาย
•เครียด
14
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
ขั้นตอนการเกิด Atherosclerosis
Fatty steake
Fibrous plaque
Completed plaque
15
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
Coronary atherosclerosis
16
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
Typical Chest Pain = => CAD
1. เจ็บหน้าอกแบบ Angina pectoris
2. ใจสั่น เป็นลม หมดสติและเสียชีวิตเฉียบพลัน(Suddencardiacdeath)
3. หัวใจล้มเหลวน้ําท่วมปอดอย่างเฉียบพลัน(Acutepulmonaryedema)
เจ็บเเบบเเน่นๆหนักๆใต้ลิ่นปี่ ร้าวไปเเขน หลัง กราม เจ็บได้ตลอดเวลาเเม้ใน
ขณะพัก เจ็บนานต่อเนื่องอย่างน้อย 15-20 นาที อม NTG อาการเจ็บจะหายไป
อาการร่วมพบ เหงื่อออก ใจสั่น เวียนศีรษะ จะเป็นลม
หากพบ NTG ห่างกัน 5 นาที 2 เม็ดเเรกหากอาการไม่ดีขึ้น !
อมเม็ดที่ 3 ส่ง รพ. ด่วน
17
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
ตำเเหน่ง Chest Pain และทิศทาง
18
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
การตรวจวินิจฉัย
1. ซักประวัติที่จำเพาะกับ Angina pectoris
2. สัญญาณชีพ พบ BP ต่ำ ชีพจรเต้นผิดจังหวะ
3. ตรวจการทำงานของหัวใจพบ MR ฟังได้ และ S3 gallop, S4 หรือ
summation gallop
4. Lung >>> Crepitation
อื่นๆ >>> EKG , Cardiac Enzyme , CX-R , Echocardiogram
19
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
Classification of ACS แบ่งเป็น 3 รูปแบบ
ชนิด EKG Cardiac Enz.
ไม่สัมพันธ์กับการออกเเรง/กิจกรรม
อมยาใต้ลิ้นอาการเจ็บหน้าอกมักหายไป
>> เป็นอาการเจ็บหน้าเเบบคงที่เรื้อรัง
ซึ่งเกิดจากการขากเลือดเรื้อรัง และอาการจะไม่เป็นเเปลง
ในระยะเวลา 2 เดือน
Stable Angina
1. Unstable Angina Inverted T wave Negative
Inverted T wave
Positive3.NST elevation ACS พบ Q-wave
2. ST elevation ACS
ST elevation
Positiveอย่างน้อย 2 lead
หากไม่ได้รับการเเก้ไขใน 30 นาที>>> STEMI
20
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
21
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
ST elevation lead V1 - V6 >> Anterior wall MI
22
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
ST elevation lead II, III and AVF >> Inferior wall MI
23
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
ST elevation lead I,aVL,V5-V6 >> Lateral wall MI
24
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
การเปลี่ยนแปลง
ของกล้ามเนื้อ
หัวใจ
หลัง chest pain
25
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
????
26
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
Cardiac Enzyme
27
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
Cardiac Enzyme
Normal Acute Cardiac Lab in S/P!
Total CPK =26-192
CPK = 0 - 3.60
!
Trop T = 0 - 0.099
Borderline = 0.01-0.05
Abnormal > 0.05
28
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
@ Anti - Ischemic drugs ประกอบด้วย
Nitrates Isosorbride dinitrate, ISDN, Nitroglycerine, Isosorbride 5-
Mononitrate
Beta-blocker Atenolol, Propanolol, Metropolol, Bisoprolol, Carvidiol

Calcium-blockers Amlodipine, Felodipine, Nifidipine, Diltiazem, Verapamil
@ !Antiplatelets ! Aspirin , Ticlopidine, Clopidogrel
@ Anticoagulants Unfractionated heparin, Low-molecular weight heparin
(LMWH) ,Glycoprotein (GP) IIB/IIIa inhibitors
1. การรักษาด้วยยา ซึ่งเเบ่งเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้
การรักษา
29
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
ระยะการตายของกล้ามเนื้อหัวใจ
แบ่งเป็น 3 ระยะ
: ระยะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดหรือเลือดไปเลี้ยงกล้าม
เนื้อหัวใจลดลง ทำให้เซลล์ขาดออกซิเจน , EKG >>>
Inverted T wave
1 Ischemia
2 Injury : กล้ามเนื้อหัวใจบาดเจ็บ ได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ
เซลล์ยังพอทำงานได้เเต่ไม่สมบูรณ์ EKG >>> ST
elevation ACS , ถ้าเเก้ไขไม่ทันเวลา >>> STEMI
3 Infraction: ระยะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดมากจนมี
การตายเกิดขึ้น EKG >>> Q wave
30
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยการสวนหัวใจ
(Cardiac Cathetelization Nursing Care : CAG, PCI)
31
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
การรักษา (ต่อ)
2 CAG / PCI
32
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
33
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
34
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
35
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
CAG !
>> Stenosis
36
PCI !
>> Balloon
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
37
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
PCI !
>> Stent
38
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
CAG!
Triple Vessel!
:TVD
CABG
39
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
ลักษณะปกติของ CAD
40
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
41
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
42
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
43
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
สมรรถนะพยาบาลที่ดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจเเละหลอดเลือด!
เเละการพยาบาลผู้ป่วยกลุ่มโคโรนารี
44
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
สมรรถนะพยาบาลที่ดูแลผู้ป่วย!
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน
มี 5 องค์ประกอบ ดังนี้ (สำอางค์ ตันวิเชียร,2557)
1. ด้านการให้ความรู้เเก่ผู้ป่วยเเละญาติและการให้ความรู้เเก่ทีม
พยาบาล
2. ด้านการประเมิน วินิจฉัยและการวางเเผนการพยาบาลเบื้องต้น
3. ด้านการใช้เทคโนโลยี งานวิจัย สร้างนวัตกรรมและการสื่อสาร
อย่างมีจริยธรรม
4. ด้านการให้คำเเนะนำ ปฎิบัติการพยาบาลและเตรียมอุปกรณ์
ช่วยเหลือในระยะวิกฤต
5. ด้านการดูแลผู้ป่วยระยะต่อเนื่องหลังเปิดหลอดเลือดหัวใจสำเร็จ
45
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
การพยาบาล ACS ที่ห้องฉุกเฉิน
1. ประเมินด้านร่างกาย เช่น รูปร่าง น้ำหนัก อาการเจ็บหน้าอก ความรู้สึก
ตัว เเละวัญญาณชีพทุก 15 นาที
2. ซักประวัติเกี่ยวกับอาการเจ็บเเน่นหน้าอก การรักษาที่ได้รับมาเเล้ว/ใบ
ส่งตัว
3. ดูเเลผู้ป่วยร่วมกับเเพทย์เพื่อเกิดความสุขสบายโดยใช้หลัก MONA = ASA(5)
1 tab เคี้ยว , Isordil (5 mg) 1 tab SL., Clopidogrel 600 mg รับประทาน,
3 Mo 3 mg IV ลดอาการเจ็บหน้าอก
4. ดูเเลให้นอนพักบนเตียนท่าศีรษะสูง 30 - 60 องศาเเละให้ออกซิเจน 5
LPM Monitor oxygen Situation Keep > 95%
5. ทำ EKG 12 lead CX-R, On IV + เก็บเลือดส่งตรวจหาค่า Cardiac Enzyme
6. ประสานงานเพื่อส่งผู้ป่วยขึ้นรักษาตัวที่ CCU
46
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
การพยาบาล ACS ที่ ICCU
1. ประเมินอาการโดยรวม monitor clinical sign , V/S, O2 ผู้ป่วย
อย่างต่อเนื่อง
2. กรณีที่ผู้ป่วยได้รับยา Thrombolytics จะต้องประเมิน check list
และติดตามผู้ป่วยทุกระยะของการได้รับยา หากพบอาการผิดปกติ
ต้องรายงานเเพทย์ทราบทันที
3. จำกัดกิจกรรมผู้ป่วยบนเตียง เเละช่วงกระทำกิจกรรมทดแทน
4. Retained F/C จำกัดน้ำดื่ม จำกัดความเค็มในอาหารเเละให้ยา
ตามแผนการรักษา
5. บันทึกกิจกรรมทางการพยาบาลอย่างละเอียด
6. กรณีที่ต้องส่งผู้ป่วยำปสวนหัวใจควรเตรียมผู้ป่วยเหมือนการเตรียม
ผ่าตัด ( เซ็นยินยอม+การเเพ้อาหารทะเล)!
47
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
การพยาบาลในห้อง Cath-lab : ขณะสวนหัวใจ
1. ทำความสะอาดและโกนขนที่ขาหนีบทั้งสองข้าง หรือข้อมือด้วย
4%chlohexidine
2. ย้าย IV-line มาที่เเขนด้านซ้ายของผู้ป่วยเพราะข้างขวาเเพทย์จะเข้าทำ
หัตถการ	

3. นำผู้ป่วยขึ้นเตียง ติดสาย EKG Monotor / เตรียมเครื่อง Defribilator และ
อุปกรณ์สำหรับช่วยฟื้นคืนชีพให้ครบ	

4. Remark Pulse at dorsalis Pedis / Posterial tibial ทั้งสองข้างเพื่อประเมิน
ได้ถูกต้องเเละรวดเร็ว
5. ประเมินสัญญาณชีพอย่างต่อเนื่องขณะเเพทย์ทำหัตถการต้องดู waveform
ช่วยเเพทย์พร้อมเสริฟอุกรณ์ที่เเพทย์ต้องการใช้ที่ต้องเเกะจากกล่องที่มีรา
คาเเพงด้วย Sterile technic
6. Record หัตการเเละ Complication + ปิดเเผลโดยตรึง Pressure เมื่อเสร็จ
สิ้นการรักษา
48
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
การดูแลต่อเนื่องที่ ICCU : Post PCI
1. ประเมินอาการทั่วไปของผู้ป่วย รับรายงานการทำหัตการ, Monitor EKG
2. วัดความดันโลหิต ชีพจร การหายใจทุก 15 นาที ให้ O2 และติดตาม
oxygen Situation Keep > 95%
3. ประเมินอาการเจ็บเเน่นหน้าอก ให้นอนหงายราบ ใช้หมอนทรายทับบริเวณที่
เเทงเข็มทำหัตถการต่อเนื่อง 8 ชั่วโมง โดยผูกยึดเท้าเพื่อป้องกันการงอขา
ของผู้ป่วยเเละประเมินเลือดที่อาจออกได้
4. ประเมินการเเพ้สารทึบรังสี และชีพจรที่ตำเเหน่งต่ำกว่าที่ทำหัตการเป็นการ
เฝ้าระวังการเกิด Embolism, obs. urine output / ให้ยาตามเเผนการรักษา
5. ในกรณีที่เเพทย์ยังไม่เอาสายสวนหลอดเลือดออกต้อง Dressing และปิดเเผ
ลด้วยหลักปราศจากเชื้อ
6. ดูเเลความสุขสบายเเก่ผู้ป่วย เเละภาวะความดันโลหิตต่ำจากการกระตุ้น
ประสาทคู่ที่ 9 ขณะทำหัตถการ เรียกว่า Vago Vagal Reflex
49
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
การดูเเลต่อเนื่อง
เมื่อผู้ป่วยกลับบ้าน
พยาบาลเเนะนำตนเองก่อนให้ข้อมมูล ดังนี้
ข้อมูลพื้นฐาน
ของโรค
อธิบายโรค พยาธิสรีรภาพ อาการ สาเหตุ การรักษาที่ได้รับ อาการที่
หลงเหลืออยู่ ภาวะเเทรกซ้อนจากโรค ปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรค ค่ารักษา
เป้าหมาย
การรักษาพยาบาล
ป้องกันการเกิดซ้ำ (มีโอกาสเกิดได้กับหลอดเลือดหัวใจเส้นอื่นและหลอด
เลือดที่ใส่ Stent แล้วก็เกิดซ้ำได้) ป้องกันการเสียชีวิตเฉียบพลัน/บรรเทา
ความรุนเเรงของอาการเจ็บหน้าอกที่เหลืออยู่ >>ลดปัจจัยเสี่ยง+ทานยา
ยาที่ได้รับกลับบ้าน
1.ต้านเกล็ดเลือด
Ex. Aspirin , Ticlopidine, Clopidogrel : ยานี้สำคัญช่วยป้องกันการเจ็บ
หน้าอก และการตายเฉียบพลัน >>ห้ามหยุดยาเองก่อนปรึกษาเเพทย์ >> ระ
ยะเเรกจะต้องรับประทานยาต้านเกล็ดเลือด 2 ชนิดไประยะเวลาหนึ่ง (ขึ้นกับ
ชนิดของ Stent) ก่อนลดเหลือ 1 ชนิด S/E ของยาคือ UGIB เเนะนำเรื่องสังเกต
อุจจาระดำ>>เเนะนำมาพบเเพทย์ทันทีที่พบห้ามหยุดยาก่อนพบเเพทย์
2. Beta-blocker
Ex. Atenolol, Propanolol, Metropolol, Bisoprolol, Carvidiol ยานี้ช่วยลด
ความเครียดต่อหัวใจ ป้องกันเจ็บหน้าอกซ้ำ S/E ชีพจรช้าลง >>เปลี่ยนอริ
บถอย่างช้าๆ บอกอาการหน้ามืด/ล้มต่อเเทย์ทุกครั้ง
(นฤชา จิรกาลวสาน และคณะ,2559)
50
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
การดูเเลต่อเนื่อง
เมื่อผู้ป่วยกลับบ้าน
4. Nitrate
5. Statin
3. ACEI
inhibitor
Ex. Benazepril, Captopril, Enalapril, Ramipril, Trandolapril
ยานี้ป้องกันการเกิดพังผืดเเละการขยายใหญ่ของกล้ามเนื้อหัวใจที่ตาย
>>>เฝ้าระวังการเกิดความดันโลหิตต่ำ ,ไตทำงานผิดปกติ ,& Hyper K
พยาบาลเเนะนำตนเองก่อนให้ข้อมมูล ดังนี้
Ex. Ismo, Nitroglycerin, Isodrdil, Nitroderm TTS, Oinment
อมใต้ลิ้นเวลาเจ็บหน้าอก >>>อมใต้ลิ้นครั้งละ 1 เม็ด หากอาการไม่ดีขึ้นอม
เม็ดที่ 2 (ห่างจากเม็ดเเรก 5 นาที) เเละอีก 5 นาทีผ่านไปอมเม็ดที่ 3 แล้วมา
พบโรงพยาบาลทันทีพร้อมเเจ้งเเพทย์ว่าอมยาเเล้วไม่ดีขึ้น >>> ยาที่ออก
ฤทธิ์ได้ดีผู้ป่วยจะรู้สึกซู่ซ่าใต้ลิ้น >>> S/E ความดันโลหิตต่ำ *** ห้ามใช้ยา
กลุ่มที่เพิ่มสมรรถภาพทางเพศ เช่น viagra, Cialis, Levitra เพราะจะทำให้
ความดันโลหิตต่ำอย่างรุนเเรง
Ex. Lipitor, Lescol,Mevacor,Crestor,Zocor,Livalo
ยานี้ใช้ลดไขมันชนิด LDL ป้องกันการแตกของ Plaque สามารถป้องกัน
การเกิดโรคซ้ำได้อีก
(นฤชา จิรกาลวสาน และคณะ,2559)
51
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
การดูเเลต่อเนื่อง
เมื่อผู้ป่วยกลับบ้าน
เน้นกล้ามเนื้อมัดใหญ่เเละออกแบบเอโรบิค (ให้ HR ลดลง ช่วยลดอัตรา
เสียชีวิต) เช่น เดินเร็ว วิ่งจ๊อกกิ้ง ว่ายน้ำ ถีบจักยาน นาน 30 นาที 3-5
ครั้ง/สัปดาห์ โดยให้มีช่วง warm up & Cool down ช่วงละ 5 นาที
พยาบาลเเนะนำตนเองก่อนให้ข้อมมูล ดังนี้
เช่น ควบคุมความดันโลหิต เบาหวาน ไขมันในเลือด หยุดสูบ
บุหรี่ เลี่ยงแอลกอฮอล์ บริโภคผักผลไม้เพิ่มขึ้น ลดอาหารมัน
ลดน้ำหนัก ลดพุง (เส้นรอบเอวที่ไม่อ้วน = ส่วนสูง/2)
งดมีเพศสัมพันธ์ใน 2 สัปดาห์แรกหลังออกจากโรงพยาบาล (อัตรา
การเกิดโรคซ้ำสูงมาก) >>> มากกว่า 6 สัปดาห์ ความเสี่ยงจะลด
ลง เเต่ทำ Stress test ก่อน เช่น ขึ้นบันได 3 ชั้นตึกไม่เจ็บหน้าอก
หรือเดินเเนวราบได้มากกว่า 500 เมตร ไม่เจ็บหน้าอก ===>> มี
เพศสัมพันธ์ได้
คำแนะนำอื่น
ออกกำลังกาย
ลด !
atharosclerosis
เพศสัมพันธ์
(นฤชา จิรกาลวสาน และคณะ,2559)
52
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
การดูเเลต่อเนื่อง
เมื่อผู้ป่วยกลับบ้าน
52
# ต้องควบคุมค่า Lab. 
ให้ได้ตามเกณฑ์รักษา ดังนี้
1. Cholesterol < 150 mg/dl!
2. LDL < 70 mg/dl!
3. HDL Male > 40 mg/dl!
! ! ! ! Female > 50 mg/dl!
4. TG < 150 mg/dl
# ต้องควบคุมค่า BP 
ให้ได้ตามเกณฑ์รักษา ดังนี้
BP < 140/90 mmHg
(2013 ESH/ESC Guidelines)(2016 RCPT/ Guidelines)
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยา Streptokinase
53
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
การเตรียมยา Streptokinase
plasminogen activator complex
1,500,000 IU (1 vial)
หลังจากเจือจางยาสามารถเก็บ
ได้นาน 24 ชั่วโมงในตู้เย็น
8 ชั่วโมงที่อุณหภูมิไม่เกิน 25o C
1.5 ล้านยูนิต ผสมใน 5% DW or 0.9% NSS 100
cc IV drip in 30-60 min(ระยะแรกเริ่มใช้ช้าๆ
ก่อน)
ขณะผสมยาค่อยๆฉีด sterile water เบาๆที่ข้างขวด
ไม่ฉีดลงไปบนผงยา(เพราะจะทำให้เกิดฟองอากาศ
จำนวนมาก)
ห้ามเขย่าขวดยา ให้หมุนเบาๆในมือ
ให้ยาทาง IV หรือ Intracoronary เท่านั้น (ไม่ควรผสมกับยาอื่น)
ต้องมั่นใจว่าเป็น AMI จริง : EKG 12 lead + History Talking “PQRST”
Precipitation = ปัจจัยกระตุ้น Quality = ลักษณะการเจ็บ Refer pain
Severily = ความรุนเเรง Time =ระยะเวลาที่เริ่มเจ็บ
54
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
ข้อบ่งชี้ในการให้ยา Streptokinase
มีอาการเจ็บหน้าอกแบบ Angina Pectoris เเละได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรค
กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด ST-Segment elevation >>> ให้ได้รับ
ภายใน 12 ชั่วโมงหลังเกิด Angina Pectoris และผู้ป่วยไม่มีข้อห้ามใช้ยานี้
ห้าให้ Streptokinase ซ้ำในรายที่เคยได้รับยานี้มาก่อน โดยให้เลือกยาละลายลิ่มเลือด
ชนิดอื่นเเละรีบส่งไปยังสถานพยาบาลที่พร้อม
ควรให้สารน้ำเเก่ผู้ป่วยอย่างเพียงพอเเละพิจารณาร่วมหยุดยาหากพบความดันโลหิตต่ำ
ชั่วคราว / หรือพิจารณาให้ยากระตุ้นความดันเเละให้ยา Steptokinase ต่อ
พิจารณาส่งต่อเพื่อขยายหลอดเลือดหัวใจปฐมภูมิกรณีพบภาวะหัวใจวายร่วมด้วย
ข้อควรระวังในการให้ยา Streptokinase
55
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
บุคคลต่อไปนี้ห้ามให้ยา Streptokinase
Severe, uncontrolled hypertension (BP > 185/110 mmHg),
history of severe chronic hypertension
Known bleeding disorder or use of anticoagulant
Prolong CPR with evidence of thoracic trauma
Lumbar puncture within 7 days
Recent arterial puncture at non-compressible site
Pregnancy
Terminal illness
Jaundice, hepatitis, kidney failure
For streptokinase therapy, allergy or prior exposure to SK
ผู้ป่วยและญาติปฏิเสธ
Massive Bleeding / Hypotension / VT , VF
สิ่งที่ต้องรายงานเเพทย์ทันที
56
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยยา Streptokinase
1. ซักประวัติถึงข้อห้ามเเละข้อควรระวังในการใช้ยา
2. เเพทย์อธิบายอันตรายที่จะเกิดขึ้นจากการใช้ยานี้ในการรักษาเเละ
ประโยชน์จากยานี้ >>> ผู้ป่วย + ญาติเซ็นใบยินยอมรับยานี้
3. เลือดติดตามค่า Cardio Enzyme ก่อนการให้ยา
4. เปิดหลอดเลือดเเยกสำหรับยานี้โดยเฉพาะ/ Monitor EKG ขณะให้ยา
5. เมื่อเริ่มให้ยาต้องวัด BP ทุก 15 นาที เพราะผู้ป่วยอาจเกิด
Hypotension ได้
6. เฝ้าระวัง Bleeding Tendency ทุก 15 นาทีจนกว่ายาจะหมด เเละ
ติดตามต่อเนื่องจนครบ 36 ชั่วโมงหลังการให้ยา
7. ประเมิน EKG นาทีที่ 30 60 เเละ 90 นับจากเริ่มให้ยา (ยาจะเริ่มเปิด
หลอดเลือดได้นาทีที่ 30 เเละจะเปิดได้เพิ่มขึ้นเรื่อยๆในเวลาที่ผ่านไป)
8. Bleeding precaution care เช่น งด IM
9. หากพบอาการเเพ้เฉียบพลัน >>> รายงานเเพทย์และให้ Dexa IV Stat
57
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
3. รักษาด้วยยา Streptokinase
10. บันทึกสัญญาณชีพ อาการที่เปลี่ยนเเปลง เเละจำนวนยาที่ได้
รับ จริงหากจำเป็นต้องหยุดยา
11. ประเมินอาการปวดศีรษะ หลัง กล้ามเนื้อ อาการหนาวสั่น ซึ่ง
อาจพบและเเก้ไข ได้ด้วยการให้ยา paracetamol
12. ติดตามค่า Lab. ต่างๆเเละผลสำเร็จจากการให้ยา
อาการเจ็บหน้าอกหายเร็ว
ST resolution in 120 mins
VT, VF, Bradycardia, Heart block, Hypotension
Cardiac enzyme CK-MB ขึ้นสูงสุดประมาณ 12 ชั่วโมงหลัง
เจ็บหน้าอก ถ้าไม่มีreperfusion จะขึ้นสูงสุดที่ 24-36 ชั่วโมง
Reperfusion in STEMI
58
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
Goal N/C: บรรเทาอาการเจ็บแน่นหน้าอก
สังเกตและประเมินอาการเจ็บหน้าอก, วัดV/S
ดูแลให้ผู้ป่วยได้พักอย่างเต็มที่ (absolute bed rest)
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน Cannula 5 LPM keep SatO2 > 90 %
ถ้าผู้ป่วยมีอาการเจ็บแน่นหน้าอกดูแลให้ผู้ป่วยอมยา Isordil (5mg) 1 เม็ดใต้
ลิ้นทันที
บันทึกและประเมินอาการเจ็บหน้าอกทุก 5 นาที หลังอมยาใต้ลิ้น ถ้ายังไม่หาย
ให้อมซ้ำได้อีกครั้งละ 1 เม็ด ไม่เกิน 2 ครั้ง และรายงานแพทย์ทราบ
On EKG Monitor เพื่อติดตามการทำงานของหัวใจอย่างใกล้ชิด
ดูแลให้ได้รับยา GTN (Glyceryl trinitrate) ตามแผนการรักษาอย่าง
เคร่งครัด
59
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
คงไว้ของระบบไหลเวียนเลือดที่เพียงพอ
ให้ได้รับยา thrombolytic agent/antiplatelet agent /anticoagulants ตามPx.
ติดตามภาวะเลือดออกผิดปกติก่อนและหลังให้ยา
ดูแลให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนนอนหลับอย่างเพียงพอ
ลดกิจกรรมและการออกแรงที่จะเป็นอันตรายต่อหัวใจ
หลีกเลี่ยงการทำกิจกรรมการพยาบาลหลายๆอย่างพร้อมกัน
ลดปัจจัยที่เป็นสาเหตุส่งเสริมต่อการเพิ่มการใช้ออกซิเจนของหัวใจ
ดูแลให้ผู้ป่วยได้ยาและสารน้ำที่เหมาะสมกับสมรรถภาพของหัวใจ
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยได้มีการขับถ่ายอุจจาระตามปกติ
ผู้ป่วยที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน ไม่มีอาการเจ็บอกหรือภาวะหัวใจวายอยู่ ดูแลได้รับ
ออกซิเจนเพียงพอในช่วง 6 ชั่วโมงแรก ยกเว้นผู้ป่วยที่ยังมีอาการเจ็บอกหรือภาวะ
หัวใจวายอยู่ keep Sat O2 ≈ 95%
60
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
ป้องกันและลดอันตรายจากภาวะแทรกซ้อน
เฝ้าระวังและสังเกตอาการภาวะheart failure, Acute pulmonary edema,
cardiac arrhythmia
สังเกตและบันทึกสัญญาณชีพอย่างใกล้ชิดโดยเฉพาะช่วง 24-48 ชั่วโมงแรก
ติดตามการทำงานของการเต้นของหัวใจอย่างใกล้ชิด โดย on EKG monitor
ถ้ามี PVC มากกว่า 6 ตัว/นาที หรือ PVCติดต่อกัน รายงานแพทย์ทราบ
จัดเตรียมยาต้านการเต้นของหัวใจผิดจังหวะ ได้แก่ amiodarone (cordarone)
2% xylocain หรือยาที่ใช้ในภาวะ heart block ให้พร้อมใช้
จัดเตรียมเครื่อง DC shock /pacemaker ให้พร้อมใช้
สังเกตและจดบันทึกลักษณะและปริมาณของปัสสาวะ และปริมาณน้ำเข้า น้ำออก
อย่างน้อยทุก 8 ชั่วโมง
ดูแลให้ได้รับยากระตุ้นการทำงานของหัวใจ ได้แก่ยา dopamine ,
dobutamine ตามแผนการรักษา และสังเกตภาวะแทรกซ้อนจากยา
61
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
บรรเทาความกลัวและความวิตกกังวล
สร้างสัมพันธ์ภาพที่ดีกับผู้ป่วย/ญาติ
อธิบายเหตุผล/ความจำเป็นในการรักษาพยาบาล เช่น การติด EKG Monitor การ
จำกัดกิจกรรม
แนะนำวิธีสื่อสารกับผู้ป่วย (กรณีใส่ท่อหลอดลมคอ)
ดูแลช่วยเหลือในกิจกรรมต่างๆ เช่น ป้อนอาหาร/เช็ดตัว/การขับถ่าย
จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบ ลดสิ่งกระตุ้นต่างๆ
ดูแลให้ได้รับยากล่อมประสาท ตามแผนการรักษา
แนะนำญาติมาเยี่ยมเพื่อให้กำลังใจ และมีส่วนร่วมในการรักษาพยาบาล
ให้การพยาบาล โดยคำนึงถึงความเป็นบุคคลของผู้ป่วย
62
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดต่อหลอดเลือด	

เลี้ยงหัวใจหรือการผ่าตัดบายพาส
(Coronary Artery Bypass Graft : CABG)
4
63
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
ข้อบ่งชี้ในการรักษาด้วย  CABG
64
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
65
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
Conventional CABG Operation
Sternotomy
• Equivalent target vessel access
• Multivessel revascularization
Elimination of Cardiopulmonary Bypass
• No aortic cannulation
• No cross clamp
• Reduced inflammatory response1
• Reduced cerebral emboli2
No Cardioplegia
• “Beating-heart” bypass
Pyramid Positioner™
Universal Stabilizer Arm Model IIT ™
USA IIT and Synergy II Stabilizer Mounted on Standard Chest
Retractor
OPVAC® Synergy II ™ Stabilizer
66
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
67
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
68
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
69
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
70
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
การพยาบาลผู้ป่วยที่รับการ่ผ่าตัด CABG
- แนะนำให้งดการสูบบุหรี่อย่างน้อย 2 สัปดาห์ ก่อนผ่าตัดพร้อมฝึกการริหารปอดงด-
-ให้รับประทานยา ASA , Plavix อย่างน้อย 7 วันก่อนผ่าตัด
- อธิบายผู้ป่วยเเละตอบคำถามให้ข้อมูลเเก่ผู้ป่วยให้ครบถ้วน ก่อนให้ผู้ป่วยเเละญาติ
เซนยินยอมการรักษา
- นั ด ผู้ ป่ ว ย น อ น โ ร ง
พยาบาลก่อนการผ่าตัด
1 วัน เพื่อจะได้เจาะ
เลือดสำรองให้พร้อม
ใช้เมื่อเข้าห้องผ่าตัด!
- เตรียมผล Lab, ผล
CXR, EKG และอื่นๆที่
ต้องใช้ให้พร้อม
71
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
การพยาบาลผู้ป่วยที่รับการ่ผ่าตัด CABG
72
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
การพยาบาลผู้ป่วยที่รับการผ่าตัด CABG
เตรียม
อุปกรณ์ไว้ให้
พร้อม >>
อาจมีอาการ
วิกฤตที่ต้อง
ใช้
73
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
• เป็นการดูแลต่อ
เนื่องจากหอผู้ป่วยหนัก
• การวางแผนจำหน่าย
• เพื่อการดูแลต่อเนื่อง
Post - Op !
CABG Nursing Care
• เมื่อรับผู้ป่วยมาถึงหอผู้ป่วยหนัก (CVT)
– ตรวจดูแผลผ่าตัด/ท่อระบายต่างๆ
– ติดตามประเมินค่าสัญญาณชีพต่างๆอย่างต่อเนื่อง
• ประเมิน patameter ตอนเริ่มเเรกทุก 15 -30 นาที
เและเมื่ออาการเริ่มคงที่ให้ประเมินผู้ป่วยอย่างน้อย
ทุก 1-2 ชั่วโมง
– ประเมิน ECG+Ventilator Monitoring
– วัดความดันทาง Arterial Line
– Pulse Oximetry
– Central Venous Pressure
– การวัดอุณหภูมิร่างกาย
– ตวงปัสสาวะ
การพยาบาลผู้ป่วยที่รับการผ่าตัด CABG
74
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
• การหายใจผิดปกติ
• การเสียเลือด: แผล/ภายใน
• การเต้นของหัวใจผิดปกติ
• ความดันโลหิตสูง/ต่ำ
• อุณหภูมิกาย
• ปวด
• ความไม่สมดุลของสารน้ำอิ
เล็กโตรไลต์ และสารอาหาร
• อาการผิดปกติที่ต้องเฝ้าระวัง
• การติดเชื้อแผลผ่าตัด
• การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
• มีน้ำในเยื่อหุ้มหัวใจ, มีน้ำใน
เยื่อหุ้มปอด
• เกิดการติดเชื้อ (Infection)
75
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
การปฏิบัติตัวเมื่อกลับบ้าน
– ให้ทำกิจกรรมเท่ากับขณะอยู่ในโรงพยาบาล และรักษาระดับกิจกรรมที่ทำนี้ไปอีก
2 สัปดาห์
– หลีกเลี่ยงการยกของหนักเกิน 5 กิโลกรัม งดการแบะหน้าอกในช่วงที่รอการติด
ของกระดูกหน้าอก
– การออกกำลังกาย ด้วยการเริ่มเดินช้าๆค่อยๆ เพิ่มระยะทางและเดินให้เร็วขึ้น ควร
ทำอย่างสม่ำเสมอ
• การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกาย
• Wk 1: เดินที่ราบ วันละ 5-10 นาที ด้วยความเร็วปกติ วันละ2-3 ครั้ง
• Wk 2-3 เดินที่ราบ วันละ 10-15นาที ด้วยความเร็วปกติ วันละ 2-3 ครั้ง
• Wk 4 : เดินที่ราบ วันละ 20-30 นาที ด้วยความเร็วปกติ วันละ 1 ครั้ง
76
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
การปฏิบัติตัวเมื่อกลับบ้าน (ต่อ)
กิจกรรมทางเพศ
สามารถมีกิจกรรมทางเพศได้
– เริ่มมีได้ประมาณ 4-6 สัปดาห์หลังผ่าตัด
หรือ
– เมื่อร่างกายมีความพร้อม
การทดสอบว่าร่างกายมีความพร้อม
– ให้ขึ้นบันไดทีละ 2 ชั้นตึก หากไม่มีอาการ
เหนื่อย
– >>>ถือว่าร่างกายมีความพร้อม
** หลีกเลี่ยงท่าที่กระทบกระเทือนต่อกระดูกอก
• การดูแลแผลผ่าตัด: สังเกตความ
ผิดปกติ
– แผลบวมแดงร้อน
– เจ็บตึงแผลเพิ่มขึ้น
– มีเลือดหรือหนองออกจากแผล
– ***หากพบอาการนี้ควรรีบมาพบ
แพทย์
• การดูแลแผลผ่าตัด
– ทำความสะอาดแผลด้วยน้ำสบู่
อ่อนๆซับให้แห้ง หากต้องการใช้ยา
เพื่อป้องกันแผลเป็น ควรปรึกษา
แพทย์
77
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
การปฏิบัติตัวเมื่อกลับบ้าน (ต่อ)
• ชั่งน้ำหนัก
– บันทึกน้ำหนักทุกวัน
– เวลาตรงกันและก่อนรับประทานอาหาร
• ถ้าน้ำหนักเพิ่มมากกว่า 1 กิโลกรัม +
• มีอาการบวมขึ้นภายวันเดียวกันให้รีบมา
พบแพทย์
• การพักผ่อนให้เพียงพอ
• การรับประทานยาตามเเเผนการรักษา
ระวังผลข้างเคียงของยา
• การมาพบแพทย์ ตามนัด
• อาการผิดปกติที่ควรรีบ
• มาพบแพทย์ทันที
• ใจสั่น เป็นลม มึนงง
• เหงื่อออกมากกว่าปกติ
• คลำชีพจร พบจังหวะเปลี่ยนไป
ไม่สม่ำเสมอ
• ปวดแผลมากขึ้น
• เจ็บหน้าอก เจ็บร้าวไปที่ไหล่ แขน
คอ
• ปวดบวมขาที่เลาะเส้นเลือดไปใช้
• แผลบวม แดงร้อน ที่เเผล
78
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
!
!
นฤชา จิรกาลวสานเเละคณะ. (2559). BEAT THE OSCE. ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะเเพทย์
ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำอางค์ ตันวิเชียร.().สมรรถนะพยาบาลวิชาชีพที่ดูเเลผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันใน
โรงพยาบาลตติยภูมิแห่งหนึ่ง จังหวัดสมุทรสาคร. วิทยานิพนธ์ พย. ม. การบริหารการ
พยาบาล : บัณฑิติทยาลัย มหาวิทยาลัยคริสเตียน นครปฐม.
วิจิตรา กุสุมภ์และคณะ. (2556). การพยาบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤตแบบองค์รวม. กทม:!
สหประชาพานิชย์.!
!
! ! Mike, M. &Traccy M., (2011). Caring for the seriously ill patient. 2nd USA: Hodder and !! !
! ! ! Stoughton Ltd.!
Marianne, C., & Suzanne, M. B., (2010). AACN essentials of critical care nursing. 2nd USA: The
McGrow-hill companies.
! ! Meg, G. & Judith, L. M., (2011). Nursing care plans diagnoses, interrentions, and outcomes.
! ! ! 7th USA: evolve.!
! Smelzer,SC,Bare,BG.,Hinkle,KH. (2013.). Brunner&Suddarth’s Textbook of Medical-Surgical
! ! Nursing.12 ed. Philadelphia : Lippincott Williams&Wilkins.!
เอกสารอ้างอิง/สืบค้นเพิ่มเติม
379
Line ID : nutt-chut / ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) / โทร 095-8499-681
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาลการอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาลChutchavarn Wongsaree
 
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทยแนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทยUtai Sukviwatsirikul
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuipiyarat wongnai
 
Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)piyarat wongnai
 
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม 2557
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม 2557แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม 2557
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม 2557Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...Chutchavarn Wongsaree
 
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSESPATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSESAphisit Aunbusdumberdor
 
ความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพUtai Sukviwatsirikul
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgtechno UCH
 
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)techno UCH
 
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานBLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานPaleenui Jariyakanjana
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition techno UCH
 
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...maxx061
 
12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวนSuradet Sriangkoon
 

Mais procurados (20)

การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาลการอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
 
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทยแนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
 
Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)
 
Acute Mi
Acute MiAcute Mi
Acute Mi
 
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม 2557
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม 2557แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม 2557
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม 2557
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
 
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
 
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSESPATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
 
ความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพ
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
 
Septic shock guideline
Septic shock guidelineSeptic shock guideline
Septic shock guideline
 
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)
 
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานBLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
Pharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy strokePharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy stroke
 
Ppt.dm
Ppt.dmPpt.dm
Ppt.dm
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition
 
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...
 
12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน
 

Semelhante a การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี

Update การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรัง
Update การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรังUpdate การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรัง
Update การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรังChutchavarn Wongsaree
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Chutchavarn Wongsaree
 
nursing Care patients on ventilator
 nursing  Care patients on   ventilator nursing  Care patients on   ventilator
nursing Care patients on ventilatorChutchavarn Wongsaree
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจChutchavarn Wongsaree
 
CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555
CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555
CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555Thorsang Chayovan
 
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Chutchavarn Wongsaree
 
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย Ischemiaxxx
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย  Ischemiaxxxการดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย  Ischemiaxxx
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย Ischemiaxxxeremslad
 
Clinical Practice Guideline of Acute Meningoencephalitis
Clinical Practice Guideline of Acute MeningoencephalitisClinical Practice Guideline of Acute Meningoencephalitis
Clinical Practice Guideline of Acute MeningoencephalitisUtai Sukviwatsirikul
 
Surgery of acquired heart disease อ.วรวงศ์ ศลิษฏ์อรรถกร
Surgery of acquired heart disease อ.วรวงศ์ ศลิษฏ์อรรถกรSurgery of acquired heart disease อ.วรวงศ์ ศลิษฏ์อรรถกร
Surgery of acquired heart disease อ.วรวงศ์ ศลิษฏ์อรรถกรpohgreen
 
Thai hemorrhagic stroke guideline 2008
Thai hemorrhagic stroke guideline 2008Thai hemorrhagic stroke guideline 2008
Thai hemorrhagic stroke guideline 2008Thorsang Chayovan
 
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2008
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke  2008Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke  2008
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2008Utai Sukviwatsirikul
 
CPG Thai hemorrhagic stroke 2551
CPG Thai hemorrhagic stroke 2551CPG Thai hemorrhagic stroke 2551
CPG Thai hemorrhagic stroke 2551Thorsang Chayovan
 
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลChutchavarn Wongsaree
 
Guideline For the Early Management Of Patients with ischemic Stroke
Guideline For the Early Management Of Patients with ischemic  StrokeGuideline For the Early Management Of Patients with ischemic  Stroke
Guideline For the Early Management Of Patients with ischemic StrokeKanyanat Taew
 
Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02
Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02
Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02Angkana Chongjarearn
 
Case-study-เพชรกร-อริศรา.docx
Case-study-เพชรกร-อริศรา.docxCase-study-เพชรกร-อริศรา.docx
Case-study-เพชรกร-อริศรา.docxERppk
 
Emergency care to head injured patient
Emergency care to head injured patientEmergency care to head injured patient
Emergency care to head injured patientKrongdai Unhasuta
 
Slide โรคเรื้อรัง สปสช
Slide โรคเรื้อรัง สปสชSlide โรคเรื้อรัง สปสช
Slide โรคเรื้อรัง สปสชคิดดี ทำดี
 
นวัตกรรมแพทย์
นวัตกรรมแพทย์นวัตกรรมแพทย์
นวัตกรรมแพทย์taem
 

Semelhante a การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี (20)

Update การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรัง
Update การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรังUpdate การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรัง
Update การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรัง
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
 
nursing Care patients on ventilator
 nursing  Care patients on   ventilator nursing  Care patients on   ventilator
nursing Care patients on ventilator
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจ
 
CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555
CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555
CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555
 
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
 
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย Ischemiaxxx
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย  Ischemiaxxxการดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย  Ischemiaxxx
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย Ischemiaxxx
 
Clinical Practice Guideline of Acute Meningoencephalitis
Clinical Practice Guideline of Acute MeningoencephalitisClinical Practice Guideline of Acute Meningoencephalitis
Clinical Practice Guideline of Acute Meningoencephalitis
 
Surgery of acquired heart disease อ.วรวงศ์ ศลิษฏ์อรรถกร
Surgery of acquired heart disease อ.วรวงศ์ ศลิษฏ์อรรถกรSurgery of acquired heart disease อ.วรวงศ์ ศลิษฏ์อรรถกร
Surgery of acquired heart disease อ.วรวงศ์ ศลิษฏ์อรรถกร
 
Traumatic shock
Traumatic shockTraumatic shock
Traumatic shock
 
Thai hemorrhagic stroke guideline 2008
Thai hemorrhagic stroke guideline 2008Thai hemorrhagic stroke guideline 2008
Thai hemorrhagic stroke guideline 2008
 
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2008
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke  2008Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke  2008
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2008
 
CPG Thai hemorrhagic stroke 2551
CPG Thai hemorrhagic stroke 2551CPG Thai hemorrhagic stroke 2551
CPG Thai hemorrhagic stroke 2551
 
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
 
Guideline For the Early Management Of Patients with ischemic Stroke
Guideline For the Early Management Of Patients with ischemic  StrokeGuideline For the Early Management Of Patients with ischemic  Stroke
Guideline For the Early Management Of Patients with ischemic Stroke
 
Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02
Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02
Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02
 
Case-study-เพชรกร-อริศรา.docx
Case-study-เพชรกร-อริศรา.docxCase-study-เพชรกร-อริศรา.docx
Case-study-เพชรกร-อริศรา.docx
 
Emergency care to head injured patient
Emergency care to head injured patientEmergency care to head injured patient
Emergency care to head injured patient
 
Slide โรคเรื้อรัง สปสช
Slide โรคเรื้อรัง สปสชSlide โรคเรื้อรัง สปสช
Slide โรคเรื้อรัง สปสช
 
นวัตกรรมแพทย์
นวัตกรรมแพทย์นวัตกรรมแพทย์
นวัตกรรมแพทย์
 

Mais de Chutchavarn Wongsaree

Effect of dementia on older adult in thailand
Effect of  dementia on older adult in thailandEffect of  dementia on older adult in thailand
Effect of dementia on older adult in thailandChutchavarn Wongsaree
 
Current situation in dementia syndrome on older person in thailand issues and...
Current situation in dementia syndrome on older person in thailand issues and...Current situation in dementia syndrome on older person in thailand issues and...
Current situation in dementia syndrome on older person in thailand issues and...Chutchavarn Wongsaree
 
การเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาล
การเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาลการเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาล
การเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาลChutchavarn Wongsaree
 
การศึกษาเเบบผู้ใหญ่ : การเรียนรู้และเข้าใจนักศึกษาพยาบาลยุค generation z
การศึกษาเเบบผู้ใหญ่ : การเรียนรู้และเข้าใจนักศึกษาพยาบาลยุค generation zการศึกษาเเบบผู้ใหญ่ : การเรียนรู้และเข้าใจนักศึกษาพยาบาลยุค generation z
การศึกษาเเบบผู้ใหญ่ : การเรียนรู้และเข้าใจนักศึกษาพยาบาลยุค generation zChutchavarn Wongsaree
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนัง
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนังการพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนัง
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนังChutchavarn Wongsaree
 
มโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุ
มโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุมโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุ
มโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุChutchavarn Wongsaree
 
การให้ความรู้แบบเข้มข้น เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...
การให้ความรู้แบบเข้มข้น   เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน   ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...การให้ความรู้แบบเข้มข้น   เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน   ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...
การให้ความรู้แบบเข้มข้น เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...Chutchavarn Wongsaree
 
ความเครียดก่อนการสอบขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพการพยาบาลครั้งแรกของบัณฑิตใหม่ ...
ความเครียดก่อนการสอบขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพการพยาบาลครั้งแรกของบัณฑิตใหม่ ...ความเครียดก่อนการสอบขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพการพยาบาลครั้งแรกของบัณฑิตใหม่ ...
ความเครียดก่อนการสอบขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพการพยาบาลครั้งแรกของบัณฑิตใหม่ ...Chutchavarn Wongsaree
 
ประสบการณ์การรับรู้และการจัดการปัญหาด้านเพศสัมพันธ์ของผู้ป่วยเพศชายโรคไตวายเร...
ประสบการณ์การรับรู้และการจัดการปัญหาด้านเพศสัมพันธ์ของผู้ป่วยเพศชายโรคไตวายเร...ประสบการณ์การรับรู้และการจัดการปัญหาด้านเพศสัมพันธ์ของผู้ป่วยเพศชายโรคไตวายเร...
ประสบการณ์การรับรู้และการจัดการปัญหาด้านเพศสัมพันธ์ของผู้ป่วยเพศชายโรคไตวายเร...Chutchavarn Wongsaree
 
การพยาบาลโรคต่อมไร้ท่อที่ซับซ้อน
การพยาบาลโรคต่อมไร้ท่อที่ซับซ้อนการพยาบาลโรคต่อมไร้ท่อที่ซับซ้อน
การพยาบาลโรคต่อมไร้ท่อที่ซับซ้อนChutchavarn Wongsaree
 
ประสบการณ์การได้รับการสนับสนุนทางสังคมในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้...
ประสบการณ์การได้รับการสนับสนุนทางสังคมในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้...ประสบการณ์การได้รับการสนับสนุนทางสังคมในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้...
ประสบการณ์การได้รับการสนับสนุนทางสังคมในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้...Chutchavarn Wongsaree
 
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉิน
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉินบทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉิน
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉินChutchavarn Wongsaree
 
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉิน
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉินบทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉิน
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉินChutchavarn Wongsaree
 
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วยบทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วยChutchavarn Wongsaree
 
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วยบทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วยChutchavarn Wongsaree
 
บทบาทพยาบาลกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในภาวะไตวายเฉียบพลัน
 บทบาทพยาบาลกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในภาวะไตวายเฉียบพลัน บทบาทพยาบาลกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในภาวะไตวายเฉียบพลัน
บทบาทพยาบาลกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในภาวะไตวายเฉียบพลันChutchavarn Wongsaree
 
บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์
บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์
บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์Chutchavarn Wongsaree
 
แนวคิดร่วมสมัยในการจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์
แนวคิดร่วมสมัยในการจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์แนวคิดร่วมสมัยในการจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์
แนวคิดร่วมสมัยในการจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์Chutchavarn Wongsaree
 
บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์
บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์
บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์Chutchavarn Wongsaree
 
คำนิยามวิธีการสอน วัตถุประสงค์และการวัดประเมินผลที่สอดคล้องกับวิธีการสอนรูปแ...
คำนิยามวิธีการสอน  วัตถุประสงค์และการวัดประเมินผลที่สอดคล้องกับวิธีการสอนรูปแ...คำนิยามวิธีการสอน  วัตถุประสงค์และการวัดประเมินผลที่สอดคล้องกับวิธีการสอนรูปแ...
คำนิยามวิธีการสอน วัตถุประสงค์และการวัดประเมินผลที่สอดคล้องกับวิธีการสอนรูปแ...Chutchavarn Wongsaree
 

Mais de Chutchavarn Wongsaree (20)

Effect of dementia on older adult in thailand
Effect of  dementia on older adult in thailandEffect of  dementia on older adult in thailand
Effect of dementia on older adult in thailand
 
Current situation in dementia syndrome on older person in thailand issues and...
Current situation in dementia syndrome on older person in thailand issues and...Current situation in dementia syndrome on older person in thailand issues and...
Current situation in dementia syndrome on older person in thailand issues and...
 
การเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาล
การเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาลการเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาล
การเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาล
 
การศึกษาเเบบผู้ใหญ่ : การเรียนรู้และเข้าใจนักศึกษาพยาบาลยุค generation z
การศึกษาเเบบผู้ใหญ่ : การเรียนรู้และเข้าใจนักศึกษาพยาบาลยุค generation zการศึกษาเเบบผู้ใหญ่ : การเรียนรู้และเข้าใจนักศึกษาพยาบาลยุค generation z
การศึกษาเเบบผู้ใหญ่ : การเรียนรู้และเข้าใจนักศึกษาพยาบาลยุค generation z
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนัง
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนังการพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนัง
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนัง
 
มโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุ
มโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุมโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุ
มโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุ
 
การให้ความรู้แบบเข้มข้น เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...
การให้ความรู้แบบเข้มข้น   เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน   ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...การให้ความรู้แบบเข้มข้น   เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน   ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...
การให้ความรู้แบบเข้มข้น เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...
 
ความเครียดก่อนการสอบขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพการพยาบาลครั้งแรกของบัณฑิตใหม่ ...
ความเครียดก่อนการสอบขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพการพยาบาลครั้งแรกของบัณฑิตใหม่ ...ความเครียดก่อนการสอบขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพการพยาบาลครั้งแรกของบัณฑิตใหม่ ...
ความเครียดก่อนการสอบขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพการพยาบาลครั้งแรกของบัณฑิตใหม่ ...
 
ประสบการณ์การรับรู้และการจัดการปัญหาด้านเพศสัมพันธ์ของผู้ป่วยเพศชายโรคไตวายเร...
ประสบการณ์การรับรู้และการจัดการปัญหาด้านเพศสัมพันธ์ของผู้ป่วยเพศชายโรคไตวายเร...ประสบการณ์การรับรู้และการจัดการปัญหาด้านเพศสัมพันธ์ของผู้ป่วยเพศชายโรคไตวายเร...
ประสบการณ์การรับรู้และการจัดการปัญหาด้านเพศสัมพันธ์ของผู้ป่วยเพศชายโรคไตวายเร...
 
การพยาบาลโรคต่อมไร้ท่อที่ซับซ้อน
การพยาบาลโรคต่อมไร้ท่อที่ซับซ้อนการพยาบาลโรคต่อมไร้ท่อที่ซับซ้อน
การพยาบาลโรคต่อมไร้ท่อที่ซับซ้อน
 
ประสบการณ์การได้รับการสนับสนุนทางสังคมในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้...
ประสบการณ์การได้รับการสนับสนุนทางสังคมในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้...ประสบการณ์การได้รับการสนับสนุนทางสังคมในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้...
ประสบการณ์การได้รับการสนับสนุนทางสังคมในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้...
 
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉิน
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉินบทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉิน
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉิน
 
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉิน
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉินบทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉิน
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉิน
 
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วยบทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
 
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วยบทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
 
บทบาทพยาบาลกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในภาวะไตวายเฉียบพลัน
 บทบาทพยาบาลกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในภาวะไตวายเฉียบพลัน บทบาทพยาบาลกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในภาวะไตวายเฉียบพลัน
บทบาทพยาบาลกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในภาวะไตวายเฉียบพลัน
 
บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์
บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์
บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์
 
แนวคิดร่วมสมัยในการจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์
แนวคิดร่วมสมัยในการจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์แนวคิดร่วมสมัยในการจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์
แนวคิดร่วมสมัยในการจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์
 
บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์
บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์
บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์
 
คำนิยามวิธีการสอน วัตถุประสงค์และการวัดประเมินผลที่สอดคล้องกับวิธีการสอนรูปแ...
คำนิยามวิธีการสอน  วัตถุประสงค์และการวัดประเมินผลที่สอดคล้องกับวิธีการสอนรูปแ...คำนิยามวิธีการสอน  วัตถุประสงค์และการวัดประเมินผลที่สอดคล้องกับวิธีการสอนรูปแ...
คำนิยามวิธีการสอน วัตถุประสงค์และการวัดประเมินผลที่สอดคล้องกับวิธีการสอนรูปแ...
 

การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี

  • 1. ! ! ! ! ! ! ! !!! ! ! ! ! ! ! พย.บ. (เกียรตินิยม)! RTU Ubon พย.ม.การพยาบาลผู้ใหญ่! HCU ปร.ด. การบริหารการพาบาล! CTU : กำลังศึกษา ติดต่อ : Tel. 095-849-9681, Line ID : nutt-chut , E-mail:nutt_chut@hotmail.comการศึกษา เฉพาะทางการพยาบาลสาขา:- 1. Cath-Lab สถาบันโรคทรวงอก 2. ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช 3. ศาสตร์และศิลปะการสอนพยาบาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 5 . ผู้สูงอายุ มหาวิทยาลัยมหิดล โดย ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) 4. การพยาบาลโรคผิวหนัง สถาบันโรคผิวหนัง น.บ. (นิติศาสตร์)! TU : กำลังศึกษา ! Rajabhat University College of Nursing and Health Suansunundha การพยาบาลผู้ป่วย! ที่มีปัญหาเกี่ยวกับ! โรคของหลอดเลือดโคโรนารี Lecture No. 9 / 27 มิ.ย.60 / 13.00-16.00 น. บรรยายแก่ นศ.พยาบาลศาสตร์ ปี 2 (เอกสารโรคหัวใจชิ้นที่ 5/7)
  • 2. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 ชัชวาล วงค์สารี. (2560). เอกสารประกอบการสอน (สไลด์) วิชา การพยาบาลผู้ใหญ่ 2 เรื่อง การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับโรคของหลอดเลือดโคโรนารี ที่ซับซ้อนใน ระยะเฉียบพลันเเละเรื้อรัง . บรรยาย 27 มิถุนายน 2560 ณ วิทยาลัยพยาบาลและ สุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. (อัดสำเนา). ! Wongsaree, C.(2017). Hand out of Adult Nursing II : Coronary Artery Diseases in Adult patient of Nursing Care patients ! with Critical ! ! illness,!emergency ! & ! chronic ! illness . Collage of N u r s i n g and Health. June 27, 2017, Lecture at Suansunundha Rajabhaj University. (Copy Print). ! ! Online : www.teacher.ssru.ac.th>chutchavarn_wo การนำเอกสารนี้ไปอ้างอิง 2 Internet Keywords; “…………” + pdf ให้อ่าน EVB ตั้งเเต่ระดับ 7 ขั้นไป ! ไทย : การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับโรคของหลอดเลือดโคโรนารี / โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน! Eng. : Concept of Nursing Care >>> Coronary Artery Diseases, Chest pain , Acute MI, CAG, PCI, CABG
  • 3. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 Online : www.teacher.ssru.ac.th>chutchavarn_wo การนำเอกสารนี้ไปอ้างอิง Internet Keywords; “…………” + pdf ให้อ่าน EVB ตั้งเเต่ระดับ 7 ขั้นไป ! ไทย : การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับโรคของหลอดเลือดโคโรนารี / โรคกล้าม เนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน! Eng. : Concept of Nursing Care >>> Coronary Artery Diseases, Chest pain , Acute MI, CAG, PCI, CABG
  • 4. 1 College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 3 3 6 TOPIC OUT LINE 4 5 ความหมายของ : ACS, Acute MI, Typical chest pain , Stable Angina & Unstable Angina, CAG, PCI, CABG พยาธิสรีรวิทยาการเกิดโรค ACS , AMI การประเมินสภาพ : ซักประวัติ ตรวจร่างกาย Lab. EKG ที่ เกี่ยวข้อง การพยาบาลที่ห้องฉุกเฉิน , สวนหัวใจ, การดูเเลต่อเนื่องเมื่อ ผู้ป่วยกลับบ้าน การพยาบาลผู้ป่วยที่รับการรักษาด้วยยา Streptokinase 7 การพยาบาลผู้ป่วยที่รับการรักษาด้วยการผ่าตัด CABG ระยะต่างๆ 2 สมรรถนะพยาบาลที่ดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจเเละหลอดเลือด
  • 5. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 อธิบายหลักการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับโรคของหลอดเลือด โคโรนารี ที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันและเรื้อรังโดยประยุกต์ใช้กระบวนการ พยาบาลเพื่อการดูแลทั้งผู้ป่วยเเละครอบครัวได้อย่างถูกต้องเเละเหมาะสมตามหลักกฏ หมายและจริยธรรมในวิชาชีพการพยาบาล/อธิบายผลลัพธ์ที่เกิดได้ บอก: บอกความหมาย / ลำดับการดูแล /! การพยาบาลที่เหมาะสมเเละที่ไม่เหมาะสมได้! นศ. จะปฏิบัติให้ ครอบคลุมทุกมิติ! ได้อย่างไร นศ. จะปฏิบัติบนพื้น ฐานของอะไร นศ. มีวิธีคิดในการ เพิ่มต้นทุนให้กับ ตนเองอย่างไร นศ. มีต้นทุนความรู้! /ทักษะเดิมเท่าไร บอก: วิธีการสร้างเสริมสุขภาพ-การป้องกันโรค/ หลักการช่วยเเพทย์รักษา/! หลักการฟื้นฟูสภาพ, กม. ที่เกี่ยวข้อง ! เราจะช่วยเขา ให้ดีขึ้นได้อย่างไร TOPIC OBJECTIVE : ต้องรู้ ควรจะ/น่าจะรู้ 4
  • 6. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 CAD Anatomy 5
  • 7. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 6
  • 8. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 7
  • 9. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 8
  • 10. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 Angina Pectoris เป็นกลุ่มอาการในระบบหัวใจและหลอดเลือดที่เก่ียว เนื่องจากภาวะกล้ามเน้ือหัวใจมีเลือดไปเลี้ยง ไม่เพียงพอกับ ความต้องการของกล้ามเน้ือหัวใจใน ขณะน้ัน จนทําให้เกิด ภาวะ myocardial ischemic สาเหตุที่พบบอย : Coronary atherosclerosis 9
  • 11. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 •เกิดจากการปริแตก (rupture) ของ vulnerable plaque •Platelets มาเกาะกลุ่มในบริเวณดังกล่าวอย่างมากและรวดเร็ว •รูของหลอดเลือดตีบแคบลงอย่างรวดเร็ว •เกิดภาวะ unstable angina หรือรุนแรงถึงขั้นกล้ามเนื้อหัวใจตาย (acute myocardial infarction) Acute coronary syndrome • เป็นกลุ่มอาการ angina ที่เกิดขึ้นไม่คงที่ • มีการเปลี่ยนแปลงลักษณะอาการ ระยะเวลาที่ปรากฏ อาการและความรุนแรง • อาจเกิดขึ้นในรายที่มีประวัติเป็น Stable angina มาก่อนหรือเพิ่งเริ่มเป็น • มักเกิดขึ้นขณะพัก • มักเกิดจาก coronary atherosclerosis Unstable angina 10
  • 12. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 Unstable angina มี Progression of atherosclerosis กรณีของ unstable angina นั้นจะพบการเพิ่มการเกาะกลุ่มของ เกล็ดเลือดและการเพิ่มการสร้าง thromboxane A2 ซึ่งเป็นสาร ที่มีฤทธิ์หดหลอดเลือดมากกว่ากรณี stable angina ขณะย่อยอาหารจะมีการเปลี่ยนแปลงทาง hemodynamic มีการเพิ่มการกระตุ้นsympathetic nervous system ทำให้ heart rate และblood pressure เพิ่มขึ้น ! ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจต้องการ O2 เพิ่มขึ้น Postprandial angina 11
  • 13. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 ! Vascular factor • Vasospasm • Coronary resistance
 • Atherosclerosis Cardiac factor
 - Cardiac dysrhythmias
 - Dilated cardiomyopathy - Valvular disease Hematologic factor - anemia - hypoxia DecreaseOxygenSupply ปัจจัยการเกิด Angina pectoris Increased heart rate - excercise
 - stress
 - cardiac dysrhythmias Increased myocardial wall tension - systolic pressure - ventricular volume - heart contraction DecreaseOxygenDemand 12
  • 14. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 หลักการซักประวัติในผู้ป่วย ACS 13
  • 15. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 ปัจจัยเสี่ยงของ CAD 1.เพศชาย 2.อายุที่เพิ่มขึ้น ชาย > 45 ปี หญิง> 55 ปี 3. พันธุกรรม ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ สามารถเปลี่ยนแปลงได้ • การสูบบุหรี่ • เบาหวาน • ภาวะความดันโลหิตสูง • ภาวะไขมันในเลือดสูง • ภาวะมี homocysteine สูงในเลือด • ภาวะอ้วน •ไม่ออกกำลังกาย •เครียด 14
  • 16. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 ขั้นตอนการเกิด Atherosclerosis Fatty steake Fibrous plaque Completed plaque 15
  • 17. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 Coronary atherosclerosis 16
  • 18. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 Typical Chest Pain = => CAD 1. เจ็บหน้าอกแบบ Angina pectoris 2. ใจสั่น เป็นลม หมดสติและเสียชีวิตเฉียบพลัน(Suddencardiacdeath) 3. หัวใจล้มเหลวน้ําท่วมปอดอย่างเฉียบพลัน(Acutepulmonaryedema) เจ็บเเบบเเน่นๆหนักๆใต้ลิ่นปี่ ร้าวไปเเขน หลัง กราม เจ็บได้ตลอดเวลาเเม้ใน ขณะพัก เจ็บนานต่อเนื่องอย่างน้อย 15-20 นาที อม NTG อาการเจ็บจะหายไป อาการร่วมพบ เหงื่อออก ใจสั่น เวียนศีรษะ จะเป็นลม หากพบ NTG ห่างกัน 5 นาที 2 เม็ดเเรกหากอาการไม่ดีขึ้น ! อมเม็ดที่ 3 ส่ง รพ. ด่วน 17
  • 19. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 ตำเเหน่ง Chest Pain และทิศทาง 18
  • 20. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 การตรวจวินิจฉัย 1. ซักประวัติที่จำเพาะกับ Angina pectoris 2. สัญญาณชีพ พบ BP ต่ำ ชีพจรเต้นผิดจังหวะ 3. ตรวจการทำงานของหัวใจพบ MR ฟังได้ และ S3 gallop, S4 หรือ summation gallop 4. Lung >>> Crepitation อื่นๆ >>> EKG , Cardiac Enzyme , CX-R , Echocardiogram 19
  • 21. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 Classification of ACS แบ่งเป็น 3 รูปแบบ ชนิด EKG Cardiac Enz. ไม่สัมพันธ์กับการออกเเรง/กิจกรรม อมยาใต้ลิ้นอาการเจ็บหน้าอกมักหายไป >> เป็นอาการเจ็บหน้าเเบบคงที่เรื้อรัง ซึ่งเกิดจากการขากเลือดเรื้อรัง และอาการจะไม่เป็นเเปลง ในระยะเวลา 2 เดือน Stable Angina 1. Unstable Angina Inverted T wave Negative Inverted T wave Positive3.NST elevation ACS พบ Q-wave 2. ST elevation ACS ST elevation Positiveอย่างน้อย 2 lead หากไม่ได้รับการเเก้ไขใน 30 นาที>>> STEMI 20
  • 22. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 21
  • 23. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 ST elevation lead V1 - V6 >> Anterior wall MI 22
  • 24. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 ST elevation lead II, III and AVF >> Inferior wall MI 23
  • 25. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 ST elevation lead I,aVL,V5-V6 >> Lateral wall MI 24
  • 26. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 การเปลี่ยนแปลง ของกล้ามเนื้อ หัวใจ หลัง chest pain 25
  • 27. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 ???? 26
  • 28. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 Cardiac Enzyme 27
  • 29. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 Cardiac Enzyme Normal Acute Cardiac Lab in S/P! Total CPK =26-192 CPK = 0 - 3.60 ! Trop T = 0 - 0.099 Borderline = 0.01-0.05 Abnormal > 0.05 28
  • 30. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 @ Anti - Ischemic drugs ประกอบด้วย Nitrates Isosorbride dinitrate, ISDN, Nitroglycerine, Isosorbride 5- Mononitrate Beta-blocker Atenolol, Propanolol, Metropolol, Bisoprolol, Carvidiol
 Calcium-blockers Amlodipine, Felodipine, Nifidipine, Diltiazem, Verapamil @ !Antiplatelets ! Aspirin , Ticlopidine, Clopidogrel @ Anticoagulants Unfractionated heparin, Low-molecular weight heparin (LMWH) ,Glycoprotein (GP) IIB/IIIa inhibitors 1. การรักษาด้วยยา ซึ่งเเบ่งเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ การรักษา 29
  • 31. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 ระยะการตายของกล้ามเนื้อหัวใจ แบ่งเป็น 3 ระยะ : ระยะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดหรือเลือดไปเลี้ยงกล้าม เนื้อหัวใจลดลง ทำให้เซลล์ขาดออกซิเจน , EKG >>> Inverted T wave 1 Ischemia 2 Injury : กล้ามเนื้อหัวใจบาดเจ็บ ได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ เซลล์ยังพอทำงานได้เเต่ไม่สมบูรณ์ EKG >>> ST elevation ACS , ถ้าเเก้ไขไม่ทันเวลา >>> STEMI 3 Infraction: ระยะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดมากจนมี การตายเกิดขึ้น EKG >>> Q wave 30
  • 32. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยการสวนหัวใจ (Cardiac Cathetelization Nursing Care : CAG, PCI) 31
  • 33. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 การรักษา (ต่อ) 2 CAG / PCI 32
  • 34. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 33
  • 35. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 34
  • 36. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 35
  • 37. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 CAG ! >> Stenosis 36
  • 38. PCI ! >> Balloon College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 37
  • 39. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 PCI ! >> Stent 38
  • 40. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 CAG! Triple Vessel! :TVD CABG 39
  • 41. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 ลักษณะปกติของ CAD 40
  • 42. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 41
  • 43. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 42
  • 44. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 43
  • 45. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 สมรรถนะพยาบาลที่ดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจเเละหลอดเลือด! เเละการพยาบาลผู้ป่วยกลุ่มโคโรนารี 44
  • 46. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 สมรรถนะพยาบาลที่ดูแลผู้ป่วย! โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน มี 5 องค์ประกอบ ดังนี้ (สำอางค์ ตันวิเชียร,2557) 1. ด้านการให้ความรู้เเก่ผู้ป่วยเเละญาติและการให้ความรู้เเก่ทีม พยาบาล 2. ด้านการประเมิน วินิจฉัยและการวางเเผนการพยาบาลเบื้องต้น 3. ด้านการใช้เทคโนโลยี งานวิจัย สร้างนวัตกรรมและการสื่อสาร อย่างมีจริยธรรม 4. ด้านการให้คำเเนะนำ ปฎิบัติการพยาบาลและเตรียมอุปกรณ์ ช่วยเหลือในระยะวิกฤต 5. ด้านการดูแลผู้ป่วยระยะต่อเนื่องหลังเปิดหลอดเลือดหัวใจสำเร็จ 45
  • 47. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 การพยาบาล ACS ที่ห้องฉุกเฉิน 1. ประเมินด้านร่างกาย เช่น รูปร่าง น้ำหนัก อาการเจ็บหน้าอก ความรู้สึก ตัว เเละวัญญาณชีพทุก 15 นาที 2. ซักประวัติเกี่ยวกับอาการเจ็บเเน่นหน้าอก การรักษาที่ได้รับมาเเล้ว/ใบ ส่งตัว 3. ดูเเลผู้ป่วยร่วมกับเเพทย์เพื่อเกิดความสุขสบายโดยใช้หลัก MONA = ASA(5) 1 tab เคี้ยว , Isordil (5 mg) 1 tab SL., Clopidogrel 600 mg รับประทาน, 3 Mo 3 mg IV ลดอาการเจ็บหน้าอก 4. ดูเเลให้นอนพักบนเตียนท่าศีรษะสูง 30 - 60 องศาเเละให้ออกซิเจน 5 LPM Monitor oxygen Situation Keep > 95% 5. ทำ EKG 12 lead CX-R, On IV + เก็บเลือดส่งตรวจหาค่า Cardiac Enzyme 6. ประสานงานเพื่อส่งผู้ป่วยขึ้นรักษาตัวที่ CCU 46
  • 48. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 การพยาบาล ACS ที่ ICCU 1. ประเมินอาการโดยรวม monitor clinical sign , V/S, O2 ผู้ป่วย อย่างต่อเนื่อง 2. กรณีที่ผู้ป่วยได้รับยา Thrombolytics จะต้องประเมิน check list และติดตามผู้ป่วยทุกระยะของการได้รับยา หากพบอาการผิดปกติ ต้องรายงานเเพทย์ทราบทันที 3. จำกัดกิจกรรมผู้ป่วยบนเตียง เเละช่วงกระทำกิจกรรมทดแทน 4. Retained F/C จำกัดน้ำดื่ม จำกัดความเค็มในอาหารเเละให้ยา ตามแผนการรักษา 5. บันทึกกิจกรรมทางการพยาบาลอย่างละเอียด 6. กรณีที่ต้องส่งผู้ป่วยำปสวนหัวใจควรเตรียมผู้ป่วยเหมือนการเตรียม ผ่าตัด ( เซ็นยินยอม+การเเพ้อาหารทะเล)! 47
  • 49. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 การพยาบาลในห้อง Cath-lab : ขณะสวนหัวใจ 1. ทำความสะอาดและโกนขนที่ขาหนีบทั้งสองข้าง หรือข้อมือด้วย 4%chlohexidine 2. ย้าย IV-line มาที่เเขนด้านซ้ายของผู้ป่วยเพราะข้างขวาเเพทย์จะเข้าทำ หัตถการ 3. นำผู้ป่วยขึ้นเตียง ติดสาย EKG Monotor / เตรียมเครื่อง Defribilator และ อุปกรณ์สำหรับช่วยฟื้นคืนชีพให้ครบ 4. Remark Pulse at dorsalis Pedis / Posterial tibial ทั้งสองข้างเพื่อประเมิน ได้ถูกต้องเเละรวดเร็ว 5. ประเมินสัญญาณชีพอย่างต่อเนื่องขณะเเพทย์ทำหัตถการต้องดู waveform ช่วยเเพทย์พร้อมเสริฟอุกรณ์ที่เเพทย์ต้องการใช้ที่ต้องเเกะจากกล่องที่มีรา คาเเพงด้วย Sterile technic 6. Record หัตการเเละ Complication + ปิดเเผลโดยตรึง Pressure เมื่อเสร็จ สิ้นการรักษา 48
  • 50. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 การดูแลต่อเนื่องที่ ICCU : Post PCI 1. ประเมินอาการทั่วไปของผู้ป่วย รับรายงานการทำหัตการ, Monitor EKG 2. วัดความดันโลหิต ชีพจร การหายใจทุก 15 นาที ให้ O2 และติดตาม oxygen Situation Keep > 95% 3. ประเมินอาการเจ็บเเน่นหน้าอก ให้นอนหงายราบ ใช้หมอนทรายทับบริเวณที่ เเทงเข็มทำหัตถการต่อเนื่อง 8 ชั่วโมง โดยผูกยึดเท้าเพื่อป้องกันการงอขา ของผู้ป่วยเเละประเมินเลือดที่อาจออกได้ 4. ประเมินการเเพ้สารทึบรังสี และชีพจรที่ตำเเหน่งต่ำกว่าที่ทำหัตการเป็นการ เฝ้าระวังการเกิด Embolism, obs. urine output / ให้ยาตามเเผนการรักษา 5. ในกรณีที่เเพทย์ยังไม่เอาสายสวนหลอดเลือดออกต้อง Dressing และปิดเเผ ลด้วยหลักปราศจากเชื้อ 6. ดูเเลความสุขสบายเเก่ผู้ป่วย เเละภาวะความดันโลหิตต่ำจากการกระตุ้น ประสาทคู่ที่ 9 ขณะทำหัตถการ เรียกว่า Vago Vagal Reflex 49
  • 51. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 การดูเเลต่อเนื่อง เมื่อผู้ป่วยกลับบ้าน พยาบาลเเนะนำตนเองก่อนให้ข้อมมูล ดังนี้ ข้อมูลพื้นฐาน ของโรค อธิบายโรค พยาธิสรีรภาพ อาการ สาเหตุ การรักษาที่ได้รับ อาการที่ หลงเหลืออยู่ ภาวะเเทรกซ้อนจากโรค ปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรค ค่ารักษา เป้าหมาย การรักษาพยาบาล ป้องกันการเกิดซ้ำ (มีโอกาสเกิดได้กับหลอดเลือดหัวใจเส้นอื่นและหลอด เลือดที่ใส่ Stent แล้วก็เกิดซ้ำได้) ป้องกันการเสียชีวิตเฉียบพลัน/บรรเทา ความรุนเเรงของอาการเจ็บหน้าอกที่เหลืออยู่ >>ลดปัจจัยเสี่ยง+ทานยา ยาที่ได้รับกลับบ้าน 1.ต้านเกล็ดเลือด Ex. Aspirin , Ticlopidine, Clopidogrel : ยานี้สำคัญช่วยป้องกันการเจ็บ หน้าอก และการตายเฉียบพลัน >>ห้ามหยุดยาเองก่อนปรึกษาเเพทย์ >> ระ ยะเเรกจะต้องรับประทานยาต้านเกล็ดเลือด 2 ชนิดไประยะเวลาหนึ่ง (ขึ้นกับ ชนิดของ Stent) ก่อนลดเหลือ 1 ชนิด S/E ของยาคือ UGIB เเนะนำเรื่องสังเกต อุจจาระดำ>>เเนะนำมาพบเเพทย์ทันทีที่พบห้ามหยุดยาก่อนพบเเพทย์ 2. Beta-blocker Ex. Atenolol, Propanolol, Metropolol, Bisoprolol, Carvidiol ยานี้ช่วยลด ความเครียดต่อหัวใจ ป้องกันเจ็บหน้าอกซ้ำ S/E ชีพจรช้าลง >>เปลี่ยนอริ บถอย่างช้าๆ บอกอาการหน้ามืด/ล้มต่อเเทย์ทุกครั้ง (นฤชา จิรกาลวสาน และคณะ,2559) 50
  • 52. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 การดูเเลต่อเนื่อง เมื่อผู้ป่วยกลับบ้าน 4. Nitrate 5. Statin 3. ACEI inhibitor Ex. Benazepril, Captopril, Enalapril, Ramipril, Trandolapril ยานี้ป้องกันการเกิดพังผืดเเละการขยายใหญ่ของกล้ามเนื้อหัวใจที่ตาย >>>เฝ้าระวังการเกิดความดันโลหิตต่ำ ,ไตทำงานผิดปกติ ,& Hyper K พยาบาลเเนะนำตนเองก่อนให้ข้อมมูล ดังนี้ Ex. Ismo, Nitroglycerin, Isodrdil, Nitroderm TTS, Oinment อมใต้ลิ้นเวลาเจ็บหน้าอก >>>อมใต้ลิ้นครั้งละ 1 เม็ด หากอาการไม่ดีขึ้นอม เม็ดที่ 2 (ห่างจากเม็ดเเรก 5 นาที) เเละอีก 5 นาทีผ่านไปอมเม็ดที่ 3 แล้วมา พบโรงพยาบาลทันทีพร้อมเเจ้งเเพทย์ว่าอมยาเเล้วไม่ดีขึ้น >>> ยาที่ออก ฤทธิ์ได้ดีผู้ป่วยจะรู้สึกซู่ซ่าใต้ลิ้น >>> S/E ความดันโลหิตต่ำ *** ห้ามใช้ยา กลุ่มที่เพิ่มสมรรถภาพทางเพศ เช่น viagra, Cialis, Levitra เพราะจะทำให้ ความดันโลหิตต่ำอย่างรุนเเรง Ex. Lipitor, Lescol,Mevacor,Crestor,Zocor,Livalo ยานี้ใช้ลดไขมันชนิด LDL ป้องกันการแตกของ Plaque สามารถป้องกัน การเกิดโรคซ้ำได้อีก (นฤชา จิรกาลวสาน และคณะ,2559) 51
  • 53. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 การดูเเลต่อเนื่อง เมื่อผู้ป่วยกลับบ้าน เน้นกล้ามเนื้อมัดใหญ่เเละออกแบบเอโรบิค (ให้ HR ลดลง ช่วยลดอัตรา เสียชีวิต) เช่น เดินเร็ว วิ่งจ๊อกกิ้ง ว่ายน้ำ ถีบจักยาน นาน 30 นาที 3-5 ครั้ง/สัปดาห์ โดยให้มีช่วง warm up & Cool down ช่วงละ 5 นาที พยาบาลเเนะนำตนเองก่อนให้ข้อมมูล ดังนี้ เช่น ควบคุมความดันโลหิต เบาหวาน ไขมันในเลือด หยุดสูบ บุหรี่ เลี่ยงแอลกอฮอล์ บริโภคผักผลไม้เพิ่มขึ้น ลดอาหารมัน ลดน้ำหนัก ลดพุง (เส้นรอบเอวที่ไม่อ้วน = ส่วนสูง/2) งดมีเพศสัมพันธ์ใน 2 สัปดาห์แรกหลังออกจากโรงพยาบาล (อัตรา การเกิดโรคซ้ำสูงมาก) >>> มากกว่า 6 สัปดาห์ ความเสี่ยงจะลด ลง เเต่ทำ Stress test ก่อน เช่น ขึ้นบันได 3 ชั้นตึกไม่เจ็บหน้าอก หรือเดินเเนวราบได้มากกว่า 500 เมตร ไม่เจ็บหน้าอก ===>> มี เพศสัมพันธ์ได้ คำแนะนำอื่น ออกกำลังกาย ลด ! atharosclerosis เพศสัมพันธ์ (นฤชา จิรกาลวสาน และคณะ,2559) 52
  • 54. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 การดูเเลต่อเนื่อง เมื่อผู้ป่วยกลับบ้าน 52 # ต้องควบคุมค่า Lab. ให้ได้ตามเกณฑ์รักษา ดังนี้ 1. Cholesterol < 150 mg/dl! 2. LDL < 70 mg/dl! 3. HDL Male > 40 mg/dl! ! ! ! ! Female > 50 mg/dl! 4. TG < 150 mg/dl # ต้องควบคุมค่า BP ให้ได้ตามเกณฑ์รักษา ดังนี้ BP < 140/90 mmHg (2013 ESH/ESC Guidelines)(2016 RCPT/ Guidelines)
  • 55. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยา Streptokinase 53
  • 56. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 การเตรียมยา Streptokinase plasminogen activator complex 1,500,000 IU (1 vial) หลังจากเจือจางยาสามารถเก็บ ได้นาน 24 ชั่วโมงในตู้เย็น 8 ชั่วโมงที่อุณหภูมิไม่เกิน 25o C 1.5 ล้านยูนิต ผสมใน 5% DW or 0.9% NSS 100 cc IV drip in 30-60 min(ระยะแรกเริ่มใช้ช้าๆ ก่อน) ขณะผสมยาค่อยๆฉีด sterile water เบาๆที่ข้างขวด ไม่ฉีดลงไปบนผงยา(เพราะจะทำให้เกิดฟองอากาศ จำนวนมาก) ห้ามเขย่าขวดยา ให้หมุนเบาๆในมือ ให้ยาทาง IV หรือ Intracoronary เท่านั้น (ไม่ควรผสมกับยาอื่น) ต้องมั่นใจว่าเป็น AMI จริง : EKG 12 lead + History Talking “PQRST” Precipitation = ปัจจัยกระตุ้น Quality = ลักษณะการเจ็บ Refer pain Severily = ความรุนเเรง Time =ระยะเวลาที่เริ่มเจ็บ 54
  • 57. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 ข้อบ่งชี้ในการให้ยา Streptokinase มีอาการเจ็บหน้าอกแบบ Angina Pectoris เเละได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรค กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด ST-Segment elevation >>> ให้ได้รับ ภายใน 12 ชั่วโมงหลังเกิด Angina Pectoris และผู้ป่วยไม่มีข้อห้ามใช้ยานี้ ห้าให้ Streptokinase ซ้ำในรายที่เคยได้รับยานี้มาก่อน โดยให้เลือกยาละลายลิ่มเลือด ชนิดอื่นเเละรีบส่งไปยังสถานพยาบาลที่พร้อม ควรให้สารน้ำเเก่ผู้ป่วยอย่างเพียงพอเเละพิจารณาร่วมหยุดยาหากพบความดันโลหิตต่ำ ชั่วคราว / หรือพิจารณาให้ยากระตุ้นความดันเเละให้ยา Steptokinase ต่อ พิจารณาส่งต่อเพื่อขยายหลอดเลือดหัวใจปฐมภูมิกรณีพบภาวะหัวใจวายร่วมด้วย ข้อควรระวังในการให้ยา Streptokinase 55
  • 58. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 บุคคลต่อไปนี้ห้ามให้ยา Streptokinase Severe, uncontrolled hypertension (BP > 185/110 mmHg), history of severe chronic hypertension Known bleeding disorder or use of anticoagulant Prolong CPR with evidence of thoracic trauma Lumbar puncture within 7 days Recent arterial puncture at non-compressible site Pregnancy Terminal illness Jaundice, hepatitis, kidney failure For streptokinase therapy, allergy or prior exposure to SK ผู้ป่วยและญาติปฏิเสธ Massive Bleeding / Hypotension / VT , VF สิ่งที่ต้องรายงานเเพทย์ทันที 56
  • 59. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยยา Streptokinase 1. ซักประวัติถึงข้อห้ามเเละข้อควรระวังในการใช้ยา 2. เเพทย์อธิบายอันตรายที่จะเกิดขึ้นจากการใช้ยานี้ในการรักษาเเละ ประโยชน์จากยานี้ >>> ผู้ป่วย + ญาติเซ็นใบยินยอมรับยานี้ 3. เลือดติดตามค่า Cardio Enzyme ก่อนการให้ยา 4. เปิดหลอดเลือดเเยกสำหรับยานี้โดยเฉพาะ/ Monitor EKG ขณะให้ยา 5. เมื่อเริ่มให้ยาต้องวัด BP ทุก 15 นาที เพราะผู้ป่วยอาจเกิด Hypotension ได้ 6. เฝ้าระวัง Bleeding Tendency ทุก 15 นาทีจนกว่ายาจะหมด เเละ ติดตามต่อเนื่องจนครบ 36 ชั่วโมงหลังการให้ยา 7. ประเมิน EKG นาทีที่ 30 60 เเละ 90 นับจากเริ่มให้ยา (ยาจะเริ่มเปิด หลอดเลือดได้นาทีที่ 30 เเละจะเปิดได้เพิ่มขึ้นเรื่อยๆในเวลาที่ผ่านไป) 8. Bleeding precaution care เช่น งด IM 9. หากพบอาการเเพ้เฉียบพลัน >>> รายงานเเพทย์และให้ Dexa IV Stat 57
  • 60. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 3. รักษาด้วยยา Streptokinase 10. บันทึกสัญญาณชีพ อาการที่เปลี่ยนเเปลง เเละจำนวนยาที่ได้ รับ จริงหากจำเป็นต้องหยุดยา 11. ประเมินอาการปวดศีรษะ หลัง กล้ามเนื้อ อาการหนาวสั่น ซึ่ง อาจพบและเเก้ไข ได้ด้วยการให้ยา paracetamol 12. ติดตามค่า Lab. ต่างๆเเละผลสำเร็จจากการให้ยา อาการเจ็บหน้าอกหายเร็ว ST resolution in 120 mins VT, VF, Bradycardia, Heart block, Hypotension Cardiac enzyme CK-MB ขึ้นสูงสุดประมาณ 12 ชั่วโมงหลัง เจ็บหน้าอก ถ้าไม่มีreperfusion จะขึ้นสูงสุดที่ 24-36 ชั่วโมง Reperfusion in STEMI 58
  • 61. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 Goal N/C: บรรเทาอาการเจ็บแน่นหน้าอก สังเกตและประเมินอาการเจ็บหน้าอก, วัดV/S ดูแลให้ผู้ป่วยได้พักอย่างเต็มที่ (absolute bed rest) ดูแลให้ได้รับออกซิเจน Cannula 5 LPM keep SatO2 > 90 % ถ้าผู้ป่วยมีอาการเจ็บแน่นหน้าอกดูแลให้ผู้ป่วยอมยา Isordil (5mg) 1 เม็ดใต้ ลิ้นทันที บันทึกและประเมินอาการเจ็บหน้าอกทุก 5 นาที หลังอมยาใต้ลิ้น ถ้ายังไม่หาย ให้อมซ้ำได้อีกครั้งละ 1 เม็ด ไม่เกิน 2 ครั้ง และรายงานแพทย์ทราบ On EKG Monitor เพื่อติดตามการทำงานของหัวใจอย่างใกล้ชิด ดูแลให้ได้รับยา GTN (Glyceryl trinitrate) ตามแผนการรักษาอย่าง เคร่งครัด 59
  • 62. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 คงไว้ของระบบไหลเวียนเลือดที่เพียงพอ ให้ได้รับยา thrombolytic agent/antiplatelet agent /anticoagulants ตามPx. ติดตามภาวะเลือดออกผิดปกติก่อนและหลังให้ยา ดูแลให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนนอนหลับอย่างเพียงพอ ลดกิจกรรมและการออกแรงที่จะเป็นอันตรายต่อหัวใจ หลีกเลี่ยงการทำกิจกรรมการพยาบาลหลายๆอย่างพร้อมกัน ลดปัจจัยที่เป็นสาเหตุส่งเสริมต่อการเพิ่มการใช้ออกซิเจนของหัวใจ ดูแลให้ผู้ป่วยได้ยาและสารน้ำที่เหมาะสมกับสมรรถภาพของหัวใจ ส่งเสริมให้ผู้ป่วยได้มีการขับถ่ายอุจจาระตามปกติ ผู้ป่วยที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน ไม่มีอาการเจ็บอกหรือภาวะหัวใจวายอยู่ ดูแลได้รับ ออกซิเจนเพียงพอในช่วง 6 ชั่วโมงแรก ยกเว้นผู้ป่วยที่ยังมีอาการเจ็บอกหรือภาวะ หัวใจวายอยู่ keep Sat O2 ≈ 95% 60
  • 63. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 ป้องกันและลดอันตรายจากภาวะแทรกซ้อน เฝ้าระวังและสังเกตอาการภาวะheart failure, Acute pulmonary edema, cardiac arrhythmia สังเกตและบันทึกสัญญาณชีพอย่างใกล้ชิดโดยเฉพาะช่วง 24-48 ชั่วโมงแรก ติดตามการทำงานของการเต้นของหัวใจอย่างใกล้ชิด โดย on EKG monitor ถ้ามี PVC มากกว่า 6 ตัว/นาที หรือ PVCติดต่อกัน รายงานแพทย์ทราบ จัดเตรียมยาต้านการเต้นของหัวใจผิดจังหวะ ได้แก่ amiodarone (cordarone) 2% xylocain หรือยาที่ใช้ในภาวะ heart block ให้พร้อมใช้ จัดเตรียมเครื่อง DC shock /pacemaker ให้พร้อมใช้ สังเกตและจดบันทึกลักษณะและปริมาณของปัสสาวะ และปริมาณน้ำเข้า น้ำออก อย่างน้อยทุก 8 ชั่วโมง ดูแลให้ได้รับยากระตุ้นการทำงานของหัวใจ ได้แก่ยา dopamine , dobutamine ตามแผนการรักษา และสังเกตภาวะแทรกซ้อนจากยา 61
  • 64. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 บรรเทาความกลัวและความวิตกกังวล สร้างสัมพันธ์ภาพที่ดีกับผู้ป่วย/ญาติ อธิบายเหตุผล/ความจำเป็นในการรักษาพยาบาล เช่น การติด EKG Monitor การ จำกัดกิจกรรม แนะนำวิธีสื่อสารกับผู้ป่วย (กรณีใส่ท่อหลอดลมคอ) ดูแลช่วยเหลือในกิจกรรมต่างๆ เช่น ป้อนอาหาร/เช็ดตัว/การขับถ่าย จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบ ลดสิ่งกระตุ้นต่างๆ ดูแลให้ได้รับยากล่อมประสาท ตามแผนการรักษา แนะนำญาติมาเยี่ยมเพื่อให้กำลังใจ และมีส่วนร่วมในการรักษาพยาบาล ให้การพยาบาล โดยคำนึงถึงความเป็นบุคคลของผู้ป่วย 62
  • 65. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดต่อหลอดเลือด เลี้ยงหัวใจหรือการผ่าตัดบายพาส (Coronary Artery Bypass Graft : CABG) 4 63
  • 66. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 ข้อบ่งชี้ในการรักษาด้วย  CABG 64
  • 67. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 65
  • 68. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 Conventional CABG Operation Sternotomy • Equivalent target vessel access • Multivessel revascularization Elimination of Cardiopulmonary Bypass • No aortic cannulation • No cross clamp • Reduced inflammatory response1 • Reduced cerebral emboli2 No Cardioplegia • “Beating-heart” bypass Pyramid Positioner™ Universal Stabilizer Arm Model IIT ™ USA IIT and Synergy II Stabilizer Mounted on Standard Chest Retractor OPVAC® Synergy II ™ Stabilizer 66
  • 69. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 67
  • 70. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 68
  • 71. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 69
  • 72. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 70
  • 73. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 การพยาบาลผู้ป่วยที่รับการ่ผ่าตัด CABG - แนะนำให้งดการสูบบุหรี่อย่างน้อย 2 สัปดาห์ ก่อนผ่าตัดพร้อมฝึกการริหารปอดงด- -ให้รับประทานยา ASA , Plavix อย่างน้อย 7 วันก่อนผ่าตัด - อธิบายผู้ป่วยเเละตอบคำถามให้ข้อมูลเเก่ผู้ป่วยให้ครบถ้วน ก่อนให้ผู้ป่วยเเละญาติ เซนยินยอมการรักษา - นั ด ผู้ ป่ ว ย น อ น โ ร ง พยาบาลก่อนการผ่าตัด 1 วัน เพื่อจะได้เจาะ เลือดสำรองให้พร้อม ใช้เมื่อเข้าห้องผ่าตัด! - เตรียมผล Lab, ผล CXR, EKG และอื่นๆที่ ต้องใช้ให้พร้อม 71
  • 74. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 การพยาบาลผู้ป่วยที่รับการ่ผ่าตัด CABG 72
  • 75. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 การพยาบาลผู้ป่วยที่รับการผ่าตัด CABG เตรียม อุปกรณ์ไว้ให้ พร้อม >> อาจมีอาการ วิกฤตที่ต้อง ใช้ 73
  • 76. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 • เป็นการดูแลต่อ เนื่องจากหอผู้ป่วยหนัก • การวางแผนจำหน่าย • เพื่อการดูแลต่อเนื่อง Post - Op ! CABG Nursing Care • เมื่อรับผู้ป่วยมาถึงหอผู้ป่วยหนัก (CVT) – ตรวจดูแผลผ่าตัด/ท่อระบายต่างๆ – ติดตามประเมินค่าสัญญาณชีพต่างๆอย่างต่อเนื่อง • ประเมิน patameter ตอนเริ่มเเรกทุก 15 -30 นาที เและเมื่ออาการเริ่มคงที่ให้ประเมินผู้ป่วยอย่างน้อย ทุก 1-2 ชั่วโมง – ประเมิน ECG+Ventilator Monitoring – วัดความดันทาง Arterial Line – Pulse Oximetry – Central Venous Pressure – การวัดอุณหภูมิร่างกาย – ตวงปัสสาวะ การพยาบาลผู้ป่วยที่รับการผ่าตัด CABG 74
  • 77. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 • การหายใจผิดปกติ • การเสียเลือด: แผล/ภายใน • การเต้นของหัวใจผิดปกติ • ความดันโลหิตสูง/ต่ำ • อุณหภูมิกาย • ปวด • ความไม่สมดุลของสารน้ำอิ เล็กโตรไลต์ และสารอาหาร • อาการผิดปกติที่ต้องเฝ้าระวัง • การติดเชื้อแผลผ่าตัด • การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ • มีน้ำในเยื่อหุ้มหัวใจ, มีน้ำใน เยื่อหุ้มปอด • เกิดการติดเชื้อ (Infection) 75
  • 78. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 การปฏิบัติตัวเมื่อกลับบ้าน – ให้ทำกิจกรรมเท่ากับขณะอยู่ในโรงพยาบาล และรักษาระดับกิจกรรมที่ทำนี้ไปอีก 2 สัปดาห์ – หลีกเลี่ยงการยกของหนักเกิน 5 กิโลกรัม งดการแบะหน้าอกในช่วงที่รอการติด ของกระดูกหน้าอก – การออกกำลังกาย ด้วยการเริ่มเดินช้าๆค่อยๆ เพิ่มระยะทางและเดินให้เร็วขึ้น ควร ทำอย่างสม่ำเสมอ • การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกาย • Wk 1: เดินที่ราบ วันละ 5-10 นาที ด้วยความเร็วปกติ วันละ2-3 ครั้ง • Wk 2-3 เดินที่ราบ วันละ 10-15นาที ด้วยความเร็วปกติ วันละ 2-3 ครั้ง • Wk 4 : เดินที่ราบ วันละ 20-30 นาที ด้วยความเร็วปกติ วันละ 1 ครั้ง 76
  • 79. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 การปฏิบัติตัวเมื่อกลับบ้าน (ต่อ) กิจกรรมทางเพศ สามารถมีกิจกรรมทางเพศได้ – เริ่มมีได้ประมาณ 4-6 สัปดาห์หลังผ่าตัด หรือ – เมื่อร่างกายมีความพร้อม การทดสอบว่าร่างกายมีความพร้อม – ให้ขึ้นบันไดทีละ 2 ชั้นตึก หากไม่มีอาการ เหนื่อย – >>>ถือว่าร่างกายมีความพร้อม ** หลีกเลี่ยงท่าที่กระทบกระเทือนต่อกระดูกอก • การดูแลแผลผ่าตัด: สังเกตความ ผิดปกติ – แผลบวมแดงร้อน – เจ็บตึงแผลเพิ่มขึ้น – มีเลือดหรือหนองออกจากแผล – ***หากพบอาการนี้ควรรีบมาพบ แพทย์ • การดูแลแผลผ่าตัด – ทำความสะอาดแผลด้วยน้ำสบู่ อ่อนๆซับให้แห้ง หากต้องการใช้ยา เพื่อป้องกันแผลเป็น ควรปรึกษา แพทย์ 77
  • 80. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 การปฏิบัติตัวเมื่อกลับบ้าน (ต่อ) • ชั่งน้ำหนัก – บันทึกน้ำหนักทุกวัน – เวลาตรงกันและก่อนรับประทานอาหาร • ถ้าน้ำหนักเพิ่มมากกว่า 1 กิโลกรัม + • มีอาการบวมขึ้นภายวันเดียวกันให้รีบมา พบแพทย์ • การพักผ่อนให้เพียงพอ • การรับประทานยาตามเเเผนการรักษา ระวังผลข้างเคียงของยา • การมาพบแพทย์ ตามนัด • อาการผิดปกติที่ควรรีบ • มาพบแพทย์ทันที • ใจสั่น เป็นลม มึนงง • เหงื่อออกมากกว่าปกติ • คลำชีพจร พบจังหวะเปลี่ยนไป ไม่สม่ำเสมอ • ปวดแผลมากขึ้น • เจ็บหน้าอก เจ็บร้าวไปที่ไหล่ แขน คอ • ปวดบวมขาที่เลาะเส้นเลือดไปใช้ • แผลบวม แดงร้อน ที่เเผล 78
  • 81. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 ! ! นฤชา จิรกาลวสานเเละคณะ. (2559). BEAT THE OSCE. ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะเเพทย์ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สำอางค์ ตันวิเชียร.().สมรรถนะพยาบาลวิชาชีพที่ดูเเลผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันใน โรงพยาบาลตติยภูมิแห่งหนึ่ง จังหวัดสมุทรสาคร. วิทยานิพนธ์ พย. ม. การบริหารการ พยาบาล : บัณฑิติทยาลัย มหาวิทยาลัยคริสเตียน นครปฐม. วิจิตรา กุสุมภ์และคณะ. (2556). การพยาบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤตแบบองค์รวม. กทม:! สหประชาพานิชย์.! ! ! ! Mike, M. &Traccy M., (2011). Caring for the seriously ill patient. 2nd USA: Hodder and !! ! ! ! ! Stoughton Ltd.! Marianne, C., & Suzanne, M. B., (2010). AACN essentials of critical care nursing. 2nd USA: The McGrow-hill companies. ! ! Meg, G. & Judith, L. M., (2011). Nursing care plans diagnoses, interrentions, and outcomes. ! ! ! 7th USA: evolve.! ! Smelzer,SC,Bare,BG.,Hinkle,KH. (2013.). Brunner&Suddarth’s Textbook of Medical-Surgical ! ! Nursing.12 ed. Philadelphia : Lippincott Williams&Wilkins.! เอกสารอ้างอิง/สืบค้นเพิ่มเติม 379
  • 82. Line ID : nutt-chut / ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) / โทร 095-8499-681 College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University