SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 55
Baixar para ler offline
ความเป็นมา
 โฮเทลลิ่ง ( Hotelling ) เป็นผู้เสนอแนวคิดเรื่องการวิเคราะห์
สหสัมพันธ์คาโนนิคอลเผยแพร่ในบทความปี 1935-1936
 บาร์เลทท์ ( Bartlett : 1941,1948 ) ได้อธิบายว่าการวิเคราะห์
สหสัมพันธ์คาโนนิคอลคือ External Factor Analysis ทั้งที่
คาอธิบายที่ถูกต้องกว่าควรเป็น External Component Analysis
 ฮอร์ท ( Horst : 1961) ช่วยให้เทคนิคนี้แพร่หลายออกไปมาก
 เมอริดิท ( Meredith : 1964 ) เป็นผู้พิจารณาถึงผลกระทบของ
ความคลาดเคลื่อนในการวัดตัวแปรที่มีต่อการประมาณ
ค่าพารามิเตอร์ ( Parameter )
 แมคคีล ( Mckeon : 1965) ได้จัดทา Overview Canonical
Analysis ที่ให้ประโยชน์อย่างมากและได้ทาการศึกษาถึง
ความสัมพันธ์ระหว่างการวิเคราะห์ Canonical Correlation
Analysis, Multiple Analysis of Variance Analysis’s
Classification และ The Scalling of Categories Data
 เกทเทนริง ( Gettenring : 1971 ) ได้พัฒนาวิธีการและเปรียบเทียบ
การนาการวิเคราะห์สหสัมพันธ์คาโนนิคอล ไปใช้กับตัวแปร
ตั้งแต่ 3 ชุดขึ้นไป และได้เสนอหลักเกณฑ์ที่ใช้ในการคานวณค่า
สหสัมพันธ์และสัมประสิทธิ์ไว้อีกแบบด้วย
คาศัพท์ที่ควรรู้เกี่ยวกับสหสัมพันธ์คาโนนิคอล
สหสัมพันธ์คาโนนิคอล (Canonical Correlation : ) คือ
ค่าแสดงความสัมพันธ์ของตัวแปรสองกลุ่ม โดยจะมีค่าหลายตัวแต่
ละตัวจะแสดงความสัมพันธ์ของตัวแปรคาโนนิคอลแต่ละคู่จานวน
ของสหสัมพันธ์จะเท่ากับจานวนตัวแปรของกลุ่มที่น้อยกว่า
ตัวแปรคาโนนิคอล ( Canonical Variate) คือตัวแปร
ประกอบ( Composit Variable ) ที่เกิดจากความสัมพันธ์เชิงเส้น
ของตัวแปร X เรียกว่าตัวแปรอิสระและ Y จะเรียกว่าตัวแปรตาม
ในการบรรยายนี้จะกาหนดให้เป็นตัวแปร U และ W
ค่าน้าหนักความสาคัญคาโนนิคอล หรือสัมประสิทธ์คาโนนิคอล
(Cannonical Welghts, Fucntion Coefficient ) หมายถึงค่า
ตัวเลขหรือน้าหนักของชุดตัวแปรชุด X หรือตัวแปรชุด Y ในที่นี้คือ
และ การตีความเหมือน β ในการ
วิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ซึ่งเป็นค่าที่แสดงว่าตัวแปร X หรือตัว
แปร Y มีความสาคัญในการอธิบายตัวแปรคาโนนิคอลเท่าใด เพื่อ
ควบคุมตัวแปรอื่นๆ ในชุดตัวแปร
Eigenvalue คือค่าความแปรปรวนของตัวแปร Y ซึ่งเกิดจาก
การแปลงข้อมูลของตัวแปร X สามารถใช้แสดงสัดส่วนของความ
แปรปรวนร่วมกันระหว่างตัวแปร
หลักการสาคัญ
สหสัมพันธ์คาโนนิคอล เป็นการสร้างตัวแปรคาโนนิคอล
ขึ้นมาโดยให้ตัวแปรคาโนนิคอล เป็นฟังก์ชั่นเชิงเส้นของตัวแปร
เดิมในแต่ละกลุ่มแล้วคานวณหาค่าสหสัมพันธ์คาโนนิคอล
ระหว่างตัวแปรคาโนนิคอล และเรียกค่าสหสัมพันธ์ระหว่างตัว
แปรคาโนนิคอล นั้นว่าสหสัมพันธ์คาโนนิคอล (Canonical
Correlation )
รูปแบบการวัดสหสัมพันธ์คาโนนิคอล
Canonical
Variate for
the Xs
x1
x2
xn
Canonical
Variate for
the Ys
y1
y2
yn
U W
X1
X2
Y1
Y2
เมื่อ U และW คือ ตัวแปรคาโนนิคอล
a และ β คือ น้าหนักที่เหมาะสมของตัวแปร X และ Y
ในการรวมตัวเป็นตัว แปรคาโนนิคอล
คือ สหสัมพันธ์คาโนนิคอล
U1
W2U2
W1
X1
X2
X1
X2
Y1
Y2
Y1
Y2
X3
Y2
Y2
X3
จานวนตัวแปรและค่าสหสัมพันธ์คาโนนิคอล
Rc
Rc
จุดมุ่งหมายของการวิเคราะห์ Canonical correlation
1. ตัวแปรคาโนนิคอล (Canonical variates) ที่เกิดจากกลุ่มตัวแปร
เดิม (X,Y) มีการผสมตัวแปรด้วยน้าหนักเป็นเท่าใดและมี
ความสัมพันธ์อย่างไร
2. ตัวแปรคาโนนิคอล ในแต่ละชุดมีค่าสหสัมพันธ์ (Canonical
correlation) เป็นเท่าใดมีนัยสาคัญทางสถิติหรือไม่
3. หาสหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเดิมกับตัวแปรคาโนนิคอล
(Canonical loadings) หรือหาสหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรในแต่
ละชุดข้ามไปยังตัวแปรคาโนนิคอล ที่สร้างจากตัวแปรเดิมอีก
ชุดหนึ่ง ( Cross loadings)
จุดมุ่งหมายของการวิเคราะห์ Canonical correlation
4. ใช้ค่าสหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเดิมกับ Canonical loadings และ
สัมประสิทธิ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน ( Standardized coefficient)
ตีความหมายตัวแปรคาโนนิคอลว่าแต่ละตัวต้องการมุ่งวัดลักษณะ
อะไร
5. หาค่า Redundancy ซึ่งเป็นการวิเคราะห์ที่แสดงให้เห็นถึงสัดส่วน
ปริมาณความแปรปรวนของตัวแปรเดิมในแต่ละชุดซึ่งอธิบายได้
ด้วยตัวแปรคาโนนิคอลแต่ละตัว
รูปแบบพื้นฐานการวิเคราะห์สหสัมพันธ์คาโนนิคอล
จากการรวบรวมข้อมูลที่เป็นค่าของตัวแปร ต่างๆทั้งตัวแปร
อิสระซึ่งมี p ตัว และตัวแปรตาม ซึ่งมี q ตัว ค่าเหล่านั้นเป็นค่าที่ได้
จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด n คน เรียกว่าข้อมูลเบื้องต้น นาข้อมูล
เบื้องต้นดังกล่าวมาจัดให้อยู่เมตริกซ์ดังนี้
สมาชิกกลุ่มตัวอย่าง ตัวแปรอิสระ
(X)
ตัวแปรตาม
(Y)
1
2
. . .
. . .
N
Within-set (X)
correlation
1 2 pX X X 1 2 qYY Y
Between-set (X,Y)
correlation
Within-set (Y) correlation
11 1 11 1
1 1
11 1 11 1
1 1
p q
p pp p pq
p q
q qp q qq
r r r r
r r r r
r r r r
r r r r
 
 
 
   
   
   
 
 
  
T
A C
C B
 
     
 
 
     
 
เมตริกซ์ สหสัมพันธ์ R
ตัวอย่างการวิเคราะห์สหสัมพันธ์คาโนนิคอล
ผู้วิจัยต้องการค้นหารูปแบบการเต้นโดยเปรียบเทียบจาก
ความสัมพันธ์ระหว่างการเคลื่อนไหวร่างกายส่วนบน กับการ
เคลื่อนไหวร่างกายส่วนล่างในรูปแบบ Shimmies and Circles โดยเก็บ
ข้อมูลจากนักเต้นจานวน 8 คน ได้ข้อมูลดังตารางที่ 12.1
การวิเคราะห์กาหนดให้เป็นสองกลุ่มดังนี้
กลุ่มที่ 1 TS (Top shimmies) กับ TC ( Top circles )
กลุ่มที่ 2 BS (Bottom shimmies) กับ BC ( Bottom circles)
TABLE 12.1 Small sample of Hypothetical Data for Illustration
of canonical Correlation Analysis
ID TS TC BS BC
1 1.0 1.0 1.0 1.0
2 7.0 1.0 7.0 1.0
3 4.6 5.6 7.0 7.0
4 1.0 6.6 1.0 5.9
5 7.0 4.9 7.0 2.9
6 7.0 7.0 6.4 3.8
7 7.0 1.0 7.0 1.0
8 7.0 1.0 2.4 1.0
ขั้นตอนการคานวณสหสัมพันธ์คาโนนิคอล
1. หาค่าสหสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มตัวแปร
2. หาค่าไอเก็นจาก Correlation Matrix
3. หาค่าสหสัมพันธ์คาโนนิคอลจากค่าไอเก็น
4. ทดสอบนัยสาคัญทางสถิติของสหสัมพันธ์คาโนนิคอล
5. หาค่าน้าหนักความสาคัญคาโนนิคอล
6. หาสัดส่วนของความแปรปรวนสกัด
ขั้นที่ 1 หาCorrelations
TS TC BS BC
TS Pearson Correlation 1 -.161 .758* -.341
Sig.(2-tailed) .703 .029 .409
Sumof Squares and Cross-products 51.840 -8.460 41.040 -15.720
Covariance 7.406 -1.209 5.863 -2.246
N 8 8 8 8
TC Pearson Correlation -.161 1 .110 .857**
Sig.(2-tailed) .703 .796 .007
Sumof Squares and Cross-products -8.460 53.229 6.015 40.055
Covariance -1.209 7.604 .859 5.722
N 8 8 8 8
BS Pearson Correlation .758* .110 1 .051
Sig.(2-tailed) .029 .796 .904
Sumof Squares and Cross-products 41.040 6.015 56.540 2.460
Covariance 5.863 .859 8.077 .351
N 8 8 8 8
BC Pearson Correlation -.341 .857** .051 1
Sig.(2-tailed) .409 .007 .904
Sumof Squares and Cross-products -15.720 40.055 2.460 41.040
Covariance -2.246 5.722 .351 5.863
N 8 8 8 8
*.Correlation is significant at the 0.05level (2-tailed).
**.Correlation is significant at the 0.01 level(2-tailed).
Run MATRIX procedure:
Correlations for Set-1
TS TC
TS 1.0000 -.1611
TC -.1611 1.0000
Correlations for Set-2
BS BC
BS 1.0000 .0511
BC .0511 1.0000
Correlations Between Set-1 and Set-2
BS BC
TS .7580 -.3408
TC .1096 .8570
Table 12.2 correlation matrices for the Data Set in Table 12.1
TS TC BS BC
TS 1.000 -.161 .758 -.341
TC -.161 1.000 .110 .857
BS .758 .110 1.000 .051
BC -.341 .857 .051 1.000
ขั้นที่ 2 การคานวณค่าไอเก็น
R =
= =
= =
= = =
จากสมการ
จากสมการลักษณะเฉพาะ
หรือ
หาค่าไอเก็นจากสูตร
จะได้
ดังนั้นจะได้ค่าไอเก็น ดังนี้
ขั้นที่3 การหาค่าสหสัมพันธ์คาโนนิคอล ( )
เนื่องจาก
หรือ
= .91414
= .76247
ขั้นที่ 4 การตรวจสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรคาโนนิคอล
 เพื่อตรวจสอบความสัมพันธ์เชิงเส้นตรงอย่างมีนัยสาคัญ
ระหว่างตัวแปรสองชุดเหล่านั้นหรือไม่
 ถ้าพบว่ามีนัยสาคัญก็จะทดสอบเพื่อตัดสินใจว่ามี
ความสัมพันธ์คาโนนิคอลค่าใดบ้างที่มีนัยสาคัญนั่นคือมี
กลุ่มตัวแปรอิสระและกลุ่มตัวแปรตามกี่คู่ที่มีนัยสาคัญ
ลาดับขั้นการทดสอบ
1.ตั้งสมมติฐาน
2. ใช้สถิติ Bartlett’s Chi- Square Approximation for Wilks’s
ทดสอบสมมติฐาน
= -(4.5) (-2.68)
= 12.04
จาก ตาราง ( df =(kx)(ky)=4) จะได้ค่าวิกฤต 9.49 จึงปฏิเสธ
H0 นั่นคือค่าสหสัมพันธ์คาโนนิคอลของตัวแปรคาโนนิคอลคู่ที่ 1
ไม่เท่ากับศูนย์( )
3 ทดสอบค่าสหสัมพันธ์คาโนนิคอลคู่ที่ 2
เมื่อตัดอิทธิพลของตัวแปรคาโนนิคอลคู่แรกออกจะได้
ดังนั้น
= -(4.5)(-.87)
= 3.92
จากตาราง (df= (kx-1)(ky-1) =1) จะได้ค่าวิกฤต 3.84 จึงปฏิเสธ
H0 นั่นคือค่าสหสัมพันธ์คาโนนิคอลของตัวแปรคาโนนิคอลคู่ที่ 2 ไม่
เท่ากับศูนย์( )
ขั้นที่ 5 หาค่าน้าหนักความสาคัญคาโนนิคอล
( Canonical Welghts, Fucntion Coefficient )
5.1หาค่าไอเก็นเวกเตอร์
5.2 หาน้าหนักตัวแปรเดิม
น้าหนักตัวแปรตาม
จะได้ค่าน้าหนักของตัวแปรเดิม ดังนี้
น้าหนักตัวแปรต้น
5.3 หาค่าน้าหนักสหสัมพันธ์ตัวแปรเดิม
กับตัวแปรคาโนนิคอล (Loading)
Variable Sets
Canonical Variate
Pairs
First Second
First TS -0.74 0.68
TC 0.79 0.62
Second BS -0.44 0.90
BC 0.88 0.48
Table 12.3 Loading Matrix for the Data Set in Table 12.1
First
CCR
X
First
CCR
Y
x1 y1
y2
x2
แสดงความสัมพันธ์น้าหนักคาโนนิคอล
ax1 ay1
Rc1
ax2 ay2
เมื่อ
Xi =Variable in X set Yi = Variable in Y set
axi = Loading of (correlation with) ith X variable on canonical variate X
ayi = Loading of (correlation with) ith Y variable on canonical variate Y
Rc1 = Canonical correlation for the first pair of variates
U1
W2U2
W1
TS
TC
TS
TC
BS
BC
BS
BC
-.74 -.44
.91
.79 .88
.68 .90
.76
.62 .48
ขั้นที่ 6 หาสัดส่วนของความแปรปรวนสกัด
สัดส่วนของความแปรปรวนในตัวแปรเดิมที่อธิบายตัวแปร
คาโนนิคอลหาได้จากค่าเฉลี่ยกาลังสองของ Canonical loadings
สูตร
U1 กับ X1
W1 กับ Y1
W2 กับ Y2
U2 กับ X2
สัดส่วนความแปรปรวนในตัวแปรเดิมที่อธิบายข้ามชุดตัวแปร
คาโนนิคอลหาได้จากค่าเฉลี่ยกาลังสองของ Cross loadings
สูตร
U1 W1
BS
BC
TS
TC
U2 W2
TC
TS BS
BC
58%
42%
48%
52%
40%
30%
24%
48%
สรุปสัดส่วนเป็นร้อยละ ของความแปรปรวนตัวแปรเดิมที่อธิบายในชุดและข้ามชุด
X1
X2
Y1
Y2
RC
RC
การแปลผลจากสหสัมพันธ์คาโนนิคอล
ประเภทของตัวแปร ชื่อตัวแปร สัมประสิทธิ์คาโนนิคอลในรูปคะแนนมาตรฐาน
ชุดที่ 1 ชุดที่ 2
ตัวแปรต้น TS
TC
-.6253
.6861
.7972
.7456
ตัวแปรตาม BS
BC
-.4823
.9010
.8775
.4378
Eigenvalue
สหสัมพันธ์
คาโนนิคอล
.83566
.91414
.55814
.76247
การแปลผลตาราง
จากตาราง ชุดที่หนึ่งพบว่าสหสัมพันธ์ที่ตัวแปรในสองชุดมี
ต่อกันมากที่สุด .91414 แสดงว่าตัวแปรอิสระเหล่านั้นส่งผลต่อ
ตัวแปรตามทั้งหมด ได้สูงสุดร้อยละ 83.56 ตัวแปรที่ได้รับ
อิทธิพลมากที่สุดคือ BC ตัวแปรต้นที่มีอิทธิพลต่อ BC คือ TC
ในชุดที่สองพบว่าสหสัมพันธ์ที่ตัวแปรในสองชุดมีต่อกัน
มากที่สุด .76247แสดงว่าตัวแปรอิสระเหล่านั้นส่งผลต่อตัวแปร
ตามทั้งหมด ได้สูงสุดร้อยละ 55.81 ตัวแปรที่ได้รับอิทธิพลมาก
ที่สุดคือ BS ตัวแปรต้นที่มีอิทธิพลต่อ BS คือ TS และ TC
ตามลาดับ
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์คาโนนิคอล
ด้วยโปรแกรม SAS
การวิเคราะห์
 ส่วนแรกจะแสดง ค่าสหสัมพันธ์คาโนนิคอล/ค่าปรับแก้
/ค่าประมาณความคลาดเคลื่อนมาตรฐานและค่าไอเก็น
 ส่วนที่สองเป็นผลการทดสอบนัยสาคัญทางสถิติพบว่าค่าสหสัมพันธ์
คาโนนิคอลทั้งสองตัวมีค่าแตกต่างจาก 0 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
 ส่วนที่สามเป็นการทดสอบสมมติฐานว่าค่าสหสัมพันธ์คาโนนิ
คอลทุกค่าว่ามีค่าเป็น 0 หรือไม่โดยวิเคราะห์ในรูปตัวแปรพหุใช้การ
แจกแจง F ไม่พบว่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์คาโนนิคอลจะเป็น 0
การวิเคราะห์
 ในส่วนนี้โปรแกรมเสนอหรือน้าหนักของตัวแปรเดิม(X,Y) ที่
รวมตัวเชิงเส้นตรงอย่างเหมาะสมเพื่อสร้างตัวแปรคาโนนิคอลใน
แต่ละชุดในรูปคะแนนดิบและคะแนนมาตรฐาน สามารถสร้าง
สมการจากน้าหนักที่เหมาะสม จากคะแนนมาตรฐานได้ดังนี้
การวิเคราะห์
 ส่วนนี้แสดงค่าน้าหนักคาโนนิคอล (Canonical loading )หรือค่า
สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเดิมกับตัวแปรคาโนนิคอล ค่า
สหสัมพันธ์นี้มีค่าอยู่ระหว่าง -1.00 ถึง 1.00 ซึ่งแสดงให้เห็นว่าตัว
แปรเดิมต้องการมุ่งวัดมิติใด
 จากนั้นโปรแกรมจะหาความสัมพันธ์ข้ามกลุ่มระหว่างตัวแปรเดิม
ชุดที่ 1 กับตัวแปรคาโนนิคอล ชุดที่ 2 และจะหาความสัมพันธ์
ข้ามกลุ่มระหว่างตัวแปรเดิมชุดที่ 2 กับตัวแปรคาโนนิคอลชุดที่ 1
การวิเคราะห์
 หาค่า Redundancy ซึ่งส่วนนี้เป็นการวิเคราะห์สัดส่วนปริมาณ
ความแปรปรวนของตัวแปรเดิมในแต่ละชุดที่อธิบายได้ด้วยตัว
แปรคาโนนิคอลในแต่ละตัวการอธิบายความหมายในตารางจะ
เป็นดังนี้
Their Own Canonical Variables จะอธิบายสัดส่วนความ
แปรปรวน จากค่าเฉลี่ยกาลังสองของ Canonical loading
The Opposite Canonical Variables จะอธิบายสัดส่วนความ
แปรปรวน จากค่าเฉลี่ยกาลังสองของ Cross loading
กราฟแสดงความสัมพันธ์เชิงเส้นตรงของตัวแปรคาโนนิคอล
ระหว่าง U1 กับ W1
กราฟแสดงความสัมพันธ์เชิงเส้นตรงของตัวแปรคาโนนิคอล
ระหว่าง U2 กับ W2
สหสัมพันธ์คาโนนิคอล Pdf

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFWichitchai Buathong
 
ลำดับและอนุกรม Sequences & Series
ลำดับและอนุกรม Sequences & Seriesลำดับและอนุกรม Sequences & Series
ลำดับและอนุกรม Sequences & SeriesChomsurangUpathamSchool
 
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการTwatchai Tangutairuang
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)Maesinee Fuguro
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญPongpob Srisaman
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซตAon Narinchoti
 
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์eakbordin
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมPhakawat Owat
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...Suphot Chaichana
 
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดนิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดNam M'fonn
 
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"พัน พัน
 
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษานำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษาOommie Banthita
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3krutew Sudarat
 
ระบบร่างกาย
ระบบร่างกายระบบร่างกาย
ระบบร่างกายAobinta In
 
ชุดที่ 2 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการคูณ
ชุดที่ 2 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการคูณชุดที่ 2 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการคูณ
ชุดที่ 2 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการคูณพิทักษ์ ทวี
 

Mais procurados (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
 
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษาวิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
 
ลำดับและอนุกรม Sequences & Series
ลำดับและอนุกรม Sequences & Seriesลำดับและอนุกรม Sequences & Series
ลำดับและอนุกรม Sequences & Series
 
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
 
Behaviorism cm
Behaviorism cmBehaviorism cm
Behaviorism cm
 
Eis science lesson plan grade 1
Eis science lesson plan grade 1Eis science lesson plan grade 1
Eis science lesson plan grade 1
 
64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม
64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม
64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซต
 
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
 
ชุดที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 เรื่อง  ตัวประกอบชุดที่ 1 เรื่อง  ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ
 
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดนิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
 
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
 
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษานำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3
 
ระบบร่างกาย
ระบบร่างกายระบบร่างกาย
ระบบร่างกาย
 
ชุดที่ 2 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการคูณ
ชุดที่ 2 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการคูณชุดที่ 2 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการคูณ
ชุดที่ 2 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการคูณ
 

สหสัมพันธ์คาโนนิคอล Pdf