SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 36
Baixar para ler offline
แรงจูงใจ (motive) เป็นคาที่ได้ความหมายมาจากคาภาษา
ละตินที่ว่า movere ซึ่งหมายถึง "เคลื่อนไหว (move) "
ดังนั้น คาว่าแรงจูงใจจึงมีการให้ความหมายไว้ต่างๆ กันดังนี้
1. แรงจูงใจ หมายถึง "บางสิ่งบางอย่างที่อยู่ภายในตัวของ
บุคคลที่มีผลทาให้บุคคลต้องกระทา หรือเคลื่อนไหว หรือมี
พฤติกรรม ในลักษณะที่มีเป้าหมาย" (Walters.1978 :218)
กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ แรงจูงใจเป็นเหตุผล ของการกระทา
นั่นเอง
2.แรงจูงใจ หมายถึง "สภาวะที่อยู่ภายในตัวที่เป็นพลัง ทาให้ร่างกายมี
การเคลื่อนไหว ไปในทิศทางที่มีเป้าหมาย ที่ได้เลือกไว้แล้ว ซึ่งมักจะเป็น
เป้าหมายที่มีอยู่นภาวะสิ่งแวดล้อม" (Loundon and Bitta.1988:368)
จากความหมายนี้จะเห็นได้ว่า แรงจูงใจจะเกี่ยวข้องกับองค์ประกอบที่
สาคัญ 2 ประการ คือ
(1) เป็นกลไกที่ไปกระตุ้นพลังของร่างกายให้เกิดการกระทา และ
(2) เป็นแรงบังคับให้กับพลังของร่างกายที่จะกระทาอย่างมีทิศทาง
แรงจูงใจคือ พลังผลักดันให้คนมีพฤติกรรม และยังกาหนด
ทิศทางและเป้าหมาย ของพฤติกรรมนั้นด้วย คนที่มีแรงจูงใจสูง จะใช้
ความพยายามในการกระทาไปสู่เป้าหมายโดยไม่ลดละ
แต่คนที่มีแรงจูงใจต่า จะไม่แสดงพฤติกรรม หรือไม่ก็ล้มเลิก การกระทา
ก่อนบรรลุเป้าหมาย
ความสาคัญ สามารถสรุปความสาคัญของการจูงใจในการ
ทางานได้ดังนี้
1. พลัง (Energy)
2. ความพยายาม (Persistence)
3.การเปลี่ยนแปลง (variability)
4.บุคคลที่มีแรงจูงใจในการทางาน
1. พลัง (Energy)
ทาให้ขยันขันแข็ง กระตือรือร้น กระทาให้สาเร็จ ซึ่ง
ตรงกันข้ามกับ บุคคลที่ทางานประเภท "เช้าชาม เย็น
ชาม" ที่ทางานเพียงเพื่อให้ผ่านไปวันๆ
2. ความพยายาม (Persistence)
ทาให้บุคคลมีความมานะ อดทน บากบั่น คิดหา
วิธีการนาความรู้ความสามารถ และ ประสบการณ์
ของตน มาใช้ให้เป็นประโยชน์ต่องานให้มากที่สุด
3.การเปลี่ยนแปลง (variability)
เกิดการค้นพบช่องทาง ดาเนินงาน ที่ดีกว่า หรือประสบ
ผลสาเร็จมากกว่า เป็นเครื่องหมายของ ความเจริญ
ก้าวหน้า ของบุคคล
4.บุคคลที่มีแรงจูงใจในการทางาน
จรรยาบรรณในการทางาน (work ethics) ผู้มี
จรรยาบรรณในการทางาน จะเป็นบุคคล ที่มีความ
รับผิดชอบ มั่นคงในหน้าที่ มีวินัยในการทางาน
การทางานหากขาดพลัง หรือแรงจูงใจในการทางานแล้ว อาจมีผล
ทาให้การทางานขาดชีวิตชีวาและน่าเบื่อ ดังนั้น เพื่อสร้างแรงจูงใจ
ในการทางานสามารถสรุปได้ง่าย ๆ เพียง 6 ขั้นตอนเพื่อสร้าง
แรงจูงใจในการทางานและความผูกพันในองค์กร
1.) สื่อสารอย่างชัดเจนถึงความเชื่อมโยงระหว่างผลการ
ปฏิบัติงานและผลตอบแทนของพนักงาน
2.) สร้างความมั่นใจในการประเมินผลการปฏิบัติงานที่
สามารถแยกแยะผู้มีผลการปฏิบัติงานดีได้
3.) ขจัดอุปสรรคในการทางานที่สามารถส่งผลกระทบในเชิงลบต่อ
การสนับสนุนพนักงาน เช่น งานที่ไม่จาเป็นหรือซ้าซ้อน
4.) เลือกคนให้เหมาะสมกับงานโดยคานึงถึงคุณสมบัติของ
ตาแหน่งงานและความสามารถของผู้ที่จะดารงตาแหน่งงานนั้น
5.) ติดตามและพัฒนาบรรยากาศในการทางานโดยผู้นาต้องมี
ความสามารถและมีรูปแบบการบริหารงานที่เหมาะสมเพื่อจูงใจ
พนักงาน
6.) มุ่งเน้นถึงผลตอบแทนที่ไม่ได้อยู่แค่ในรูปของเงินเท่านั้น เช่น
โอกาสการเติบโตในหน้าที่การงาน การพัฒนาในด้านต่างๆ และ
การยกย่องชมเชยพนักงาน
1. ทฤษฎีลาดับขั้นความต้องการ
ของมาสโลว์ (Maslow’s
hierarchy of needs theory)
เป็นทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความ
ต้องการขั้นพื้นฐานของมนุษย์ โดย
แบ่งกลุ่มความต้องการออกเป็น 5 กลุ่ม
ทฤษฎีความต้องการของ Maslow
• สมมติฐาน : 4 ประการ
–เฉพาะความต้องการที่ยังไม่ได้รับการตอบสนองที่สามารถ
กระตุ้นการทางานได้ ความต้องการที่ได้รับการตอบสนองแล้ว
จะไม่สามารถจูงใจได้
–ความต้องการของคนเรียงลาดับตามความสาคัญ
–คนเราจะต้องได้รับตอบสนองในลาดับล่างก่อน
จึงจะมีความต้องการในขั้นสูงต่อไป
–ถ้าความต้องการที่ได้รับการตอบสนองแล้วหมดไปความ
ต้องการนั้นจะกลับมาอีกครั้ง
1. ความต้องการพื้นฐานทางด้านร่ายกาย
(Physiological)
• เป็นความต้องการพื้นฐานเพื่อการอยู่รอด เช่น
–ปัจจัยสี่ (อาหาร, เครื่องนุ่งห่ม, ที่อยู่อาศัย, ยารักษาโรค)
–การขับถ่าย, การพักผ่อน
–เรื่องเพศ เป็นต้น
• เงินเป็นตัวกลางในการได้มาซึ่งสิ่งจาเป็นต่างๆ
2. ความต้องการความปลอดภัยและมั่นคง
(Safety)
• มนุษย์ต้องการอยู่ห่างจากอันตรายทั้งปวง เช่น อุบัติเหตุ,
โรคภัยไข้เจ็บ, โจรขโมย เป็นต้น
• ความมั่นคงในอาชีพ
• มีการสนใจในหลักประกันมากขึ้น ดูจาก...
– ประกันภัยในรูปแบบต่างๆ (ด้านสุขภาพ, อุบัติเหตุ และ ชีวิต)
– เงินสะสม หรือ บาเหน็จบานาญ เมื่อเกษียณอายุ
3. ความต้องการมีส่วนร่วมทางสังคม
(Social)
• ต้องการเป็นส่วนหนึ่งของสังคมและเป็นที่ยอมรับ
รวมถึงความต้องการในความรักใคร่ด้วย เช่น จากบิดา
มารดา สามีหรือภรรยา เพื่อนร่วมงาน เป็นต้น
4. ความต้องการเกียรติยศชื่อเสียง
(Esteem Needs)
• ความต้องการของบุคคลที่จะมีคุณค่าในสายตาคนอื่น เช่น
การได้รับชื่อเสียง, การได้รับอานาจ,ได้รับความสนใจ, ถูก
ให้ความสาคัญ, การรู้สึกว่ามีคุณค่าสาหรับโลกนี้
5. ความต้องการที่จะประสบความสาเร็จสูงสุด
(Self-Actualization)
• ความต้องการความเจริญเติบโต และความต้องการใช้ความสามารถ
อย่างเต็มที่ หรือ แนวโน้มที่บุคคลมีความปรารถนาที่จะเป็นอย่างที่
ตนเป็นมากขึ้น สูงขึ้น โดยเป็นทุกสิ่งทุกอย่างที่เขาสามารถจะเป็นได้
• ความแตกต่างของบุคคลมีมากที่สุดที่ระดับนี้
2. ทฤษฎี ERG ของ Alderfer
• ได้ปรับปรุงทฤษฎีความต้องการของ Maslow โดยมองว่า
–มีความต้องการที่เกิดขึ้นได้มากกว่า 1 อย่างในเวลาเดียวกัน
–ถึงแม้ว่าความต้องการในขั้นที่สูงกว่าเกิดขึ้นแล้วแต่ในขั้นที่ต่ากว่าก็
ยังต้องการอยู่
–แบ่งความต้องการใหม่ จาก 5 เหลือ 3 ข้อ
• ความต้องการดารงอยู่ (Existence Needs) ต้องการมีชีวิตอยู่รอด
รวมถึง ความเป็นอยู่ที่ดี
• ความต้องการความสัมพันธ์ (Relation Needs) เป็นความ
ต้องการที่เน้นความสัมพันธ์กับบุคคลอื่นๆ ทางสังคม
• ความต้องการการเจริญเติบโต (Growth Needs) เป็นความ
ต้องการที่จะพัฒนาตัวเอง
ทฤษฎีความต้องการ ของ McClelland
• ความต้องการของมนุษย์จะเกิดจากแรงขับภายใน และแบ่ง
ความต้องการเป็น 3 กลุ่มคือ
–ความต้องการความสาเร็จในการทางาน (The need for
Achievement: nAch) ต้องการผลลัพธ์ที่ดีที่สุด
–ความต้องการอานาจ (The need for Power: nPow) อยาก
ควบคุมผู้อื่น
–ความต้องการความสัมพันธ์ (The need for Affiliation:
nAff) เน้นความสัมพันธ์อันดี
ทฤษฎีสองปัจจัย ของ Herzberg
แบ่งปัจจัยในการทางานออกเป็น
• ปัจจัยบารุงรักษา (Hygiene Factors)
– ปัจจัยที่สามารถขจัดความไม่พอใจของพนักงานได้แต่ไม่สามารถจูงใจ
พนักงานได้ เช่น นโยบายและการบริหาร การบังคับบัญชา สภาพการ
ทางาน ค่าตอบแทน เป็นต้น
• ปัจจัยจูงใจ (Motivation Factors)
– คือ ปัจจัยที่สามารถจูงใจให้พนักงานทางานได้ เช่น ความสาเร็จในงาน
ที่ทา การยอมรับ ความท้าทายของงาน การเพิ่มงาน ฯลฯ
เป็นหลักฐานการอนุญาตให้ผู้ประกอบวิชาชีพควบคุมตามมาตรา 43
ของ พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 เป็นผู้มีสิทธิ
ในการประกอบวิชาชีพ ซึ่งได้แก่ ผู้ปฏิบัติงานในตาแหน่ง ครู
ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาอื่น ทั้งนี้
เป็นไปตาม มาตรา 53 ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
ที่กาหนดให้ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษาและ
บุคลากรทางการศึกษาอื่นทั้งของรัฐและเอกชนต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
ยกเว้นบุคลากรทางการศึกษาที่จัดการศึกษาตามอัธยาศัย
ชมวิดีโอ ประกอบ
1. ผลดีต่อวิชาชีพ ผู้ที่อยู่ในวงวิชาชีพครูจะต้องยึดถือจรรยาบรรณ ใน
การดารงวิชาชีพให้เป็นที่ยอมรับ จึงทาให้เกิดผลดีต่อวิชาชีพ ดังนี้
1.1. เกิดความศรัทธาต่อวิชาชีพ
1.2. เกิดการธารงและปกป้องวิชาชีพ
1.3. เกิดการพัฒนาองค์ความรู้ในวิชาชีพ
1.4. เกิดการสร้างองค์กรวิชาชีพให้แข็งแกร่ง
1.5. เกิดความร่วมมือในกิจกรรมขององค์กรวิชาชีพ
2. ผลดีต่อผู้เรียน
2.1. ครูตั้งใจถ่ายทอดวิชาการแก่ผู้เรียนอย่างเต็มที่ ทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
ได้เต็มตามศักยภาพ
2.2. ครูมีความรักและเข้าใจผู้เรียน สามารถช่วยให้ผู้เรียนประสบความสาเร็จ
ในการเรียน และดารงชีวิตได้อย่างถูกต้อง
2.3. ผู้เรียนสามารถหาวิธีการศึกษาหาความรู้ด้วยตนเองมากขึ้น จากการที่ครู
ส่งเสริมการเรียนรู้และชี้แนะให้แก่ผู้เรียน
2.4. ผู้เรียนได้รับความยุติธรรมจากผู้ที่เป็นครู
2.5. ผู้เรียนได้ซึมซับแบบอย่างที่ดีจากครูที่ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณ
วิชาชีพครู
3. ผลดีต่อตนเองและสังคม
3.1. ครูมีการพัฒนาตนเองในด้านต่างๆ ตลอดเวลา เช่น ด้านความรู้ ด้าน
ความประพฤติ ด้านจิตใจ
3.2. เกิดความชานาญในการปฏิบัติงาน สามารถทาผลงานได้อย่างมีคุณภาพ
3.3. เกิดความภาคภูมิใจในความเป็นครู
3.4. ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติจากผลงานเชิงประจักษ์
3.5. เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และร่วมพัฒนาในกลุ่มผู้ประกอบวิชาชีพ
3.6. มีการพัฒนางานจนเกิดเป็นวัฒนธรรมการทางานแบบสั่งสมความรู้
การที่จะได้ซึ่งใบประกอบวิชาชีพครูนั้นเป็นเรื่องที่ซับซ้อนมีขั้นตอนที่เป็น
มาตรฐานกว่าจะได้บุคคลที่มีคุณสมบัติครบถ้วนต้องผ่านกระบวนการที่
ละเอียด จึงส่งผลกระทบต่อองค์การดังนี้
1. องค์การเสียโอกาสที่จะได้ผู้ร่วมงานที่มีความรู้ความสามารถแต่ไม่มี
ใบอนุญาตผู้ประกอบวิชาชีพ ใช้ความรู้ให้เกิดประโยชน์แก่องค์การ เช่น
1.1. ผู้ที่มีความรู้ความสามารถสูง แต่ไม่มีใบประกอบวิชาชีพทางการศึกษาไม่
สามารถทาการสอนในสถานศึกษาได้
1.2. ผู้บริหารทางการศึกษาที่ไม่มีใบประกอบวิชาชีพไม่สามารถทาการบริหาร
สถานศึกษาให้มี
คุณภาพและมีมาตรฐานที่สูงขึ้นได้
2. องค์การได้รับบุคคลที่มีคุณสมบัติไม่ครบถ้วนตามมาตรฐานที่กาหนด
เข้ามาในองค์การ เนื่องจาก วิชาชีพครูเป็นวิชาชีพชั้นสูง มีความมั่นคง
และมีค่าตอบแทนค่อนข้างสูง จึงเป็นแรงจูงใจให้คนหาวิธีที่จะเข้ามา
อยู่ร่วมในวงการครู ซึ่งบางคนขาดคุณสมบัติ
ไม่สามารถมีใบประกอบวิชาชีพครูได้ ก็ใช้วิธีการต่างๆ ที่จะ
ได้มาซึ่งใบประกอบวิชาชีพครูโดยไม่คานึงถึงความถูกต้อง
ทฤษฎีแรงจูงใจที่นามาใช้ให้เกี่ยวข้องกับการมีใบประกอบ
วิชาชีพครูที่รัฐบาลนามาใช้เพื่อเป็นแรงขับเคลื่อน
ให้การศึกษาบรรลุถึงเป้าหมายที่วางไว้ โดยมีทฤษฎีสาคัญ
หลายทฤษฎี แต่ทฤษฎีที่มีเนื้อหาอธิบายองค์ประกอบ
ที่เกี่ยวข้องกับการให้แรงจูงใจได้ดี คือ
ทฤษฎีลาดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ 5 ขั้น
1. ความต้องการทางร่างกาย (Physiological Needs) การมีใบประกอบวิชาชีพ
ครูเป็นเสมือนใบเบิกทางที่
ทาให้มีอาชีพ มีเงินที่จะนามาใช้จ่าย เพื่อให้มีชีวิตอยู่
2. ความต้องการความปลอดภัย (Safety Needs) เมื่อมีงานทา มีเงินใช้ ก็ต้องการ
ความมั่นคงและปลอดภัย
ในการทางาน ดังนั้นจะต้องปฏิบัติตนตามมาตรฐานจรรยาบรรณของครูในการรักษาใบ
ประกอบวิชาชีพให้
คงอยู่กับตนเพื่อที่จะได้ประกอบอาชีพครูต่อไป
3. ความต้องการทางสังคม (Social Needs) วิชาชีพครูเป็นวิชาชีพ
ชั้นสูง ผู้ที่ได้อยู่ในวงวิชาชีพนี้ถือว่ามี
เกียรติ สามารถเชิดหน้าชูตาในสังคมได้อย่างเต็มภาคภูมิ ถ้าประพฤติตัว
ไม่เหมาะสมขัดต่อจรรยาบรรณครูก็จะถูกเพิกถอนใบประกอบวิชาชีพ
เป็นเหตุให้ได้หลุดจากวงวิชาชีพครู ดังนั้นใบประกอบวิชาชีพครูจึงเป็น
ตัวกาหนดให้ครูมีพฤติกรรมตามมาตรฐานที่วางไว้
4. ความต้องการเกียรติยศชื่อเสียง (Esteem Needs) บุคคลที่ได้เข้ามาอยู่ใน
วงวิชาชีพครูแล้วนั้นเมื่อความต้องการบรรลุถึงขั้นที่ 3 แล้วยังมีความต้องการ
เกียรติยศชื่อเสียงอีกเพราะมีความรู้ความสามารถสูงจึง
พยายามสร้างผลงานให้เป็นที่รู้จัก เป็นที่ยอมรับนับถือของคนทั่วไป แต่ถ้าทา
ผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพครูแม้เพียงบางประการ ถึงจะมีความสามารถสูง
แค่ไหน ก็อาจถูกเพิกถอนใบประกอบวิชาชีพได้ นั่นเป็นเหตุให้
ต้องออกจากวงวิชาชีพครูไป ดังนั้นใบประกอบวิชาชีพยังมีอิทธิพลต่อความ
ต้องการในขั้นนี้
5. ความต้องการความสมหวังของชีวิต (Self-Actualization Needs)
ความต้องการในขั้นนี้แต่ละคนจะมี
ความต้องการไม่เท่ากัน บางคนมีความต้องการสมหวังในชีวิตคือได้รับราชการครู
บางคนเป็นครูแล้วยัง
ต้องการมีตาแหน่งหน้าที่ที่สูงขึ้นไปเรื่อยๆ แต่ไม่ว่าจะมีความต้องการขั้นใดในวง
วิชาชีพครูสิ่งที่ต้องคานึงถึง
และต้องยึดถือประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู
สรุป
แรงจูงใจมีความสัมพันธ์กับความต้องการอย่างแยกไม่ออก และต่างก็เป็นตัวเร่งที่
สาคัญให้คนทางานอย่างมีทิศทางและมีเป้าหมาย มีทฤษฎีแรงจูงใจและความต้องการ
เป็นจานวนมากที่พยายามอธิบายเพื่อค้นหาคาตอบว่าแรงจูงใจมีกาเนิดมาอย่างไร อะไร
เป็นตัวผลักดันให้เกิดแรงจูงใจในมนุษย์หรือผลักดันให้มนุษย์ทางานได้อย่างมี
ประสิทธิภาพเพียงใด แรงจูงใจจึงนับว่ามีความสาคัญต่อการบริหารงานและผู้บริหาร
เป็นอย่างยิ่งใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูเป็นหนทางหนึ่งในการยกระดับมาตรฐาน
วิชาชีพครูให้มีมาตรฐานเฉกเช่นวิชาชีพชั้นสูงอื่น อีกทั้งเป็นการสร้างแรงจูงใจให้คนเก่ง
คนดี มีจิตใจใฝ่พัฒนาเยาวชน สามารถเข้าสู่วงการวิชาชีพครูด้วยความ
มั่นใจซึ่งจะนา ไปสู่การกระตุ้นให้ครูพัฒนาตนเองทั้งด้านความรู้ความสามารถ คุณภาพ
การปฏิบัติงาน และความ

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
Sivagon Soontong
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
krupornpana55
 
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยหน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
Paew Tongpanya
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
Jariya Jaiyot
 
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
พัน พัน
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
Thanyamon Chat.
 
ทรรศนะ2
ทรรศนะ2ทรรศนะ2
ทรรศนะ2
krubuatoom
 

Mais procurados (20)

(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
เนื้อหาสารและสมบัติของสาร
เนื้อหาสารและสมบัติของสารเนื้อหาสารและสมบัติของสาร
เนื้อหาสารและสมบัติของสาร
 
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยหน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
การนำเสนอในการประชุม
การนำเสนอในการประชุมการนำเสนอในการประชุม
การนำเสนอในการประชุม
 
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนาบทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียด
 
พลังงานน้ำ
พลังงานน้ำพลังงานน้ำ
พลังงานน้ำ
 
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
บทที่ 3  แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำบทที่ 3  แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
ทรรศนะ2
ทรรศนะ2ทรรศนะ2
ทรรศนะ2
 
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1pageใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
 

Destaque

ทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจ
Poy Thammaugsorn
 
ทฤษฏีความต้องการพื้นฐาน(มาสโลว์)
ทฤษฏีความต้องการพื้นฐาน(มาสโลว์)ทฤษฏีความต้องการพื้นฐาน(มาสโลว์)
ทฤษฏีความต้องการพื้นฐาน(มาสโลว์)
Siririn Noiphang
 
แรงจูงใจในการทำงาน
แรงจูงใจในการทำงานแรงจูงใจในการทำงาน
แรงจูงใจในการทำงาน
Thida Noodaeng
 
แรงจูงใจในการทำงาน
แรงจูงใจในการทำงานแรงจูงใจในการทำงาน
แรงจูงใจในการทำงาน
Wasupong Maneekhat
 
การจูงใจผู้เรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
การจูงใจผู้เรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียนการจูงใจผู้เรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
แรงจูงใจ
แรงจูงใจแรงจูงใจ
แรงจูงใจ
arisara
 
แผนผังความคิด
แผนผังความคิดแผนผังความคิด
แผนผังความคิด
kiriyadee1
 
สอนพ่อแม่พูดภาษาอังกฤษกับลูก
สอนพ่อแม่พูดภาษาอังกฤษกับลูกสอนพ่อแม่พูดภาษาอังกฤษกับลูก
สอนพ่อแม่พูดภาษาอังกฤษกับลูก
Choatphan Prathiptheeranan
 

Destaque (20)

ทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจ
 
ทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจ
 
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMotivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
 
ทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจ
ทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจ
ทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจ
 
ทฤษฏีความต้องการพื้นฐาน(มาสโลว์)
ทฤษฏีความต้องการพื้นฐาน(มาสโลว์)ทฤษฏีความต้องการพื้นฐาน(มาสโลว์)
ทฤษฏีความต้องการพื้นฐาน(มาสโลว์)
 
แรงจูงใจในการทำงาน
แรงจูงใจในการทำงานแรงจูงใจในการทำงาน
แรงจูงใจในการทำงาน
 
แรงจูงใจในการทำงาน
แรงจูงใจในการทำงานแรงจูงใจในการทำงาน
แรงจูงใจในการทำงาน
 
การจูงใจผู้เรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
การจูงใจผู้เรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียนการจูงใจผู้เรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
การจูงใจผู้เรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
 
ความต้องการ
ความต้องการความต้องการ
ความต้องการ
 
คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้
 
สรุปคำศัพท์ทางการบริหาร
สรุปคำศัพท์ทางการบริหารสรุปคำศัพท์ทางการบริหาร
สรุปคำศัพท์ทางการบริหาร
 
แรงจูงใจ
แรงจูงใจแรงจูงใจ
แรงจูงใจ
 
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
 
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการCh1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
 
T
TT
T
 
แผนผังความคิด
แผนผังความคิดแผนผังความคิด
แผนผังความคิด
 
สอนพ่อแม่พูดภาษาอังกฤษกับลูก
สอนพ่อแม่พูดภาษาอังกฤษกับลูกสอนพ่อแม่พูดภาษาอังกฤษกับลูก
สอนพ่อแม่พูดภาษาอังกฤษกับลูก
 
การสร้างปกสมุดโรงเรียน
การสร้างปกสมุดโรงเรียนการสร้างปกสมุดโรงเรียน
การสร้างปกสมุดโรงเรียน
 
Erg theory
Erg theoryErg theory
Erg theory
 
เบื่องาน
เบื่องานเบื่องาน
เบื่องาน
 

Semelhante a งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2

Organization Behavior
Organization BehaviorOrganization Behavior
Organization Behavior
tltutortutor
 
Leadership competencies คุณสมบัติผู้นำ
Leadership competencies คุณสมบัติผู้นำLeadership competencies คุณสมบัติผู้นำ
Leadership competencies คุณสมบัติผู้นำ
maruay songtanin
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
issareening
 
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
Chatnakrop Sukhonthawat
 

Semelhante a งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2 (9)

Need esteem
Need  esteemNeed  esteem
Need esteem
 
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
 
Organization Behavior
Organization BehaviorOrganization Behavior
Organization Behavior
 
Leadership competencies คุณสมบัติผู้นำ
Leadership competencies คุณสมบัติผู้นำLeadership competencies คุณสมบัติผู้นำ
Leadership competencies คุณสมบัติผู้นำ
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
มนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ1
มนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ1มนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ1
มนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ1
 
Vunst dr delek
Vunst dr delekVunst dr delek
Vunst dr delek
 
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลง1
การบริหารการเปลี่ยนแปลง1การบริหารการเปลี่ยนแปลง1
การบริหารการเปลี่ยนแปลง1
 

Mais de ไกรลาศ จิบจันทร์

วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์
วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์
วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์
ไกรลาศ จิบจันทร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop csความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ไกรลาศ จิบจันทร์
 
การแสดงข้อความของโปรแกรมเว็บบราวเซอร์
การแสดงข้อความของโปรแกรมเว็บบราวเซอร์การแสดงข้อความของโปรแกรมเว็บบราวเซอร์
การแสดงข้อความของโปรแกรมเว็บบราวเซอร์
ไกรลาศ จิบจันทร์
 

Mais de ไกรลาศ จิบจันทร์ (20)

ใบความรู้ เรื่อง การสร้างเมนูหลัก
ใบความรู้ เรื่อง การสร้างเมนูหลักใบความรู้ เรื่อง การสร้างเมนูหลัก
ใบความรู้ เรื่อง การสร้างเมนูหลัก
 
ซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งาน
ซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งานซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งาน
ซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งาน
 
Banner
BannerBanner
Banner
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
เอกสารประกอบการสอน Dreamweaver8 ม.6
เอกสารประกอบการสอน  Dreamweaver8 ม.6เอกสารประกอบการสอน  Dreamweaver8 ม.6
เอกสารประกอบการสอน Dreamweaver8 ม.6
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
การเปิดใช้งานโปรแกรม
การเปิดใช้งานโปรแกรมการเปิดใช้งานโปรแกรม
การเปิดใช้งานโปรแกรม
 
ผลการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ผลการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้
 
การสร้างไซต์ใหม่
การสร้างไซต์ใหม่การสร้างไซต์ใหม่
การสร้างไซต์ใหม่
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์
 
วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์
วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์
วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์
 
ข้อมูลบุคลากร1
ข้อมูลบุคลากร1ข้อมูลบุคลากร1
ข้อมูลบุคลากร1
 
Frameset
FramesetFrameset
Frameset
 
การสร้างเฟรมเซต
การสร้างเฟรมเซตการสร้างเฟรมเซต
การสร้างเฟรมเซต
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop csความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
 
ความรู้เกี่ยวกับ Html
ความรู้เกี่ยวกับ Htmlความรู้เกี่ยวกับ Html
ความรู้เกี่ยวกับ Html
 
Photosho cs
Photosho csPhotosho cs
Photosho cs
 
ความรู้เกี่ยวกับ Html
ความรู้เกี่ยวกับ Htmlความรู้เกี่ยวกับ Html
ความรู้เกี่ยวกับ Html
 
การแสดงข้อความของโปรแกรมเว็บบราวเซอร์
การแสดงข้อความของโปรแกรมเว็บบราวเซอร์การแสดงข้อความของโปรแกรมเว็บบราวเซอร์
การแสดงข้อความของโปรแกรมเว็บบราวเซอร์
 
การขึ้นบรรทัดใหม่ของข้อความ
การขึ้นบรรทัดใหม่ของข้อความการขึ้นบรรทัดใหม่ของข้อความ
การขึ้นบรรทัดใหม่ของข้อความ
 

งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2