SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 29
Baixar para ler offline
สอนโดย
พระมหาวรพรต กิตฺติวโร (ป.ธ.6)
อานาปานสติ 16 ขั้น
เดินจิต
พระพุทธองค์ทรงตรัสว่า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
ธรรมอันเอกอย่างหนึ่ง
ที่บุคคลเจริญแล้ว
ทาให้มากแล้ว มีผลมาก
มีอานิสงส์มาก
สามารถชาระบาป
และอกุศลธรรม
ให้หมดสิ้นไปได้
ธรรมอันเอกนี้คืออะไรเล่า
คือ อานาปานสติ
1
• หายใจเข้ายาวก็รู้ หายใจออกยาวก็รู้
2
• หายใจเข้าสั้นก็รู้ หายใจออกสั้นก็รู้
3
• รู้กองลมทั้งปวงหายใจเข้า รู้กองลมทั้งปวงหายใจออก
4
• สาเหนียกว่าทากายสังขารให้ระงับหายใจเข้า สาเหนียกว่าทา
กายสังขารให้ระงับหายใจออก
กาย
อานาปานสติที่บุคคลเจริญแล้วอย่างไรเล่า?
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในพระธรรมวินัยนี้
ตั้งกายตรงดารงสติมั่น มีสติหายใจเข้า มีสติหายใจออก
5
• สาเหนียกว่ารู้ปีติหายใจเข้า สาเหนียกว่ารู้ปีติหายใจออก
6
• สาเหนียกว่ารู้สุขหายใจเข้า สาเหนียกว่ารู้สุขหายใจออก
7
• สาเหนียกว่ารู้จิตตสังขารหายใจเข้า สาเหนียกว่ารู้จิตตสังขาร
หายใจออก
8
• สาเหนียกว่าทาจิตตสังขารให้ระงับหายใจเข้า สาเหนียกว่าทา
จิตตสังขารให้ระงับหายใจออก
เวทนา
9
• สาเหนียกว่ารู้จิตหายใจเข้า สาเหนียกว่ารู้จิตหายใจออก
10
• สาเหนียกว่ารู้จิตที่ปราโมทย์ยิ่งหายใจเข้า สาเหนียกว่ารู้จิตที่
ปราโมทย์ยิ่งหายใจออก
11
• สาเหนียกว่ายังจิตให้ตั้งมั่นหายใจเข้า สาเหนียกว่ายังจิตให้ตั้ง
มั่นหายใจออก
12
• สาเหนียกว่าเปลื้องจิตหายใจเข้า สาเหนียกว่าเปลื้องจิตหายใจ
ออก
จิต
13
• สาเหนียกว่าเห็นความไม่เที่ยงหายใจเข้า สาเหนียกว่าเห็นความ
ไม่เที่ยงหายใจออก
14
• สาเหนียกว่าเห็นความคลายความกาหนัดหายใจเข้า สาเหนียก
ว่าเห็นความคลายความกาหนัดหายใจออก
15
• สาเหนียกว่าเห็นความดับหายใจเข้า สาเหนียกว่าเห็นความดับ
หายใจออก
16
• สาเหนียกว่าเห็นความสลัดคืนหายใจเข้า สาเหนียกว่าเห็นความ
สลัดคืนหายใจออก
ธรรม
ตั้งกายตรงดารงสติมั่น รู้ธรรมเฉพาะหน้า
กายานุปัสสนา
สติปัฏฐาน
1.หายใจเข้ายาวก็รู้ หายใจออกยาวก็รู้
2.หายใจเข้าสั้นก็รู้ หายใจออกสั้นก็รู้
เริ่มจากปรับร่างกายให้สบาย ปรับจิตใจให้สบาย ผ่อนคลาย
สบายๆ ปล่อยวางความคิดความกังวลต่างๆ วางอาการจด
จ่อออกไป สูดลมหายใจเข้าลึกๆ หยุดลมหายใจสักเล็กน้อย
ค่อยๆผ่อนลมหายใจออกสบายๆ ทาไปเรื่อยๆ จะเกิดการ
ทวนกระแสกลับเข้ามานิ่งรู้อยู่ภายใน นี้คือสภาวะของการ
ดารงสติมั่น ให้อยู่กับนิ่งรู้ไปเรื่อยๆ ก็จะรู้สึกถึงลมหายใจ
ขึ้นมาได้เอง เข้าสู่อานาปานสติขั้นที่ 1,2
ผ่อนคลายสบายๆ
ปล่อยวาง
ความคิดความ
กังวลต่างๆ
ก็จะรู้สึกถึงลม
หายใจเข้าออก
ได้เอง
3.รู้กายทั้งกาย หายใจเข้า รู้กายทั้งกาย หายใจออก
เมื่อสติมีกาลัง ก็จะเกิดการรู้ตัวขึ้นมา รู้การเต้นของหัวใจ ของชีพจร
รู้การกระเพื่อมของหน้าอก หน้าท้อง รู้กายทั้งกาย ก็จะเข้าสู่ขั้นที่ 3
รู้กายทั้งกายหายใจอยู่
รู้การกระเพื่อมของหน้าอกหน้าท้อง
รู้อัตราการเต้นของหัวใจ การไหลเวียนโลหิต
รู้สึกถึงการเกิดดับระหว่างเซลล์
4.ทากายสังขารให้ระงับ หายใจเข้า ทากายสังขารให้ระงับ หายใจออก
ฐานกาย
ฐานเวทนา
เหลือแต่ความรู้สึกตัว
ทั่วพร้อมอยู่ รู้สึกทั้งตัว
รู้พร้อมทั้งกายทั้งใจ
รู้สึกตัวทั่วพร้อมอยู่
ความรู้สึกตัวทั่วพร้อมนี้
จะเป็นสภาวะของ
สัมมาสมาธิ จะเกิดเมื่อ
มีสติมั่นคง มีจิตตั้งมั่น
เมื่อสติละเอียดขึ้น กายสังขารจะสงบระงับลงไป สติจะวางจากฐานกาย
เข้าสู่ฐานของเวทนา เกิดความรู้สึกตัว เข้าสู่ขั้นที่ 4
รู้พร้อมทั้งกายและใจ รู้สึกตัวทั่วพร้อมอยู่
เวทนานุปัสสนา
สติปัฏฐาน
เกิดสภาวะความรู้สึกตัวทั่วพร้อม จะเป็นความรู้สึกของ
ร่างกายทั่วทั้งตัว ก็ให้แช่อยู่กับความรู้สึกตัวทั่วพร้อม
ไปเรื่อยๆ จะเข้าสู่ขั้นที่ 5 รู้ปีติ จะมีอาการต่างๆดังนี้
ขนลุก
ทั้งตัว
มดไต่
ทั้งตัว
สนามพลัง
ซ่านๆหยุ่นๆ
ทั้งตัว
ตัวโยก
ทั้งตัว
ตัวลอย
5.รู้ปีติ หายใจเข้า รู้ปีติ หายใจออก
เหมือนว่าแช่อยู่
ในน้าที่เย็นชุ่มฉ่า
ตัวใหญ่
ตัวเล็ก
กระแส
ความร้อน
ตัวหนัก
ทั้งตัว
กระแส
ความเย็น
ตัวแข็ง
ทั้งตัว
ซาบซ่าน
ทั้งตัว
ปีติตัวสุดท้าย
ความรู้สึกตัวทั่วพร้อม
เป็นสภาวะของระดับ
สมาธิโดยธรรมชาติ
เป็นสภาวะของฌานที่ 1
แช่อยู่กับความรู้สึกทั้งตัวอยู่เนืองๆ ตัณหาก็ไม่เกิด
ก็ได้ชื่อว่าเจริญอริยมรรคมีองค์ 8 เกิดมรรคสมังคี
เกิดการเจริญอริยสัจ 4 ในเบื้องต้น รู้ทุกข์ ละเหตุแห่งทุกข์
เมื่อแช่อยู่กับความรู้สึกตัวทั่วพร้อมอยู่เสมอๆ สติก็จะ
ละเอียดขึ้น เกิดความโล่งโปร่งเบาสบาย เข้าสู่ขั้นที่ 6
6.รู้สุข หายใจเข้า รู้สุข หายใจออก
เป็นสภาวะของฌานที่ 2 ชุ่มไปด้วย
ปีติและสุข เอิบอาบซาบซ่านไปทั้งตัว
ถ้าเราพัฒนาสติมาถึง
ความสุขเบาสบาย เราจะ
พบเลยที่จริง
“ความสุขไม่ต้องไปแสวงหาจากภายนอกที่
ไหนเลย อยู่ภายในใจของเรานี้เอง”
พอแช่อยู่กับความสุขเบาสบายไปเรื่อยๆ ก็จะเริ่มเห็นจิตตสังขาร เป็น
ความคิดปรุงแต่งละเอียด เหมือนเสียงพูดในใจ เข้าสู่ขั้นที 7
ถ้าพลิกเป็น
ญาณทัสสนะใน
สภาวะนี้จะเห็นมัน
ปรุงออกมา พูด
เป็นดวงๆ
พูดอยู่กับ
ตัวเอง
เสียงพูด
ในใจ
7. รู้จิตตสังขาร หายใจเข้า รู้จิตตสังขาร หายใจออก
เมื่ออยู่กับความโล่งโปร่งเบาสบายไปเรื่อยๆ สติจะละเอียดขึ้นอาการปรุง
แต่งของจิตจะหายไป ธรรมอันเอกปรากฏขึ้น เกิดความรู้ตื่นอยู่ภายใน
เข้าสู่ขั้นที่ 8
8.ทาจิตตสังขารให้ระงับ หายใจเข้า ทาจิตตสังขารให้ระงับ หายใจออก
ธรรมอันเอกก็คือ จะเป็นแค่
สภาวะรู้ จะเกิดความรู้ตื่น
ขึ้นมาในภายใน
ทางสายเดียวเท่านั้นที่จะ
พาออกจากกองทุกข์ได้
สภาวะรู้ตื่น ตรงนี้คือสภาวะ
ของฌานที่ 2 เต็มกาลัง
การกาหนดบริกรรมต่างๆ จะ
หลุดออกไป จิตตสังขารระงับ
เหมือน
สมอง
หายไป
(คือตัวอวิชชาที่เป็นไปตามกระแสปฏิจจสมุปบาท)
(สภาวะรู้)
จิตบังสภาวะรู้
รู้ตื่น อยู่ในภายใน
จิตตานานุปัสสนาสติปัฏฐาน
เมื่อสติละเอียดขึ้น ความรู้สึกตัวจางคลายลงไป ลมหายใจสงบระงับ
ลงไป สติจะวางจากฐานเวทนา เข้าสู่ฐานของจิต เกิดความรู้ตื่นอยู่
ภายใน เห็นกระแสธรรมารมณ์ที่ผุดจากใต้ลิ้นปี่ เข้าสู่ขั้นที่ 9
9.รู้จิต หายใจเข้า รู้จิต หายใจออก
จะเข้าสู่สภาวะของฌานที่ 3 ในขั้นต้น เป็นฌานที่
พระอริยเจ้าสรรเสริญว่าเป็นผู้อยู่ด้วยอุเบกขา
ทรงสติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย
ลมหายใจจะละเอียดมาก จนไม่สามารถที่จะหายใจเข้าออก
ทางจมูก เกิดการกระเพื่อมหน้าอกหน้าท้องได้อีก จะเป็น
ลมปราณที่ละเอียด สภาวะตรงนี้จะเกิดสิ่งที่เรียกว่าซึมเข้า
ออกตามรูขุมขนทั้งตัว จะเกิดสภาวะที่เรียกว่าหายใจทั้งตัว
ขึ้นมาแทน
สติตรงนี้จะมีความละเอียดมาก สามารถรู้การ
ทางานในระดับของวาระจิตได้
ถ้าพลิกเป็นญาณทัสสนะ จะเห็นสภาวะการทางานตรงนี้ได้



กิเลสผุดขึ้น
ผุดมาจากตรงนี้

เมื่ออยู่กับความตื่นรู้ไปเรื่อยๆ สติจะละเอียดขึ้น เกิดความโล่งโปร่งเบา
สบายยิ่งขึ้นเรื่อยๆ จิตใจผ่องใสเบิกบานอยู่ภายใน เข้าสู่ขั้นที่ 10
10. รู้จิตที่ปราโมทย์ยิ่ง หายใจเข้า รู้จิตที่ปราโมทย์ยิ่ง หายใจออก
รู้จิตที่ปราโมทย์ยิ่ง จะมีความร่าเริงเบิกบานมาก
คือ สภาวะของฌานที่ 3 เต็มกาลัง
รู้ตื่น…เบิกบาน
เมื่อสติละเอียดขึ้น ความสุขจางคลายหายไป เกิดความเฉย ตั้งมั่น
สงบสงัด นิ่งรู้อยู่ภายใน เข้าสู่ขั้นที่ 11
11. รู้จิตที่ตั้งมั่น หายใจเข้า รู้จิตที่ตั้งมั่น หายใจออก
รู้จิตที่ตั้งมั่น คือสภาวะของสติในฌานที่ 4
ละสุข ละทุกข์ เหลือแต่สติเป็นธรรมชาติที่บริสุทธิ์
เพราะอุเบกขาแล้วแลอยู่
สติเป็นธรรมชาติที่บริสุทธิ์ ก็คือธรรมอันเอก
คือสภาวะรู้
ส่วนอุเบกขาคือจิตเจตสิก คือเนื้อสมาธิ
ที่บังสภาวะรู้ของจริงอยู่
ลมหายใจ
หมุนวน
อยู่ภายใน
อริยมรรคมีองค์ 8 โพชฌงค์ 7
องค์แห่งการตรัสรู้จะเต็มตรงนี้
เมื่อจิตตั้งมั่น พระพุทธองค์ทรงสอนให้ยิ่งขึ้นไปว่า เปลื้องจิต สติกับ
จิตจะเกิดการแยกออก หลุดออกจากกัน เข้าสู่ขั้นที่ 12
12. เปลื้องจิต หายใจเข้า เปลื้องจิต หายใจออก จิตแยกกับสติ
จิตติดกับสติ
การรับรู้ของสติ
การรับรู้ของจิต
ข่ายการ
รับรู้ของสติ
มิติภายใน
(ว่างอยู่รู้อยู่)
มิติภายนอก
ภพภูมิ หยาบ
ภพภูมิ ละเอียด

ขยายข่ายการรับรู้
ของสติออกไป
คลุมทั้งตัว สิ่งที่อยู่
ในข่ายจะถูกรู้
ธรรมทั้งหลายจะปรากฏตามความเป็นจริง
ธรรมมานุปัสสนา
สติปัฏฐาน
เมื่อสติกับจิตเกิดการแยกออกจากกัน ธรรมทั้งหลายจะปรากฏตามความเป็นจริงเกิดการ แยกธาตุ แยกขันธ์
เป็นของใครของมัน มิติใครมิติมัน เกิดดับของใครของมัน เกิดการรู้เห็นตามความเป็นจริงเข้าสู่ขั้นที่ 13
เมื่อเห็นตามความเป็นจริงอยู่เนืองๆ ย่อมเกิดความเบื่อหน่าย คลายกาหนัด เข้าสู่ขั้นที่ 14
13.เห็นความไม่เที่ยง หายใจเข้า เห็นความไม่เที่ยง หายใจออก
14.เห็นความไม่เที่ยง หายใจเข้า เห็นความไม่เที่ยง หายใจออก
จากสัมมาสมาธิ เข้าสู่สัมมาญาณ สภาวะตรงนี้
จะเกิดสิ่งที่เรียกว่าญาณเห็นจิตขึ้นมา จะเห็นจิตเกิดดับตามความ
เป็นจริง เห็นรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เกิดขึ้นตั้งอยู่
ดับไป ตามความเป็นจริง เรียกว่า ยถาภูตะญาณทัศนะ สติปัฏฐาน4
สัมมัปปธาน4
อิทธิบาท4
อินทรีย์5
พละ5
โพชฌงค์7
อริยมรรคมีองค์8
โพธิปักขิยธรรม
37
สภาวะของญาณทัสสนะตรงนี้ เป็นการแทงตลอด
อริยสัจในภาคโลกุตระ ขันธ์ทั้ง5 จะไม่เป็นที่ตั้ง
แห่งความยึดมั่น ชื่อได้ว่าเจริญ
เมื่อเห็นตามความเป็นจริง เกิดความเบื่อหน่ายคลายกาหนัด จิตย่อมหลุดพ้นจากความยึด
มั่นถือมั่น อวิชชาดับลง คืนสู่ธรรมชาติที่บริสุทธิ์ เข้าสู่ขั้นที่ 15 นิโรธ
15.เห็นความดับ หายใจเข้า เห็นความดับ หายใจออก
ภายนอกจะเป็นแยกธาตุแยกขันธ์สักแต่ว่าธาตุตามธรรมชาติ
ธาตุรู้กับ วิญญาณขันธ์หรือจิตเป็นคนละสิ่งกัน
ภายในจะเป็นความว่างที่บริสุทธิ์
จะเป็นเนื้อเดียวกับเนื้ออวกาศ
แต่ยังมีเหตุเกิดของอวิชชาอยู่
อนุภาคอิสระเคลื่อนที่
ท่ามกลางความว่าง
แห่งสภาวะรู้
เกิดการดู
เกิดการรวมตัวของอนุภาค
ประดุจเมฆหมอกเข้าบดบัง
ก่อกาเนิดขุมพลังจิต
ก่อกาเนิดวิญญาณขันธ์
จากนั้นจะเกิดการพัฒนา
เป็นไปตามกระแส
ปฏิจจสมุปบาท
อาการดูเป็นมหากาพย์แห่งวัฏสงสาร
ปล่อยวางทุกสิ่งทุกอย่าง สลัดคืนจากทุกสิ่งเข้าสู่เนื้อธรรมสุดท้ายที่บริสุทธิ์ เข้าสู่ขั้นที่ 16
16.เห็นความสลัดคืน หายใจเข้า เห็นความสลัดคืน หายใจออก
เนื้อธรรมสุดท้ายเป็น
เนื้อที่หมดจดบริสุทธิ์ที่
เรียกว่าเนื้อนิพพานธาตุ
อวิชชาก่อกาเนิดในเนื้อ
ธรรมนี้ไม่ได้
ถ้าว่าโดยมิติ
นิโรธเป็นมิติรองสุดท้าย
นิพพานธาตุ
เป็นมิติสุดท้าย
ว่างอยู่ รู้อยู่
เป็นหนึ่งเดียวกับธรรมชาติ
แค่รู้ เหลือแค่รู้ สักแต่ว่ารู้
การปฏิบัติทั้งหมด ก็จะทวนกระแสเข้าสู่สภาวะรู้อันนี้
อานาปานสติ 16 ขั้น ส่งเข้าถึง
สภาวะธรรมสุดท้ายที่พ้นจากทุกข์
กาย
เวทนา
จิต
ธรรม
นิโรธ
นิพพาน
พระพุทธองค์ทรงตรัสว่า
อานาปานะ 16 ขั้นที่เจริญแบบนี้แหละ
มีอานิสงส์มาก สามารถชาระบาป
และอกุศลธรรมให้หมดสิ้นไปได้
เข้าถึงสภาวะที่สุดแห่งทุกข์ได้
อานาปานสติที่บุคคลเจริญแล้ว
ทาให้มากแล้วอย่างนี้
ย่อมยังสติปัฏฐานสี่ให้บริบูรณ์
สติปัฏฐานสี่ที่บุคคลเจริญแล้ว ทาให้มากแล้ว
ย่อมยังโพชฌงค์ 7 ให้บริบูรณ์
โพชฌงค์ 7 ที่บุคคลเจริญแล้ว ทาให้มากแล้ว
ย่อมยังวิชชาและวิมุติให้เกิดขึ้นได้
ประตูแห่งอมตะธรรมนี้ก็ไม่ได้อยู่ข้างนอกที่ไหน
อยู่ภายในใจของท่านทั้งหลายนี้เอง
“พระมหาวรพรต กิตฺติวโร”
พระพุทธองค์ทรงตรัสว่า
ภิกษุทั้งหลาย
...พวกเธอทั้งหลาย จงเที่ยวจาริกไป
เพื่อประโยชน์สุขแก่มหาชน
เพื่อความเอ็นดูแก่โลก
เพื่อประโยชน์ เพื่อความเกื้อกูล
เพื่อความสุข ทั้งแก่เทวดา
และมนุษย์ทั้งหลาย
...จงแสดงธรรมให้งดงามในเบื้องต้น
งดงามในท่ามกลาง งดงามในเบื้องปลาย
...ให้เป็นไปพร้อมทั้งอรรถะ พร้อมทั้ง
พยัญชนะ ให้บริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิง
...สัตว์ทั้งหลายที่เป็นพวกมีธุลีในดวงตาแต่
เล็กน้อยก็มีอยู่
...สัตว์พวกนี้ ย่อมเสื่อมจากคุณที่ควรได้
เพราะไม่ได้ฟังธรรม
...สัตว์ผู้รู้ทั่วถึงธรรม จักมีเป็นแน่

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
Anchalee BuddhaBucha
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
Onpa Akaradech
 
ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3
Onpa Akaradech
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
Padvee Academy
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
Chavalit Deeudomwongsa
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
Padvee Academy
 
บทที่ 5 สันติ
บทที่ 5 สันติบทที่ 5 สันติ
บทที่ 5 สันติ
Onpa Akaradech
 
บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพาน
Onpa Akaradech
 
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดียอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
Padvee Academy
 
บทที่ 4 กิริยาศัพท์
บทที่ 4  กิริยาศัพท์บทที่ 4  กิริยาศัพท์
บทที่ 4 กิริยาศัพท์
Gawewat Dechaapinun
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒
Evesu Goodevening
 

Mais procurados (20)

มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทยวรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
 
มงคล38
มงคล38มงคล38
มงคล38
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
 
ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
บทที่ 5 สันติ
บทที่ 5 สันติบทที่ 5 สันติ
บทที่ 5 สันติ
 
บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพาน
 
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดียอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
 
บทที่ 4 กิริยาศัพท์
บทที่ 4  กิริยาศัพท์บทที่ 4  กิริยาศัพท์
บทที่ 4 กิริยาศัพท์
 
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน pptอนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นโท (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นโท (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นโท (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นโท (ปี 2549 - 2564).pdf
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒
 

Semelhante a อานาปานสติ 16 ขั้น สอนโดย พระมหาวรพรต กิตฺติวโร (ป.ธ.6).pdf

สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
Tongsamut vorasan
 
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มีแสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
Kiat Chaloemkiat
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
Padvee Academy
 
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
maruay songtanin
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
Tongsamut vorasan
 
จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์
duangdee tung
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
Tongsamut vorasan
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
Tongsamut vorasan
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
Panda Jing
 
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
Tongsamut vorasan
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippaya
tippaya6563
 

Semelhante a อานาปานสติ 16 ขั้น สอนโดย พระมหาวรพรต กิตฺติวโร (ป.ธ.6).pdf (20)

สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
 
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา
 
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มีแสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
 
ความมุ่งหมาย ของ การฟังธรรม
ความมุ่งหมาย ของ การฟังธรรมความมุ่งหมาย ของ การฟังธรรม
ความมุ่งหมาย ของ การฟังธรรม
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
 
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
 
จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์
 
Jitpontook
JitpontookJitpontook
Jitpontook
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
 
Luangpoo chansri
Luangpoo chansriLuangpoo chansri
Luangpoo chansri
 
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
 
081อานาปานสติ 16
081อานาปานสติ  16081อานาปานสติ  16
081อานาปานสติ 16
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippaya
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา
 

Mais de Totsaporn Inthanin

Mais de Totsaporn Inthanin (20)

ทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdf
ทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdfทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdf
ทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdf
 
ทำวัตรเช้า แปล powerpoint 81 หน้า.pdf
ทำวัตรเช้า แปล powerpoint 81 หน้า.pdfทำวัตรเช้า แปล powerpoint 81 หน้า.pdf
ทำวัตรเช้า แปล powerpoint 81 หน้า.pdf
 
สอศ. เรียกบรรจุครู 737 อัตรา รายงานตัว 12 14 ก.พ. 2561 นี้
สอศ. เรียกบรรจุครู 737 อัตรา รายงานตัว 12 14 ก.พ. 2561 นี้สอศ. เรียกบรรจุครู 737 อัตรา รายงานตัว 12 14 ก.พ. 2561 นี้
สอศ. เรียกบรรจุครู 737 อัตรา รายงานตัว 12 14 ก.พ. 2561 นี้
 
คำสั่งออกค่ายอาสา นักศึกษาปริญญาตรี ฉ.3 รุ่น 5 (ฉบับแก้ไข)
คำสั่งออกค่ายอาสา นักศึกษาปริญญาตรี ฉ.3 รุ่น 5 (ฉบับแก้ไข)คำสั่งออกค่ายอาสา นักศึกษาปริญญาตรี ฉ.3 รุ่น 5 (ฉบับแก้ไข)
คำสั่งออกค่ายอาสา นักศึกษาปริญญาตรี ฉ.3 รุ่น 5 (ฉบับแก้ไข)
 
ประกาศรับสมัคร นักศึกษาระดับปริญญาตรี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนื...
ประกาศรับสมัคร นักศึกษาระดับปริญญาตรี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนื...ประกาศรับสมัคร นักศึกษาระดับปริญญาตรี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนื...
ประกาศรับสมัคร นักศึกษาระดับปริญญาตรี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนื...
 
ประกาศรายชื่อ นศ. โควต้า เข้าศึกษาต่อวิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปีการศึกษา...
ประกาศรายชื่อ นศ. โควต้า เข้าศึกษาต่อวิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปีการศึกษา...ประกาศรายชื่อ นศ. โควต้า เข้าศึกษาต่อวิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปีการศึกษา...
ประกาศรายชื่อ นศ. โควต้า เข้าศึกษาต่อวิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปีการศึกษา...
 
สูจิบัตร กีฬาสี 60 วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
สูจิบัตร กีฬาสี 60 วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ดสูจิบัตร กีฬาสี 60 วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
สูจิบัตร กีฬาสี 60 วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
 
คำสั่งย้ายครู สังกัด สอศ. จำนวน 364 ราย สั่ง ณ วันที่ 22 พ.ย. 2560
คำสั่งย้ายครู สังกัด สอศ. จำนวน 364 ราย สั่ง ณ วันที่ 22 พ.ย. 2560คำสั่งย้ายครู สังกัด สอศ. จำนวน 364 ราย สั่ง ณ วันที่ 22 พ.ย. 2560
คำสั่งย้ายครู สังกัด สอศ. จำนวน 364 ราย สั่ง ณ วันที่ 22 พ.ย. 2560
 
วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด รับสมัครครูช่างยนต์ 1 อัตรา
วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด รับสมัครครูช่างยนต์ 1 อัตราวิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด รับสมัครครูช่างยนต์ 1 อัตรา
วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด รับสมัครครูช่างยนต์ 1 อัตรา
 
วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประกาศรับสมัครนักเรียนนักศึกษาใหม่ ประจำปีการศึกษา ...
วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประกาศรับสมัครนักเรียนนักศึกษาใหม่  ประจำปีการศึกษา ...วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประกาศรับสมัครนักเรียนนักศึกษาใหม่  ประจำปีการศึกษา ...
วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประกาศรับสมัครนักเรียนนักศึกษาใหม่ ประจำปีการศึกษา ...
 
แม่พิมพ์ไม่มีวันตายหรอก
แม่พิมพ์ไม่มีวันตายหรอกแม่พิมพ์ไม่มีวันตายหรอก
แม่พิมพ์ไม่มีวันตายหรอก
 
อนุมัติใช้หลักสูตรปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พ.ศ. 2560
อนุมัติใช้หลักสูตรปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พ.ศ. 2560อนุมัติใช้หลักสูตรปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พ.ศ. 2560
อนุมัติใช้หลักสูตรปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พ.ศ. 2560
 
การอุปสมบทถวายเป็นพระราชกุศล เนื่องในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด...
การอุปสมบทถวายเป็นพระราชกุศล เนื่องในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด...การอุปสมบทถวายเป็นพระราชกุศล เนื่องในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด...
การอุปสมบทถวายเป็นพระราชกุศล เนื่องในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด...
 
ผลเกรดกิจกรรม 1/2560 ของ นักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ผลเกรดกิจกรรม 1/2560 ของ นักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ดผลเกรดกิจกรรม 1/2560 ของ นักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ผลเกรดกิจกรรม 1/2560 ของ นักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
 
คำสั่งอบรมภาวะผู้นำ ฉ.3 วันที่ 3-4 ก.ย. 60
คำสั่งอบรมภาวะผู้นำ ฉ.3 วันที่ 3-4 ก.ย. 60คำสั่งอบรมภาวะผู้นำ ฉ.3 วันที่ 3-4 ก.ย. 60
คำสั่งอบรมภาวะผู้นำ ฉ.3 วันที่ 3-4 ก.ย. 60
 
กำหนดการซ้อมและรับพระราชทานปริญญาบัตรและลำดับที่นั่งบัณฑิต ฉ.3
กำหนดการซ้อมและรับพระราชทานปริญญาบัตรและลำดับที่นั่งบัณฑิต ฉ.3กำหนดการซ้อมและรับพระราชทานปริญญาบัตรและลำดับที่นั่งบัณฑิต ฉ.3
กำหนดการซ้อมและรับพระราชทานปริญญาบัตรและลำดับที่นั่งบัณฑิต ฉ.3
 
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานซ้อมรับพระราชทานปริญญาบัตร (ซ้อมย่อย) ฉ.3
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานซ้อมรับพระราชทานปริญญาบัตร (ซ้อมย่อย) ฉ.3คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานซ้อมรับพระราชทานปริญญาบัตร (ซ้อมย่อย) ฉ.3
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานซ้อมรับพระราชทานปริญญาบัตร (ซ้อมย่อย) ฉ.3
 
ขั้นตอนการตรวจสอบฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐ ผ่านระบบ e-filling ของกรมบัญชีกลาง
ขั้นตอนการตรวจสอบฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐ ผ่านระบบ e-filling ของกรมบัญชีกลางขั้นตอนการตรวจสอบฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐ ผ่านระบบ e-filling ของกรมบัญชีกลาง
ขั้นตอนการตรวจสอบฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐ ผ่านระบบ e-filling ของกรมบัญชีกลาง
 
ประกาศผลสอบครูผู้ช่วย สอศ. ผู้มีสิทธิ์สอบ ภาค ค. รหัสสาขา 301-311
ประกาศผลสอบครูผู้ช่วย สอศ. ผู้มีสิทธิ์สอบ ภาค ค. รหัสสาขา 301-311ประกาศผลสอบครูผู้ช่วย สอศ. ผู้มีสิทธิ์สอบ ภาค ค. รหัสสาขา 301-311
ประกาศผลสอบครูผู้ช่วย สอศ. ผู้มีสิทธิ์สอบ ภาค ค. รหัสสาขา 301-311
 
ประกาศผลสอบครูผู้ช่วย สอศ. ผู้มีสิทธิ์สอบ ภาค ค. รหัสสาขา 401-702
ประกาศผลสอบครูผู้ช่วย สอศ. ผู้มีสิทธิ์สอบ ภาค ค. รหัสสาขา 401-702ประกาศผลสอบครูผู้ช่วย สอศ. ผู้มีสิทธิ์สอบ ภาค ค. รหัสสาขา 401-702
ประกาศผลสอบครูผู้ช่วย สอศ. ผู้มีสิทธิ์สอบ ภาค ค. รหัสสาขา 401-702
 

อานาปานสติ 16 ขั้น สอนโดย พระมหาวรพรต กิตฺติวโร (ป.ธ.6).pdf