SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 37
Baixar para ler offline
ทวีปยุโรป
เป็นทวีปที่มี
คาบสมุทรมากมาย
ทวีปแห่งนี้เป็นที่ตั้ง
ของอารธรรมที่
เจริญรุ่งเรืองอย่าง
มากหลายๆแห่ง
และมีผลต่อ
อารยธรรมใน
ส่วนอื่นๆของโลก
ภาพทั้งสอง แสดงบริเวณของทวีปยุโรป
มนุษย์นีแอนเดอร์ธัล
รวมทั้งสายพันธุ์ของมนุษย์ใน
อดีต ได้อาศัยอยู่ในขอบเขต
ของทวีปนี้มานานแล้ว
มีรายงานการพบกระดูกของ
มนุษย์สมัยก่อน
ประวัติศาสตร์ที่เมือง
Dmanisi ประเทศจอร์เจีย
ซึ่งกระดูกเหล่านั้นคาดว่ามี
อายุราว 2 ล้านปีก่อน
คริสตกาล
และกระดูกของมนุษย์
ปัจจุบันที่เก่าแก่ที่สุด
ประมาณ 35,000 ปี
ก่อนคริสตกาล
มีการพบหลักฐานการ
ตั้งถิ่นฐานในบริเวณนั้น
ซึ่งคาดว่าเกิดขึ้นราวๆ
7,000 ปีก่อนคริสตกาล
สายพันธุ์มนุษย์ในสมัยก่อน
ภาษาในปัจจุบันกว่า50%
มีรากศัพท์เดียวกันจาก
ภาษาของมนุษย์ใน
บริเวณแถบยุโรป
ซึ่งตั้งถิ่นฐานไปทั่ว
โดยรวมแล้วยุโรปกลางเข้าสู่ยุค
2000 ปีก่อนคริสตกาลเริ่มมี
อารยธรรมที่มีความรู้ด้านการ
อ่าน-เขียนในยุโรปคืออารยธรรม
ของพวกมิโนน(Minoans)
และไมเซเนียน(Myceneans)
*พวกเขาเคยอาศัย
ใกล้กรีซในปัจจุบัน
ราว ๆ 400 ปีก่อนคริสตกาล วัฒนธรรมลาทีเน่ (La Tène)
ซึ่งเป็นวัฒนธรรมในยุคเหล็ก
ได้แพร่กระจายไปเกือบทั่วภาคพื้น
พวกอีทรัสกัน (Etruscans) ได้เข้าไปตั้งรกราก
ในตอนกลางของอิตาลี และ ลอมบาดี (Lombady)
ซึ่งอยู่ตอนเหนือของอิตาลีปัจจุบัน
หินใหม่ในช่วง 6000 ปี
ก่อนคริสตกาล และ
4000-5000ปี ในตอนเหนือ
ตามความหมายโดยทั่ว
กันแล้ว จะหมายถึงยุค
สมัยเริ่มแรก ที่มนุษย์ได้
ตั้งถิ่นฐานอาศัยกันเป็น
กลุ่ม และเริ่มสร้างสรรค์
อารยธรรมต่างๆ
เป็นของตน
หรือบ้างก็เรียกว่า
สมัยคลาสสิกใช้กว้าง ๆ
สาหรับสมัย
วัฒนธรรมที่มีศูนย์กลาง
อยู่ในเมดิเตอร์เรเนียน
อารยธรรมบริเวณนี้
ผสมระหว่าง
กรีก และ โรมัน
หรือเรียกได้ว่าเป็น
โลก กรีก-โรมัน
ราว700-800ปีก่อน
คริสตศตวรรษ
ถือกันว่าเริ่มขึ้นเมื่อมีการ
บันทึกวรรณกรรมกรีกเป็น
ครั้งแรกที่เริ่มด้วยมหา
กาพย์ที่โฮเมอร์ กวีตาบอด
เป็นผู้แต่ง ซึ่งมี 2 ภาค
ได้แก่ ภาค และภาค
เป็นเรื่องราวผจญ
ภัยของ กษัตริย์โอดิสซี ยอด
แม่ทัพกรีก ระหว่างเดินทาง
กลับเมืองหลังสงครามกรุง
ทรอย มหากาพย์นี้เป็น
วรรณคดีที่มีค่าของโลก
และแปลเป็นภาษามากมาย
วรรณคดี’อิลเลียต’ได้แปล
เป็นหลายภาษา
รูปปั้นเหมือนของโฮเมอร์
นครซึ่งเติบโตขึ้นจาก
หมู่บ้านเล็ก ๆ ใน
ศตวรรษที่ 9 ก่อนคริสตกาล
มาเป็นศูนย์กลางอารยธรรม
อันยิ่งใหญ่ มีอานาจครอบคลุม
ภูมิภาคเมดิเตอร์เรเนียน
มาถึงหลายศตวรรษ ตลอด
ระยะเวลาที่เป็นเมืองหลวง
ของจักรวรรดิโรมัน
ระยะเวลากว่า 2,700 ปีของ พวกคนเถื่อน
พวกกอท(Goth)
ต่างบุกโจมตีโรมันอย่าง
ต่อเนื่อง จนในที่สุด เหล่า
คนเถื่อนก็สามารถตีกรุง
โรมแตกได้ และโรมัน
ตะวันตกก็ล่มสลายลง ใน
ค.ศ.476
เป็นอันจบ สมัยโบราณ
ภาพจาลองกรุงโรมขณะรุ่งเรือง
ยุคกลาง หรือ สมัยกลาง ของยุโรปอยู่
ในช่วงคริสตศตวรรษที่5-15 โดยนับตั้งแต่
การล่มสลายของจักรวรรดิโรมันตะวันตก
สมัยกลางคือช่วงเวลาตรงกลางของการ
เปลี่ยนผ่านประวัติศาสตร์
สมัยคลาสสิก สมัยกลาง และสมัยใหม่
ยุคกลางยังคงแบ่งเป็นตอนต้น ตอนกลาง
และตอนปลาย
เมื่อรวบรวมดินแดนทางยุโรปตะวันตก
ไว้ได้มากมาย เขาก็ไปทาสัญญากับพระ
สันตะปาปาขึ้นเป็นจักรพรรดิของ
อาณาจักรโรมันตะวันตก จากที่เคย
ล่มสลายไป ภายใต้ชื่อ "จักรวรรดิโรมัน
อันศักดิ์สิทธิ์(Holy Roman Empire)“
เพื่อเป็นอิสระจากโรมันตะวันออก
เมื่อกรุงโรม
ล่มสลายแล้ว
พวกแฟรงค์(Frank)
คนเถื่อนทาง
ประเทศฝรั่งเศส
ได้เข้ามา
ปกครองโดย
“พระเจ้า
ชาร์เลอมาญ”
ภาพวาดของ กษัตริย์
ชาร์เลอมาญ หรือ
ชาร์ลมหาราช
ยุคมืด (Dark Age)
จักรวรรดิโรมันตะวันตกอยู่ใน
สภาพที่ป่าเถื่อน
มีความเดือดร้อน และ
สงครามอยู่ทั่วไป
เศรษฐกิจ
เกษตรกรรมมี
ความสาคัญต่อ
จักรวรรดิเป็นอย่างมาก
เกษตรกรจาเป็นต้อง
เป็นทาสติดที่ดิน(Serf)
ดารงชีวิตอยู่ในเขตของ
ขุนนาง(manor)
เป็นเศรษฐกิจแบบพอ
เลี้ยงชีพ
แมเนอร์(manor)เป็นที่ดิน
ของขุนนาง มีที่ให้ทาเกษตร
หลังจักรวรรดิล่มสลาย
การค้าหยุดลงกว่า500
ปี ก่อนที่ยุโรปจะฟื้นตัว
เป็นปึกแผ่น และหมด
ซึ่งการรุกราน
ค.ศ.476-1050
สภาพสังคม
สมัยกลางตอนต้นมี
ความวุ่นวายมาก ขาด
ระเบียบวินัยและความ
มั่นคง คริสต์ศาสนาได้
เข้ามามีบทบาท
โดยยึดเหนี่ยวผู้คนไว้
ใช้การปกครองแบบฟิวดัล
หรือระบบศักดินา แบ่งเป็น
ชนชั้น ชาวนา นักบวช
และกษัตริย์-ขุนนาง
แผนผังระบบฟิวดัลแบบคร่าวๆ
พระสันตะปาปา ขอให้
ชาวคริสต์นากาลังไป
ช่วยเหลือจักรวรรดิโรมัน-
ตะวันออกที่กาลังถูกพวก
อาหรับเข้ายึดครองอยู่
กองทัพของผู้ศรัทธานากาลัง
บุกเข้าไปถึง เยรูซาเลม
ที่ถูกชาวอาหรับครอบครอง
ผลจากสงครามนี้
นอกจากคามเสียหายที่
เกิดขึ้น ก็มีการเผยแพร่
ความรู้ ความเจริญ
วิทยาการในโลก
ตะวันออก และเกิด
การค้าขายขึ้นระหว่าง
ภูมิภาค ยุโรปจึงค่อยๆ
ฟื้นตัวขึ้นจากยุคมืด
ดังที่ได้รู้กันว่า สงครามครูเสด
ทาให้ทวีปฟื้นตัวขึ้นด้วย
วิทยาการและการค้าขาย จึงเข้าสู่
ยุคกลางอย่างเต็มตัว เศรษฐกิจ
จึงเจริญรุ่งเรืองขึ้นอย่างมาก
นี่คือสมัยที่ศาสนจักร
มีอานาจรุ่งเรืองถึงขีดสุด
ค.ศ. 1051 – 1350
ภาพบรรยายลักษณะโดยทั่วไปในเมืองยุครุ่งเรือง
เศรษฐกิจ
เกษตรกรรมยังคงเป็น
อาชีพหลักที่ขาดไม่ได้
เมืองต่างๆ เป็น
ศูนย์กลางการค้า เกิด
ระบบต้นแบบทุนนิยม
มีการติดต่อค้าขายกับ
โลกฝั่งตะวันออกใน
เบื้องต้น เป็นรากฐาน
ของการริเริ่มสารวจ
ดินแดนต่างๆ
สังคม
ในยุคกลางที่รุ่งเรืองนี้มี
ประชากรเพิ่มขึ้นอย่างมาก
จึงต้องมีเสบียงอาหารให้พอ
เหล่าขุนนางจึงจ่ายค่าจ้าง
กับทาสติดที่ดิน พวกเขาจึง
ได้รับอิสระในเวลาต่อมา serf หรือทาสติดที่ดิน
มื้ออาหารทั่วไปในยุคกลาง มี ขนมปัง ลูกฟิก
ปลาเฮอร์ริง ธัญพืชต่างๆ
สมัยยุคกลางอันรุ่งโรจน์
มีการฟื้นตัวของ
เศรษฐกิจและเมือง
ได้มีชนชั้นเพิ่มขึ้น
จากเดิม ซึ่งก็คือ ชน
ชั้นกระฎุมพี หรือ
ชนชั้นกลาง นั่นเอง
พวกเขา อาศัยในเขตเมือง
ประกอบอาชีพมากมาย
เช่น ช่างฝีมือ ลูกจ้าง
พ่อค้า อาจารย์ ฯลฯ ทั่วไป
พวกเขาเหล่านี้
ร่วมกันวางรากฐาน
ความเจริญ และรูปแบบ
ของสังคม เช่น สิทธิหน้าที่
การจัดเก็บภาษี ทาให้
ระบบสังคมในยุโรป
ดีขึ้นตามลาดับ
ช่างไม้ชนชั้นกลาง
การปกครอง
ยังคงใช้ระบบฟิวดัล แต่ระบบ
นี้ก็เสื่อมลงตามกาลเวลาหลัง
คริสตศตวรรษที่ 13
เนื่องจากมีทาสติดที่ดิน ได้รับ
อิสรภาพมากขึ้น
ชนชั้นกลาง
ตามที่เข้าใจกันแล้ว ว่า
ทางานจิปาถะต่างๆทั่วไป
จึงเริ่มมีการรวมกลุ่มผู้ที่ทา
อาชีพเดียวกัน เพื่อ
แลกเปลี่ยนความรู้ และ
ประโยชน์ทางการค้าขาย
โดยจะเรียกสมาคมนี้ว่า
กิลด์(Guild)
‘กิลด์’ ของช่างตัดเสื้อ ทางานร่วมกัน
ทาสติดที่ดิน ทาเกษตรอยู่ในแมเนอร์
ช่วงเวลานี้เป็นช่วงระยะเวลาของการ
เปลี่ยนแปลงไปสู่ความเป็นสมัยใหม่ ทั้งด้าน
การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ศาสนาถูกลด
บทบาทลง มีการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองใน
ดินแดนต่างๆ เกิดความก้าวหน้าในหลายๆด้าน
โลกกาลังเข้าสู่ยุคใหม่มากขึ้นเรื่อยๆ
ค.ศ. 1270 – 1492
ต่อเนื่องหลังจากจบสงครามครูเสด
เป็นส่วนหนึ่งให้ระบบ
ฟิ วดัล ไม่มีอีกต่อไป เนื่องจาก
เหล่าขุนนางเสียทั้งจานวน
คนและทรัพย์สิน เหล่า
ทาสก็เป็นอิสระ อานาจของ
ขุนนางลดลง กษัตริย์มีอานาจ
ขึ้นมาแทน นาไปสู่ประชาธิปไตย
สภาพสังคม
มีการสร้างนวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์ล้าหน้า
เช่นเครื่องพิมพ์จานวนมาก และยังทาให้ชาว
ยุโรปมีการกระจายความรู้อย่างทั่วถึง และหัน
มาสนใจในวิทยาศาสตร์และการสารวจ ก่อเกิด
เป็นยุคแห่งการสารวจ
คริสโตเฟอร์ โคลอมบัส
ค้นพบอเมริกา(1492)
วาสโก เดอ กามา แล่นเรือข้าม
แหลมกู๊ดโฮปเข้าสู่อินเดีย(1498)
วัฒนธรรมตะวันตกแพร่กระจายออกไป และเผยแผ่
ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกและโปรเตสแตนต์เกิด
การปฏิวัติทางการค้าเมื่อหลากประเทศในยุโรปทาการค้า
เหล่าพ่อค้าจึงผลิตสินค้าจานวนมาก ก่อให้เกิดการพัฒนา
เศรษฐกิจ ณ จุดนี้ ถือได้ว่ายุโรปเข้าสู่ยุคสมัยใหม่แล้ว
เศรษฐกิจ
บ้านมืองเริ่มสงบ การค้าจึงมั่นคง
ทั้งทางบกและทะเล
มีสินค้าต่างประเทศเข้ามาในยุโรป
เช่น ผ้าไหม ข้าว เครื่องเทศ
มีการทาเหมือง ซึ่งใช้ผลิตเหรียญ
มีการสร้างเส้นทางคมนาคม
หลังจากการรวมกลุ่มทางการค้าเริ่ม
แพร่หลาย นายทุนมีอิทธิพลต่อ
เศรษฐกิจ จึงเกิดระบบทุนนิยม และ
การค้าของชาติตะวันตกก็
ขยายตัวมากขึ้นไปยังระดับโลก
นับว่าเป็นการค้าสมัยใหม่ก็ว่าได้
เป็นช่วงยุคคาบเกี่ยว
ระหว่างยุคกลางตอน
ปลายและสมัยใหม่
ตอนต้น ซึ่งเกิดการ
เปลี่ยนแปลงลักษณะ
วัฒนธรรม ราวๆ
คริสตศตวรรษที่14-16
มีทั้งการปฏิรูปของงาน
ศิลปะ การศึกษา ฯลฯ
ศิลปะเรอแนซ็องส์ คานี้
หมายถึง การเกิดใหม่ เพื่อระลึก
ถึงศิลปะกรีกและโรมันในอดีต
ศิลปะแนวนี้เน้นเอกลักษณ์ของ
บุคคล กายวิภาคมนุษย์
ธรรมชาติ
กระตุ้นให้เกิดการหาความรู้
ทางวิทยาศาสตร์
วิทยาการแขนงต่างๆ
การกาเนิดของเทพีวีนัส(1486) โดย Sandro Botticelli
เป็นศิลปะแบบเรอแนซ็องส์
ค.ศ. 1492-1945
นี่คือยุคสมัยใหม่แห่งทวีปยุโรป
ด้วยรากฐานของสังคม
ที่ได้สร้างไว้ในสมัยกลาง
ทาให้ในยุคใหม่นี้ ยุโรปมีความ
เจริญก้าวหน้าเป็นอย่างมาก
ทั้งด้านเศรษฐกิจ และรูปแบบ
การปกครอง ที่มีอิทธิพลไปทั่วโลก
อารยธรรมต่างๆ นา
เทคโนโลยีเข้ามาใช้
เริ่มยึดหลักความจริง
หลุดพ้นจากความ
เชื่องมงาย
อย่างเช่นในอดีต
ศาสนจักรเคยได้มีอานาจ
มากมายในยุคกลาง มีทั้งการ
เก็บสมบัติไว้ ทั้งยังมีอิทธิพล
ต่อการเมือง มีการเก็บเงินค่า
ทาพิธี ซึ่งขัดกับการดารงชีวิต
ของนักบุญ จึงเกิด การปฏิรูป
ศาสนา ขึ้น ทาให้คริสตศาสนา
แตกออกเป็นหลายนิกาย
ศาสนจักร ตั้งกฎบังคับมากมาย
เนื่องจากการฟื้นฟูศิลปะ ทาให้
ต้องใช้ความรู้เรื่องกล้ามเนื้อเพื่อ
ทาจิตรกรรม ผู้คนจึงสนใจการวิจัย
ร่างกายของมนุษย์ และเกิด
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
แล้วยังมีความสนใจในการสารวจ
ทาให้เกิดการประดิษฐ์สิ่งต่างๆเช่น
กล้องดูดาว กล้องส่องทางไกล
พัฒนาวิธีการต่อเรือ กันอย่างจริงจัง
กาลิเลโอ กาลิเออิ(1564- 1642)
ผู้ประดิษฐ์กล้องดูดาว
อังกฤษเป็นผู้นาเอาความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์ มาปรับใช้กับ
การเกษตร เพื่อเพิ่มผลผลิต
จึงทาให้ประเทศมีความรุ่งเรือง
จนเป็นการปฏิวัติเกษตรกรรม
นาไปสู่ความก้าวหน้าด้าน
อุตสาหกรรมในเวลาต่อมา
=-=-=-=-=-=-=-=-=-=-=-=-=-=-=-=-=-=-=-=-=-=-=
เกาะอังกฤษ อยู่บริเวณตะวันตกของยุโรป
ค.ศ. 1760 - 1850
ด้วยความเปลี่ยนแปลง
มากมายที่เกิดขึ้น ส่งผล
กระทบต่อสังคมเป็นอย่างมาก
ที่มา
แน่นอนว่าพลังงานความ
ร้อนเป็นสิ่งที่ผู้คนต้องใช้มา
นานแล้ว ไม่ว่าจะปรุง
อาหาร หรือให้ความอบอุ่น
ซึ่งล้วนใช้เชื้อเพลิง ที่ทุกคน
นึกถึงก็คือไม้ฟืน แต่
เชื้อเพลิงนี้ขนส่งได้ยากและ
มีประสิทธิภาพน้อย
หลังจากมีการทาเหมือง ผู้คน
ก็หันมาใช้ถ่านหิน
แต่ก็ยังไม่ปัญหาอยู่ คือ
เหมืองเกิดน้าท่วมอยู่บ่อยๆ
ทาให้Thomas Newcomen
ประดิษฐ์เครื่องสูบน้าพลังไอ
น้าขึ้นในอังกฤษ ทาให้เกิด
แหล่งเชื้อเพลิงราคาถูก
ถ่านหินในปัจจุบันยังคงมีราคาถูก
ในราคา กก.ละ0.12USD หรือเพียง 4บาท
เพราะเป็นนวัตกรรมใหม่ในสมัยนั้น
และเชื้อเพลิงก็มีราคาค่อนข้างถูก
ผู้คนในระบบอุตสาหกรรมต่างใช้
เครื่องจักรไอน้าในโรงงานในบางส่วน
แทนการใช้คน เพื่อให้ได้ผลผลิตมากๆ
เครื่องจักรไอน้าเป็นที่นิยมอย่างมาก
ใช้แรงดันสูงจากไอน้าเพื่อ
ดันลูกสูบไปขับเคลื่อนกลไก
นอกจากนี้ก็เกิดการสร้างระบบ
หมุนเวียนน้า เพื่อนาเข้ามา
ใช้ควบคู่กับเครื่องจักรไอน้า
ระบบลูกสูบที่ใช้มีการพัฒนา
เรื่อยๆจนถึงปัจจุบัน
โรงงานเครื่องจักรไอน้า
ตั้งอยู่ใกล้แม่น้าในช่วงต้นๆ
จากเหตุการณ์ดังกล่าว ผู้คน
จึงต้องการพัฒนาสิ่งประดิษฐ์
นวัตกรรมเพิ่มขึ้น อาทิเช่น
เครื่องปั่นด้าย ได้มีการพัฒนา
จากรุ่นต่างๆ อันมี
ประสิทธิภาพ ทาให้เกิด
โรงงานปั่นฝ้ายเพิ่มขึ้น
การผลิตโลหะ มีถ่านหินมาใช้
ทั่วไปแทนฟืนไม้ พร้อมกับ
นวัตกรรมการพิมพ์/หล่อโลหะ
และอื่นๆ อีกหลายประการ
โรงงานปั่นด้ายในยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม
ภาพวาด เหล็กและถ่านหิน
โดยWilliam Bell Scott
สื่อถึงการใช้ถ่านหิน
อย่างแพร่หลาย
เมื่ออุตสาหกรรมเติบโตขึ้น ย่อมมีความ
ต้องการแรงงานเพื่อใช้ในการผลิต
มากขึ้น จึงเกิด ชนชั้นแรงงาน ทาให้
เกิดความเหลื่อมล้าทางสังคมมากขึ้น
อีกเรื่องที่ไม่ทราบได้ว่าจะดีหรือไม่
นั่นคือส่งผลให้อังกฤษเจริญก้าวหน้า
อย่างยิ่ง และเข้าสู่การล่าอาณานิคม
ดังที่ทั่วโลกต่างยกให้สหราชอาณาจักร
เป็นหนึ่งในมหาอานาจในสมัยนั้น
อย่างไรก็ตาม นี่อาจไม่ใช่เรื่องดีเสมอไป
แผนที่โลก แสดงบริเวณที่อังกฤษเคยยึดได้
เป็นการปฏิวัติใหญ่ที่เกิดขึ้นในปี1789
เปลี่ยนแปลงโฉมหน้าทางการเมืองทั่วยุโรป
เป็นการปฏิวัติโดยกลุ่มชนชั้นกลางที่ต้องการเข้า
มามีส่วนร่วมในการปกครองโดยการล้มล้างการ
ปกครองในระบอบเก่า (Ancient Regime) หรือ
ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (Absolutism) มาสู่
อานาจอธิปไตยของประชาชน
หากจะให้กล่าวถึงตัวของการปฏิวัติ
เกรงว่าจะมีเนื้อหามากเกินไป ในที่นี้ จึงจะ
ขอสรุปภาพรวม ดังที่กล่าวไปในหน้าก่อน
หน้า และผลกระทบที่ตามมาเท่านั้น
ผลกระทบของการปฏิวัติ
-ยกเลิกระบบฟิวดัล(ชนชั้น)
อย่างเป็นทางการ
-ศาสนจักรถูกควบคุมอานาจ
-หมดซึ่งระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
-ล้มล้างพวกผู้มีสิทธิพิเศษ
-สิ้นสุดราชวงศ์บลูบลองก์
-ทาสงครามกับต่างชาติ
-เกิดความวุ่นวาย(ผู้คนยังใช้ระบอบเก่า)
-ขยายอิทธิพลแนวคิดการปกครอง
การปกครองในปัจจุบัน
ประชาธิปไตย
เน้นเหตุผลและเสรีภาพ
ประชาชนถือครองอธิปไตย
ภายใต้กฎหมาย ระบอบนี้มี
มาตั้งแต่สมัยกรีกโบราณแล้ว
การประชุมสภาในสมัยโรมัน
คอมมิวนิสต์
อ้างเอาอุดมการณ์ โดย
เป้าหมายคือสร้างสังคม
ที่ปราศจากชนชั้น
มีความเสมอภาคกัน
เริ่มขึ้นในสหภาพโซเวียต
ปัจจุบันเหลือ
เพียงไม่กี่ประเทศ
หัวหน้าพรรคคอมมิวนิสต์ในอดีต
-
-
เป็นแลนด์มาร์คอันโด่งดัง
ที่ทุกคนน่าจะรู้จัก ทิวทัศน์
โดยรอบนั้นช่างสดใส
การมาถ่ายรูปกับสถานที่
ท่องเที่ยวในเมืองที่
โรเมนติกเป็นอะไรที่ดีจริงๆ
-
1 ใน 7 สิ่งมหัศจรรย์ของโลก
คนโบราณสร้างสิ่งนี้ได้อย่างไร
สนามกีฬาวงกลมกลางแจ้ง
ขนาดที่ใหญ่กว่า
สนามบอลเสียอีก
หากคุณชอบประวัติศาสตร์
ก็ควรดูไปสักครั้ง
-
1 ใน 7 สิ่งมหัศจรรย์ของโลก
เช่นกัน เพราะมันเอนเอียงมา
หลายร้อยปีแล้วและไม่ล้มสักที
บางที คุณอาจจะไปถ่ายรูป
สวยๆ เจ๋งๆ กับหอคอยได้นะ
-
วิหารคริสตจักร ร่วมกับเมืองเล็กๆ ตั้งอยู่บนเกาะกลางทะเล
มีความสวยงามตามธรรมชาติต้องลองไปสักครั้ง
รับรองว่าคุ้มค่ากับการถ่ายรูปและเสพบรรยากาศน่นอน
-
เมืองเล็กๆทางตอนเหนือ ได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก
ตั้งอยู่กับทะเลสาบอันกว้างขวาง มีภูเขาสูงชันล้อมรอบ
อากาศเย็น สดชื่น สงบ นักท่องเที่ยวถึงกับติดใจ
ในความสวยงามและมาเยือนไม่ขาดสาย

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

4 plantrespo plan
4 plantrespo plan4 plantrespo plan
4 plantrespo plan
Wichai Likitponrak
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
oranuch_u
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
kruannchem
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
Pinutchaya Nakchumroon
 
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
krudararad
 
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
Wichai Likitponrak
 

Mais procurados (20)

ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
Type of forest
Type of forestType of forest
Type of forest
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
4 plantrespo plan
4 plantrespo plan4 plantrespo plan
4 plantrespo plan
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
 
ใบงาน 7
ใบงาน 7ใบงาน 7
ใบงาน 7
 
ติวการลำเลียงสาร
ติวการลำเลียงสารติวการลำเลียงสาร
ติวการลำเลียงสาร
 
ศาสนายิว
ศาสนายิวศาสนายิว
ศาสนายิว
 
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหารหน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
 
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
 
1chrmosome
1chrmosome1chrmosome
1chrmosome
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
 

Semelhante a ยุโรป วารสาร v1.2 [37 หน้า]

ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
mocxx
 
ซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทย
ซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทยซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทย
ซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทย
Aphichati-yas
 
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ทศวรรษ โตเสือ
 
เมโสโปเตเมีย
เมโสโปเตเมียเมโสโปเตเมีย
เมโสโปเตเมีย
bew lertwassana
 

Semelhante a ยุโรป วารสาร v1.2 [37 หน้า] (20)

3.4 อารยธรรมกร ก
3.4 อารยธรรมกร ก3.4 อารยธรรมกร ก
3.4 อารยธรรมกร ก
 
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
 
มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก
 
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรมUnit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
 
มังกรหยกแกะสลักยุค
มังกรหยกแกะสลักยุคมังกรหยกแกะสลักยุค
มังกรหยกแกะสลักยุค
 
บทที่ ๓ ศาสนาอียิปต์โบราณ
บทที่ ๓ ศาสนาอียิปต์โบราณบทที่ ๓ ศาสนาอียิปต์โบราณ
บทที่ ๓ ศาสนาอียิปต์โบราณ
 
3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก
 
ไดโนเสาร
ไดโนเสาร ไดโนเสาร
ไดโนเสาร
 
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
 
อารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตกอารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตก
 
อารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตกอารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตก
 
อารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตกอารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตก
 
มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลกมรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก
 
ซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทย
ซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทยซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทย
ซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทย
 
บทที่ 7 เอกภพและกาแล็กซี.pptx
บทที่ 7 เอกภพและกาแล็กซี.pptxบทที่ 7 เอกภพและกาแล็กซี.pptx
บทที่ 7 เอกภพและกาแล็กซี.pptx
 
แผ่นพับ ไดโนเสาร์
แผ่นพับ ไดโนเสาร์แผ่นพับ ไดโนเสาร์
แผ่นพับ ไดโนเสาร์
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
 
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
 
เมโสโปเตเมีย
เมโสโปเตเมียเมโสโปเตเมีย
เมโสโปเตเมีย
 

ยุโรป วารสาร v1.2 [37 หน้า]