SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 48
การใช้โปรแกรม
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ (Operating System
• เป็นซอฟต์แวร์ระบบ
• หน้าที่เป็นตัวกลางในการติดต่อและควบคุม
อุปกรณ์ต่างๆ ของระบบคอมพิวเตอร์
• เป็นตัวกลางในการับคาสั่งจากซอฟต์แวร์
อื่นๆ
ระบบปฏิบัติการ (Operating System
• DOS
• PC-DOS
• DR-DOS
 OS/2
 UNIX
 MS-DOS
DOS
• Disk operating system คือ ระบบปฏิบัติการประเภทหนึ่ง รู้จักกันดี
ภายใต้ชื่อย่อว่า ‘DOS’ มีความพิเศษตรงที่เป็นระบบปฏิบัติการณ์ในช่วงยุค
แรกของเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยมีใช้ครั้งแรกบนเครื่อง IBM PC ในช่วงปี
ค.ศ. 1981 ซึ่งในช่วงเวลานั้นถูกเรียกว่าโปรแกรม ‘PC-DOS’ ต่อมาทาง
บริษัท Microsoft ได้สร้าง MS-DOS ขึ้นมาเพื่อใช้สาหรับเครื่อง
คอมพิวเตอร์ทั่วไป จนกระทั่งได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายจากผู้คนจานวน
มา และได้รับการต่อยอดมาจนกระทั่งถึงปัจจุบัน
ความหมาย
• DOS ดอส ย่อมาจากคาว่า disk operating system (แปลว่า
ระบบปฏิบัติการแบบใช้จาน) หมายถึง โปรแกรมระบบที่ทาหน้าที่สั่งการให้เครื่อง
ไมโครคอมพิวเตอร์ทางาน ถ้าจะแปลให้ตรงตัว ก็จะเรียกได้ว่า เป็นระบบปฏิบัติการ
แบบที่ใช้จานบันทึกข้อมูล เรามักจะใช้คาย่อมากกว่าคาเต็มเสียอีก ส่วน
ระบบปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์เครื่องใหญ่ เรียกว่า OS อ่านว่า โอเอส
(Operating System) ระบบปฏิบัติการที่ใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์
ประเภทเทียบเคียงกับไอบีเอ็ม (IBM compatibles) หรือพีซี (PC) จะใช้
"ดอส" ที่เขียนโดยบริษัทไมโครซอฟต์ นิยมเรียกกันว่าMS-DOS หรือ
Microsoft DOS ส่วนระบบปฏิบัติการที่ใช้กับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช มี
ชื่อว่า System 6 หรือ 7
ความเป็นมา
• Dos เริ่มมีใช้ครั้งแรกบนเครื่อง IBM PC ประมาณปี ค.ศ. 1981 เรียกว่า
โปรแกรม PC-DOS ต่อมาบริษัทไมโครซอฟต์ได้สร้าง MS-DOS
สาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไป และได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายมาจนถึง
ปัจจุบัน ตั้งแต่รุ่น Versions 1.0 2.0 3.0 3.30 4.0 5.0 6.0 และ
6.22 ปัจจุบันมีซอฟต์แวร์ทางานภายใต้ระบบปฏิบัติการ MS-DOS อยู่
เป็นจานวนมาก โดยเฉพาะไมโครคอมพิวเตอร์รุ่นเก่าๆ ที่มีทรัพยากรของระบบ
น้อย
ตัวอย่างหน้าต่างระบบปฏิบัติการ MS-Dos
ระบบปฏิบัติการแบบตัวอักษร หรือ Text Mode
• การใช้คาสั่งดอส โดยการพิมพ์คาสั่งที่เครื่องหมายพร้อมรับคาสั่ง ในลักษณะ
Command Line ซึ่ง DOS ติดต่อกับผู้ใช้ด้วยการพิมพ์คาสั่ง ไม่มี
ภาพกราฟิกให้ใช้ เรียกว่าทางานในโหมดตัวอักษร Text Mode
ระบบปฏิบัติการแบบตัวอักษร หรือ Text Mode
• ข้อเสีย คือ ติดต่อกับผู้ใช้ไม่สะดวก เพราะผู้ใช้ต้องจา และพิมพ์คาสั่งให้ถูกต้อง
โปรแกรมจึงจะทางาน ดังนั้นประมาณปี ค.ศ. 1985 บริษัทไมโครซอฟต์ได้
พัฒนา Microsoft Windows Version 1.0 และเรื่อยมาจนถึง
Version 3.11 ในปีค.ศ. 1990 ซอฟต์แวร์ดังกล่าว ทางานแบบกราฟิก
เรียกว่า Graphic User Interface (GUI) ทาหน้าที่แทนดอส ทาให้
เกิดความสะดวกแก่ผู้ใช้อย่างมาก คุณสมบัติเด่นของ Microsoft
Windows 3.11 คือทางานในกราฟิกโหมด เป็น Multi-Tasking
และ Generic แต่ยังคงทางานในลักษณะ Single-User ยังคงต้องอาศัย
ระบบปฏิบัติการดอส ทาการบูทเครื่องเพื่อเริ่มต้นระบบก่อน
ระบบปฏิบัติการแบบตัวอักษร หรือ Text Mode
• สาหรับผู้คนยุคใหม่มีความคุ้นเคยกับระบบคอมพิวเตอร์ Windows
มากกว่า ซึ่งระบบปฏิบัติการณ์ประเภทนี้ เป็นระบบรูปภาพ หรือเรียกว่า
Graphics Mode ซึ่งมีข้อดี คือ ใช้งานง่าย ผู้ไม่เคยใช้มาก่อนเรียนรู้เพียง
แป๊ปเดียว ก็ใช้เป็นแล้ว หากแต่อย่างไรก็ตาม การเรียนรู้วิธีการทางานของ
ระบบปฏิบัติการณ์ DOS ก็เป็นเรื่องมีความสาคัญอยู่ไม่น้อย ยกตัวอย่างเช่น
ถ้าคุณต้องการติดตั้ง Windows ด้วยวิธีแบ่ง harddisk ในแต่ละ drive
ซึ่งมีความจาเป็นที่จะต้องมีการ boot เข้าระบบ DOS เสียก่อน
เพราะฉะนั้นถ้าคุณมีความรู้ก็สามารถทาได้ด้วยตนเองเลย นอกจากนี้บางบริษัท
ที่มีการใช้งานในระบบเครือข่าย Novell Netware ซึ่งก็มีความจาเป็นที่
จะต้องทางานในระบบ DOS เช่นเดียวกัน
MS-DOS คือ ผลิตภัณฑ์ของ Microsoft
• สาหรับ DOS มาจากชื่อ MS-DOS และคานี้ย่อมาจากคาว่า
Microsoft Disk Operating System ซึ่งบริษัท Microsoft
เป็นผู้ผลิต
• การเริ่มต้นทางานของระบบคอมพิวเตอร์จะเริ่มต้นโดยอัตโนมัติจากส่วนของ
ชุดคาสั่งที่จัดเก็บอยู่บนหน่วยความจาของระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้อ่านได้อย่าง
เดียวที่เรียกว่ารอม (Read Only Memory : ROM) คาสั่งเหล่านี้จะ
ทาหน้าที่ควบคุมอุปกรณ์พื้นฐานและทาการบรรจุระบบปฏิบัติการจากแผ่น
บันทึกหรือฮาร์ดดิสก์ ขึ้นสู่หน่วยความจาหลัก หลังจากนี้การควบคุมการทางาน
ของระบบคอมพิวเตอร์จะถูกบรรจ ุุไปอยู่บนหน่วยความจาหลักเป็นที่
เรียบร้อยแล้ว โปรแกรมหนึ่งในระบบปฏิบัติการดอสที่ถูกบรรจุคือ โปรแกรม
คาสั่งที่มีชื่อว่า command.com และกระบวนการเริ่มต้นการทางานของ
ระบบคอมพิวเตอร์ดังกล่าวนี้เรียกกันทั่วไปว่า การบูทเครื่อง (boot)
คอมพิวเตอร์
การเริ่มต้นทางานของระบบปฏิบัติการดอส
• 1. Cold Boot คือการเปิดเครื่องด้วยสวิตช์ปิดเปิดเครื่อง (power)
• 2. Worm Boot คือ จะใช้วิธีนี้ในขณะที่เครื่องเปิดอยู่ในกรณีที่เครื่องค้าง
(Hank) เครื่องไม่ทางานตามที่เราป้อนคาสั่งเข้าไป การบูทเครื่องแบบนี้
สามารถกระทาได้อยู่ 2 วิธีคือ
• 1. กดปุ่ม Reset
• 2. กดปุ่ม Ctrl+Alt+Del พร้อมกัน แล้วปล่อยมือ
การบูทเครื่องคอมพิวเตอร์มีอยู่ด้วยกัน 2 วิธีคือ
ความยาวของชื่อ-นามสกุล ไฟล์
• ความแตกต่างที่เห็นในชัดของชื่อไฟล์ในระบบ DOS กับ Windows คือ
ความยาวของชื่อไฟล์ Windows สามารถตั้งชื่อให้ยาวได้มากถึง 255
ตัวอักษร ส่วนในระบบ DOS ชื่อและนามสกุลของไฟล์จะถูกจากัดได้เพียง
ชื่อยาวไม่เกิน 8 ตัวอักษร นามสกุลยาวไม่เกิน 3 ตัวอักษร
ตัวอย่าง Readme.TXT (ชื่อไฟล์ Readme หลังจุดคือนามสกุล
TXT)
รูปแบบและการใช้คาสั่งต่างๆ
• ในการใช้คาสั่งต่าง ๆ ของ DOS จะมีการกาหนดอักษรหรือสัญญลักษณ์ ใช้
แทนข้อความของรูปแบบคาสั่งดังนี้
[d:] หมายถึง Drive เช่น A:, B:
[path] หมายถึง ชื่อไดเรคเตอรี่ย่อย
[filename] หมายถึง ชื่อแฟ้มข้อมูล หรือ ชื่อไฟล์
[.ext] หมายถึง ส่วนขยาย หรือนามสกุล
หมายเหตุ : ข้อความที่อยู่ในวงเล็บ ([ ] ) ถ้าไม่มีก็ไม่ต้องใส่ในคาสั่ง
ชนิดคาสั่ง DOS
• 1. คาสั่งภายใน (Internal Command) เป็นคาสั่งที่เรียกใช้ได้ทันที
ตลอดเวลาที่เครื่องเปิดใช้งานอยู่ เพราะคาสั่งประเภทนี้ถูกบรรจุลงในหน่วยความจา
หลัก (ROM) ตลอดเวลา หลังจากที่ Boot DOS ส่วนมากจะเป็นคาสั่งที่ใช้อยู่
เสมอ เช่น CLS, DIR, COPY, REN เป็นต้น
• 2. คาสั่งภายนอก (External Command) คาสั่งนี้จะถูกเก็บไว้ในดิสก์หรือ
แผ่น DOS คาสั่งเหล่านี้จะไม่ถูกเก็บไว้ในหน่วยความจา เมื่อต้องการใช้คาสั่งเหล่านี้
คอมพิวเตอร์จะเรียกคาสั่งเข้าสู๋หน่วยความจา ถ้าแผ่นดิสก์หรือฮาร์ดดิสก์ไม่มีคาสั่งที่
ต้องการใช้อยู่ก็ไม่สามารถเรียกคาสั่งนั้น ๆ ได้ตัวอย่างเช่น คาสั่ง FORMAT,
DISKCOPY, TREE, DELTREE เป็นต้น
ความแตกต่างระหว่าง DOS กับ Windows
• การสร้าง Windows ขึ้นมาเพื่อให้มีการใช้งานที่ง่าย ทาให้เข้าใจได้ง่ายมากขึ้นและ
ใช้งานได้สาหรับคนธรรมดา ส่วน DOS นั้นมีการใช้งานที่ยุ่งยากกว่ามาก ซึ่งต้อง
อาศัยชุดคาสั่งที่พิมพ์ลงไป จึงมีรู้ลึกในสายโปรแกรมเมอร์เป็นส่วนมาก
• สาหรับประโยชน์ใหญ่ที่สุดของ DOS ซึ่งยืนอยู่เหนือกว่า Windows ก็คือ
FREE ข้อได้เปรียบที่ 2 ก็คือความเรียบง่ายที่สุด ทางด้าน Windows ต้องการ
หน่วยความจาในการในระดับ GB ทางาน ส่วน DOS ต้องการเพียง 1 MB
ทางาน เพียงเท่านั้นเอง
• เพราะฉะนั้นลักษณะอันเรียบง่ายของ DOS จึงทาให้มีความเหมาะสมในการสร้าง
ต้นแบบการทดสอบ รวมทั้งการสร้างระบบอัตโนมัติ แต่อย่างไรก็ตามผู้เรียนรู้จะต้องมี
ใจรัก และเล็งเห็นประโยชน์ที่ตนจะสามารถนาไปต่อยอดได้
โครงสร้างภายใน
ของโปรแกรม MS-DOS
 ROM-BIOS
 BOOT RECORD
 MS-DOS.SYS
 IO.SYS
 COMMAND.COM
ROM-BIOS
 เป็นโปรแกรมที่ทาหน้าที่ควบคุม
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ทั้งหมด
 ROM-BIOS ถูกเก็บไว้ใน ROM
BOOT RECORD
เป็นโปรแกรมสั้นๆ ที่เก็บไว้ในเซกเตอร์
แรกของแผ่นดิสก์เกตต์ทุกแผ่นที่มี
System
มีหน้าที่สั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ Load
โปรแกรมสองส่วนที่สาคัญของ MS-DOS
คือ MS-DOS.SYS และ IO.SYS
MS-DOS.SYS
เป็นโปรแกรมที่ทาหน้าที่ควบคุม
การจัดไฟล์ในดิสก์
IO.SYS
เป็นโปรแกรมที่ทาหน้าที่ควบคุม
การทางานของฮาร์ดแวร์ต่างๆ ของ
ระบบคอมพิวเตอร์รวมไปถึง
อุปกรณ์รอบข้าง
COMMAND.COM
เป็นโปรแกรมที่มีลักษณะเหมือน
โปรแกรมธรรมดาทั่วไป
ทาหน้าที่เป็นตัวแปลคาสั่ง
(Command Interpreter)
การจัดเก็บข้อมูลของ
MS-DOS
 ไฟล์ (File)
 ไดเรกทอรี่ (Directory)
 ไดร์ฟ (Drive)
ไฟล์ (File)
เป็นหน่วยข้อมูลพื้นฐานของการ
เก็บข้อมูลลงบนสื่อบันทึกข้อมูล
ข้อมูลชุดหนึ่งๆ จะถูกเก็บรวมกัน
ไว้เป็นไฟล์
หลักเกณฑ์ในการตั้งชื่อ File
ประกอบด้วย 2 ส่วน
 ส่วนชื่อ
 ส่วนขยาย (นามสกุล)
ประกอบด้วยตัวอักษร A-Z หรือตัวเลข 0-9 และ
สัญลักษณ์พิเศษ ( _ ^ $ ! # % & - { }@ ‘ ( )
หลักเกณฑ์ในการตั้งชื่อ File
 ส่วนชื่อ
ประกอบด้วยตัวอักษร A-Z หรือตัวเลข 0-9
และสัญลักษณ์พิเศษ ( _ ^ $ ! # % & - { } @ ‘
( ) จานวนไม่เกิน 8 ตัว
ห้ามตั้งชื่อไฟล์ซ้ากันอยู่ในไดเรกทอรีเดียวกัน
ต้องไม่มีสัญลักษณ์ . “  / [ ] : | < > + =
หลักเกณฑ์ในการตั้งชื่อ File
 ส่วนขยาย (นามสกุล)
เขียนต่อจากไฟล์ โดยคั่นด้วยเครื่องหมายจุด
ยาวไม่เกิน 3 อักษร
เป็นส่วนที่ใช้บอกชนิดของไฟล์
ไดเรกทอรี (Directory)
 กลุ่มของไฟล์ที่จัดแยกกันเป็นกลุ่ม
 มี 2 ประเภท คือ ไดเรกทอรีราก
(Root Directory) และไดเรกทอรีย่อย (
Sub Directory)
ไดเรกทอรีราก (Root Directory)
 ไดเรกทอรีแรกสุดเมื่อมีการเริ่มต้นใช้
ดิสก์ครั้งแรก
 สัญลักษณ์ คือ 
 เช่น C: หมายถึง ไดเรกทอรีรากของ
ดิสก์ในไดร์ฟ C
ไดเรกทอรีย่อย (Sub Directory)
 ไดเรกทอรีที่บรรจุอยู่ในไดเรกทอรี
ราก
 ไดเรกทอรีย่อยสามารถมีไดเรกทอรี
ย่อยได้อีก
ไดเรกทอรีย่อย (Sub Directory)
C:
WINDOWS WORK UTILITY
GAMES MSOFFICE NORTON
T3T1 T2
ไดร์ฟ (Drive)
 หรือ ดิสก์
 ชื่อไดร์ฟ มี 1 ตัวอักษร เช่น A B
C….
ประเภทของคาสั่งใน MS-DOS
 คาสั่งภายนอก ได้แก่ FORMAT,
UNFORMAT, LABEL UNDELETE
DISKCOPY, TREE, DELTREE, CHKDSK
 คาสั่งภายใน ได้แก่ DIR, DEL, COPY,
CLS, TYPE, DATE, TIME, REN, VER,
VOL, MD, CD, RD
คาสั่ง CD
คาสั่งในการย้ายไดเรกทอรี
ตัวอย่าง
C:cd windows
C:cd
คาสั่ง DIR
คาสั่งเรียกดูข้อมูลของไฟล์ที่จัดเก็บอยู่
ในดิสก์
ตัวอย่าง
C:dir/p
C:dir a:
คาสั่ง LABEL
คาสั่งในการเปลี่ยนชื่อของดิสก์
ตัวอย่าง
C:label a:
คาสั่ง COPY
คาสั่งทาสาเนา
ตัวอย่าง
C:copy work01.doc a:
C:copy a:test.doc c:t.doc
C:copy a:*.* c:
คาสั่ง RENAME
คาสั่งเปลี่ยนชื่อไฟล์
ตัวอย่าง
C:ren work01.doc w01.doc
A:ren test.doc t.doc
คาสั่ง DEL
คาสั่งลบไฟล์ออกจากดิสก์
ตัวอย่าง
C:del work01.doc
C:del a:test.doc
C:del a:*.*
คาสั่ง FORMAT
คาสั่งจัดเตรียมแผ่นดิสก์ให้
สามารถใช้งานได้
ตัวอย่าง
C:format a:
คาสั่ง DATE
คาสั่งตั้งวันที่ในเครื่อง
ตัวอย่าง
C:date
คาสั่ง TIME
คาสั่งตั้งเวลาในเครื่อง
ตัวอย่าง
C:time
คาสั่ง VER
คาสั่งขอดูเวอร์ชั่นของระบบปฎิบัติการ
ตัวอย่าง
C:ver
คาสั่ง CLS
คาสั่งในการลบจอภาพ
ตัวอย่าง
C:cls
ความหมายของคาสั่งผิดพลาด
Bad command or file name
Write protect error
Duplicate filename or file not
found
File not found
ความหมายของคาสั่งผิดพลาด
Insufficient disk space
Non-system disk or disk error
Replace and strike any key when
ready
ความหมายของคาสั่งผิดพลาด
Insufficient disk space
Non-system disk or disk error
Replace and strike any key when
ready

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการokbeer
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการokbeer
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการvgame_emagv
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการokbeer
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการokbeer
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์Aphison Pukon
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์Aphison Pukon
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอมระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอมLookked2122
 
Cent OS-book
Cent OS-bookCent OS-book
Cent OS-booknin9nin9
 
คำสั่ง ลินุกซ์ (Linux)
คำสั่ง ลินุกซ์ (Linux)คำสั่ง ลินุกซ์ (Linux)
คำสั่ง ลินุกซ์ (Linux)Arkom Thaicharoen
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์Aphison Pukon
 
ระบบปฏิบัติการ1 มิ้ม
ระบบปฏิบัติการ1 มิ้มระบบปฏิบัติการ1 มิ้ม
ระบบปฏิบัติการ1 มิ้มNoomim
 

Mais procurados (13)

ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
Work3-33
Work3-33Work3-33
Work3-33
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอมระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
 
Cent OS-book
Cent OS-bookCent OS-book
Cent OS-book
 
คำสั่ง ลินุกซ์ (Linux)
คำสั่ง ลินุกซ์ (Linux)คำสั่ง ลินุกซ์ (Linux)
คำสั่ง ลินุกซ์ (Linux)
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
 
ระบบปฏิบัติการ1 มิ้ม
ระบบปฏิบัติการ1 มิ้มระบบปฏิบัติการ1 มิ้ม
ระบบปฏิบัติการ1 มิ้ม
 

Semelhante a ระบบ MS-DOS

ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการokbeer
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการokbeer
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการokbeer
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการokbeer
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการokbeer
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการokbeer
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการokbeer
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการokbeer
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการRawiwan Kashornchan
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์อยู่ไหน เหงา
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์อยู่ไหน เหงา
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์อยู่ไหน เหงา
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการwannuka24
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการwannuka24
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการwannuka24
 
ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Suphattra
 
ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Suphattra
 
ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Suphattra
 

Semelhante a ระบบ MS-DOS (20)

ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
Learnning 04
Learnning 04Learnning 04
Learnning 04
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
 
it-05-11
it-05-11it-05-11
it-05-11
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

Mais de ssuseraa96d2

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศssuseraa96d2
 
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์ssuseraa96d2
 
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตssuseraa96d2
 
ระบบปฏิบัติการ Linux
ระบบปฏิบัติการ Linuxระบบปฏิบัติการ Linux
ระบบปฏิบัติการ Linuxssuseraa96d2
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลssuseraa96d2
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลssuseraa96d2
 
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ssuseraa96d2
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตssuseraa96d2
 
การกำหนดสไตล์ให้กับเอกสาร
การกำหนดสไตล์ให้กับเอกสารการกำหนดสไตล์ให้กับเอกสาร
การกำหนดสไตล์ให้กับเอกสารssuseraa96d2
 
การเชื่อมโยงเอกสาร
การเชื่อมโยงเอกสารการเชื่อมโยงเอกสาร
การเชื่อมโยงเอกสารssuseraa96d2
 
การสร้างฟอร์ม
การสร้างฟอร์มการสร้างฟอร์ม
การสร้างฟอร์มssuseraa96d2
 
การสร้างเฟรม
การสร้างเฟรมการสร้างเฟรม
การสร้างเฟรมssuseraa96d2
 
การสร้างตาราง
การสร้างตารางการสร้างตาราง
การสร้างตารางssuseraa96d2
 
การแทรกรูปภาพ
การแทรกรูปภาพการแทรกรูปภาพ
การแทรกรูปภาพssuseraa96d2
 
การกำหนดให้ข้อความอยู่ในรูปของรายการ
การกำหนดให้ข้อความอยู่ในรูปของรายการการกำหนดให้ข้อความอยู่ในรูปของรายการ
การกำหนดให้ข้อความอยู่ในรูปของรายการssuseraa96d2
 
การตกแต่งเอกสาร
การตกแต่งเอกสารการตกแต่งเอกสาร
การตกแต่งเอกสารssuseraa96d2
 
เริ่มต้นสร้างเอกสาร HTML
เริ่มต้นสร้างเอกสาร HTMLเริ่มต้นสร้างเอกสาร HTML
เริ่มต้นสร้างเอกสาร HTMLssuseraa96d2
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา HTML
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา HTMLความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา HTML
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา HTMLssuseraa96d2
 
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่นๆ
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่นๆฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่นๆ
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่นๆssuseraa96d2
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศssuseraa96d2
 

Mais de ssuseraa96d2 (20)

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
 
ระบบปฏิบัติการ Linux
ระบบปฏิบัติการ Linuxระบบปฏิบัติการ Linux
ระบบปฏิบัติการ Linux
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
 
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
 
การกำหนดสไตล์ให้กับเอกสาร
การกำหนดสไตล์ให้กับเอกสารการกำหนดสไตล์ให้กับเอกสาร
การกำหนดสไตล์ให้กับเอกสาร
 
การเชื่อมโยงเอกสาร
การเชื่อมโยงเอกสารการเชื่อมโยงเอกสาร
การเชื่อมโยงเอกสาร
 
การสร้างฟอร์ม
การสร้างฟอร์มการสร้างฟอร์ม
การสร้างฟอร์ม
 
การสร้างเฟรม
การสร้างเฟรมการสร้างเฟรม
การสร้างเฟรม
 
การสร้างตาราง
การสร้างตารางการสร้างตาราง
การสร้างตาราง
 
การแทรกรูปภาพ
การแทรกรูปภาพการแทรกรูปภาพ
การแทรกรูปภาพ
 
การกำหนดให้ข้อความอยู่ในรูปของรายการ
การกำหนดให้ข้อความอยู่ในรูปของรายการการกำหนดให้ข้อความอยู่ในรูปของรายการ
การกำหนดให้ข้อความอยู่ในรูปของรายการ
 
การตกแต่งเอกสาร
การตกแต่งเอกสารการตกแต่งเอกสาร
การตกแต่งเอกสาร
 
เริ่มต้นสร้างเอกสาร HTML
เริ่มต้นสร้างเอกสาร HTMLเริ่มต้นสร้างเอกสาร HTML
เริ่มต้นสร้างเอกสาร HTML
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา HTML
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา HTMLความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา HTML
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา HTML
 
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่นๆ
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่นๆฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่นๆ
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่นๆ
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 

ระบบ MS-DOS