SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 6
คูม ือ การพูด สะกดคำา ราชบัณ ฑิต ยสถาน
่
พยัญ ชนะ ให้พดดังนี้
ู
ก ไก่

ข ไข่
ฃ ขวด
ค ควาย ฅ คน
ฆ ระฆัง ง งู
จ จาน
ฉ ฉิ่ง
ช
ช้าง
ซ โซ่
ฌ เฌอ
ญ หญิง
ฎ ชฎา
ฏ ปฏัก
ฐ ฐาน หรือ ฐ สัณฐาน
ฑ มณโฑ หรือ ฑ นางมณโฑ
ฒ ผู้เฒ่า ณ เณร
ด เด็ก
ต เต่า
ถ ถุง
ท ทหาร ธ
ธง
น หนู
บ ใบไม้
ป ปลา
ผ ผึ้ง
ฝ ฝา
พ พาน
ฟ ฟัน
ภ สำาเภา
ม ม้า
ย ยักษ์
ร เรือ
ล ลิง
ว แหวน
ศ ศาลา ษ ฤาษี
ส เสือ
ห หีบ
ฬ
จุฬา
อ อ่าง
ฮ นกฮูก ฤ ร รึ
ฤา ร รือ ฦ ล
ลึ
ฦา ล ลือ
สระ ให้พดดังนี้
ู
-ะ
-แำิสระโอ
-ำึ
อือ

สระอะ
- า สระอา
สระแอ -ำี สรอี
สระอิ
สระอึ ใ - -สระใอไม้ม้วน
ำื สระ
ไ – สระไอไม้มลาย -ำำ สระอำา

เ - สระเอ

โ-

รูปสระประสม ซึงเกิดจากรูปสระเดี่ยวมาประสมกัน ให้พด
่
ู
ตามรูปสระเดี่ยวที่ปรากฎ ดังนี้
แ-ะ สระแอ สระอะ
โ-ะ สระโอ สระอะ
เาะ สระเอ สระอา สระอะ
เ –ำียะ สระเอ
สระอี ย ยักษ์ สระอะ
พยัญ ชนะที่ใ ช้แ ทนสระ ให้พูดดังนี้
รร ร หัน
วรรณยุก ต์แ ละเครื่อ งหมาย ให้พดดังนี้
ู
ำ่ ไม้เอก
ำ้ ไม้โท
ไต่คู้
ำั ไม้หันอากาศ
ำ๊ ไม้ตรี
จัตวา
ำ์ การันต์ หรือ ทัณฑฆาต

ำ็ ไม้
ำ๋ ไม้

ตัว อย่า งการพูด สะกดคำา
กระเปราะสะกดว่า ก ไก่ ร เรือ สระอะ สระเอ
ป ปลา ร เรือ สระอา สระอะ เคล็ด
สะกดว่า สระเอ
ค ควาย ล ลิง ไม้ไต่คู้ ด เด็ก
แคะไค้
สะกดว่า สระแอ ค ควาย สระอะ สระไอไม้มลาย ค
ควาย ไม้โท นำ้า
สะกดว่า น หนู สระอำา ไม้โท
บรรทัด
สะกดว่า บ ใบไม้ ร รหัน
ท ทหาร ไม้หันอากาศ ด เด็ก
เปาะเปี๊ยะ สะกดว่า สระ
เอ ป ปลา สระอา สระอะ สระเอ ป ปลา
สระอี ไม้ตรี ย ยักษ์ สระอะ
ฤกษ์
สะกดว่า ร รึ
ก ไก่ ษ ฤาษี การันต์
หรือ ร รึ ก ไก่
ษ ฤษี
ทัณฑฆาต

การอ่า นเครือ งหมายแบบต่า งๆ
่
๑. การอ่า นคำา หรือ ข้อ ความที่ม ีเ ครื่อ งหมายวงเล็บ กำา กับ
อยู่
เมื่อมีเครื่องหมายวงเล็บเปิด ให้
อ่านว่า วงเล็บ เปิด และเมื่อเครื่องหมายวงเล็บปิด ให้อ่านว่า
วงเล็บ ปิด เช่น
ปวาฬ (แก้วประพาฬ คือ หินแก้วชนิดหนึ่งเกิด
จากหินปะการัง)
อ่านว่า ปะ – วาน วง – เล็บ
– เปิด แก้ว – ประ พาน...หิน – ปะ กา – รัง วง – เล็บ – ปิด
๒. การอ่า นเครื่อ งหมายอัญ ประกาศ
เมื่อมีเครื่องหมายอัญประกาศเปิด ให้อ่านว่า
อัญประกาศเปิด และเมื่อถึงเครื่องหมายอัญประกาศปิด ให้อ่านว่า
อัญประกาศปิด
ถ้าข้อความ
ในเครื่องหมายอัญประกาศมีความยาวหลายย่อหน้า และใส่
เครื่องหมายอัญประกาศเปิดทุกย่อหน้า ให้อ่าน อัญ ประกาศ
เปิด เฉพาะเริ่มต้นข้อความเท่านั้น และอ่าน อัญ ประกาศปิด
เมื่อจบข้อความ เช่น
ครั้งหนึ่งพระพุทธองค์ตรัสว่า
“...ดูกรภิกษุทั้งหลาย สงสารนี้กำาหนดที่สุดเบื้อง
ต้นปลายไม่ได้ เมื่อเหล่าสัตว์ผู้มีอวิชชาเป็น ที่กางกั้น มีตณหา
ั
เป็นเครื่องประกอบ ท่องเที่ยวไปมาอยู่ที่สุดเบื้องต้นย่อมไม่ปรากฎ
ฯลฯ
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ท่อนไม้ที่บุคคลโยนขึ้นไปในอากาศ
บางคราวก็ตกลงทางโคน บางคราว ก็ตกลงทางขวาง บาง
คราวก็ตกลงทางปลาย แม้ฉันใด สัตว์ทั้งหลายที่เป็นอวิชชาเป็น
ที่กางกั้น
มีตณหาเป็นเครื่องประกอบไว้ท่องเที่ยวไปมาอยู่ ก็
ั
ฉันนั้นแล บางคราวก็จากโลกนี้ไปสู่ปรโลก
บางคราวก็จาก
ปรโลกมาสู่โลกนี้ ข้อนั้น เพราะเหตุไร เพราะว่า สงสารกำาหนด
ที่สุดเบื้องต้นปลายไม่ได้”
อ่านว่า ครั้ง – หนึ่ง – พระ – พุด – ทะ – องค์ – ตรัด –
ว่า อัน – ยะ ประ – กาด – เปิด
ดู – กอน – พิก –สุ -...เ
บื้อง – ปลาย – ไม่ – ได้ อัน – ยะ – ประ – กาด – ปิด
๓. การอ่า นเครื่อ งหมายไม้ย มก หรือ ยมก
เครื่องหมายไม้ยมก หรือ ยมก ที่เขียน
หลังคำา วลี หรือ ประโยค ให้อ่านซำ้าคำา วลี หรือประโยคอีกครั้ง
หนึ่ง เช่น
เด็กเล็กๆ
อ่านว่า
เด็ก – เล็ก – เล็ก
แต่ละวันๆ อ่านว่า
แต่ – ละ – วัน – แต่ – ละ – วัน
ในวันหนึ่งๆ อ่านว่า
ใน – วัน หนึ่ง
– วัน – หนึ่ง
คำาที่เป็นคำาซำ้า ต้องใช้ไม้ยมกเสมอ ให้อ่านซำ้าคำาอีกครั้งหนึ่ง เช่น
สีดำาๆ
อ่านว่า
สี – ดำา
–ดำา
เด็กตัวเล็กๆ อ่านว่า
เด็ก – ตัว – เล็ก – เล็ก
๔. การใส่เ ครื่อ งหมายไปยาลน้อ ย หรือ เปยยาลน้อ ย
เครื่องหมายไปยาลน้อย หรือ
เปยยาลน้อย ใช้ละคำาที่รู้จักกันดีอยู่แล้ว โดยละส่วนท้ายเหลือแต่
ส่วนหน้าของคำา พอเป็นที่เข้าใจ เวลาอ่านต้องอ่านเต็มคำา เช่น
กรุงเทพฯ อ่านว่า
กรุง – เทบ –
มะ – หา – นะ – คอน
ทูลเกล้าฯ อ่านว่า
ทูน – เกล้า – ทูน – กระ – หม่อม
โปรด
เกล้าฯ
อ่านว่า
โปรด – เกล้า – โปรด – กระ – หม่อม
ล้นเกล้า อ่านว่า
ล้น – เกล้า – ล้น –
กระ – หม่อม
๕. การอ่า นเครื่อ งหมายไปยาลใหญ่ หรือ เปยยาลใหญ่
๕.๑ เครื่องหมายไปยาลใหญ่ หรือ
เปยยาลใหญ่ ที่อยู่ข้างท้ายข้อความ ให้อ่านว่า ละ หรือ และ
อื่น ๆ เช่น
สิ่งของทีซื้อขายกันในตลาดมี เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ นำ้าตาล
่
นำ้าปลา ฯลฯ
อ่านว่า
สิ่ง – ของ –
ที่ – ซื้อ – ขาย – กัน - ...นำ้า – ปลา ละ
หรือ
สิ่ง – ของ – ที่ – ซือ – ขาย – กัน - ...นำ้า – ปลา – ละ – อื่น –
้
อื่น
๕.๒ เครื่องหมายไปยาลใหญ่ หรือ เปยยาลใหญ่ ที่อยู่ข้าง
ตรงกลางข้อความ อ่านว่า ละถึง เช่น พยัญชนะไทย ๔๔ ตัว มี ก
ฯลฯ ฮ
อ่านว่า
พะ – ยัน – ชะ – นะ – ไท – สี่ – สิบ – สี่ – ตัว มี กอ ละ – ถึง ฮอ
๖. การอ่า นเครื่อ งหมายไข่ป ลา หรือ จุด ไข่ป ลา
เมื่อมีเครื่องหมายไข่ปลา หรือ จุด
ไข่ปลา ควรหยุดเล็กน้อยก่อน แล้วจึงอ่านว่า ละ ละ ละ แล้วหยุด
เล็กน้อยก่อนอ่านข้อความต่อไป เช่น
ที่เกิดมีภาษาไทย...ก็เพราะแต่ละภาษาสืบต่อ
ภาษาของตนไว้
อ่านว่า
ที่ –
เกิด – มี – พา – สา – ไท ละ ละ ละ ก็ –เพาะ - แต่ – ละ – พา
– สา - สืบ – ต่อ – พา – สา ของ – ตน – ไว้
๕.๒ เครื่องหมายไปยาลใหญ่ หรือ เปยยาลใหญ่ ที่อยู่ข้าง
ตรงกลางข้อความ อ่านว่า ละถึง เช่น พยัญชนะไทย ๔๔ ตัว มี ก
ฯลฯ ฮ
อ่านว่า
พะ – ยัน – ชะ – นะ – ไท – สี่ – สิบ – สี่ – ตัว มี กอ ละ – ถึง ฮอ
๖. การอ่า นเครื่อ งหมายไข่ป ลา หรือ จุด ไข่ป ลา
เมื่อมีเครื่องหมายไข่ปลา หรือ จุด
ไข่ปลา ควรหยุดเล็กน้อยก่อน แล้วจึงอ่านว่า ละ ละ ละ แล้วหยุด
เล็กน้อยก่อนอ่านข้อความต่อไป เช่น
ที่เกิดมีภาษาไทย...ก็เพราะแต่ละภาษาสืบต่อ
ภาษาของตนไว้
อ่านว่า
ที่ –
เกิด – มี – พา – สา – ไท ละ ละ ละ ก็ –เพาะ - แต่ – ละ – พา
– สา - สืบ – ต่อ – พา – สา ของ – ตน – ไว้

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

งานชิ้นที่ 2แผ่นพับ
งานชิ้นที่ 2แผ่นพับงานชิ้นที่ 2แผ่นพับ
งานชิ้นที่ 2แผ่นพับMinny Min Min
 
โครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำโครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำkruying pornprasartwittaya
 
ภาษาไทย ไตรยางค์
ภาษาไทย ไตรยางค์ภาษาไทย ไตรยางค์
ภาษาไทย ไตรยางค์pui003
 
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิตTongsamut vorasan
 
การอ่านคำให้ถูกต้อง
การอ่านคำให้ถูกต้องการอ่านคำให้ถูกต้อง
การอ่านคำให้ถูกต้องsapatchanook
 
การเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทย
การเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทยการเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทย
การเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทยปาริชาต แท่นแก้ว
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4Itt Bandhudhara
 
คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์Sumalee
 
บทเรียน Cai
บทเรียน Caiบทเรียน Cai
บทเรียน Caiunit24
 
ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netvanichar
 
วิจัย ไทย
วิจัย  ไทยวิจัย  ไทย
วิจัย ไทยKru Poy
 

Mais procurados (15)

งานชิ้นที่ 2แผ่นพับ
งานชิ้นที่ 2แผ่นพับงานชิ้นที่ 2แผ่นพับ
งานชิ้นที่ 2แผ่นพับ
 
k kuep 3
k kuep 3k kuep 3
k kuep 3
 
โครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำโครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำ
 
ภาษาไทย ไตรยางค์
ภาษาไทย ไตรยางค์ภาษาไทย ไตรยางค์
ภาษาไทย ไตรยางค์
 
E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่
 
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
การอ่านคำให้ถูกต้อง
การอ่านคำให้ถูกต้องการอ่านคำให้ถูกต้อง
การอ่านคำให้ถูกต้อง
 
k kuep 2
k kuep 2k kuep 2
k kuep 2
 
การเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทย
การเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทยการเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทย
การเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทย
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
 
คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์
 
บทเรียน Cai
บทเรียน Caiบทเรียน Cai
บทเรียน Cai
 
ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O net
 
วิจัย ไทย
วิจัย  ไทยวิจัย  ไทย
วิจัย ไทย
 

Semelhante a คู่มือการพูดสะกดคำ 2

1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิตWataustin Austin
 
บาลี 09 80
บาลี 09 80บาลี 09 80
บาลี 09 80Rose Banioki
 
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรกาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรkruthai40
 
ตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลง
ตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลงตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลง
ตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลงNongkran_Jarurnphong
 
ตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลง
ตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลงตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลง
ตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลงNongkran_Jarurnphong
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗vp12052499
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทยvp12052499
 
การอ่านคำให้ถูกต้อง
การอ่านคำให้ถูกต้องการอ่านคำให้ถูกต้อง
การอ่านคำให้ถูกต้องsapatchanook
 
การอ่านคำให้ถูกต้อง
การอ่านคำให้ถูกต้องการอ่านคำให้ถูกต้อง
การอ่านคำให้ถูกต้องsapatchanook
 
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้องPiyarerk Bunkoson
 
ชุดที่๔
ชุดที่๔ชุดที่๔
ชุดที่๔linlada-9
 
คู่มือการจำแนกชนิดแมงกระพรุนกล่อง
คู่มือการจำแนกชนิดแมงกระพรุนกล่องคู่มือการจำแนกชนิดแมงกระพรุนกล่อง
คู่มือการจำแนกชนิดแมงกระพรุนกล่องNoiRr DaRk
 
ชุดที่๓
ชุดที่๓ชุดที่๓
ชุดที่๓linlada-9
 
Principles of Thai Writing and Editing 3 หลักการเขียนและบรรณาธิการ 3
Principles of Thai Writing and Editing 3 หลักการเขียนและบรรณาธิการ 3Principles of Thai Writing and Editing 3 หลักการเขียนและบรรณาธิการ 3
Principles of Thai Writing and Editing 3 หลักการเขียนและบรรณาธิการ 3Namchai Chewawiwat
 
สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2Junior Lahtum
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิTongsamut vorasan
 
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟังอ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟังVisanu Euarchukiati
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1krubuatoom
 

Semelhante a คู่มือการพูดสะกดคำ 2 (20)

1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
 
บาลี 09 80
บาลี 09 80บาลี 09 80
บาลี 09 80
 
อธิบายสมาส
อธิบายสมาสอธิบายสมาส
อธิบายสมาส
 
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรกาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
 
ตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลง
ตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลงตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลง
ตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลง
 
ตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลง
ตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลงตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลง
ตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลง
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
การอ่านคำให้ถูกต้อง
การอ่านคำให้ถูกต้องการอ่านคำให้ถูกต้อง
การอ่านคำให้ถูกต้อง
 
การอ่านคำให้ถูกต้อง
การอ่านคำให้ถูกต้องการอ่านคำให้ถูกต้อง
การอ่านคำให้ถูกต้อง
 
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
ชุดที่๔
ชุดที่๔ชุดที่๔
ชุดที่๔
 
คู่มือการจำแนกชนิดแมงกระพรุนกล่อง
คู่มือการจำแนกชนิดแมงกระพรุนกล่องคู่มือการจำแนกชนิดแมงกระพรุนกล่อง
คู่มือการจำแนกชนิดแมงกระพรุนกล่อง
 
ชุดที่๓
ชุดที่๓ชุดที่๓
ชุดที่๓
 
Principles of Thai Writing and Editing 3 หลักการเขียนและบรรณาธิการ 3
Principles of Thai Writing and Editing 3 หลักการเขียนและบรรณาธิการ 3Principles of Thai Writing and Editing 3 หลักการเขียนและบรรณาธิการ 3
Principles of Thai Writing and Editing 3 หลักการเขียนและบรรณาธิการ 3
 
สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟังอ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
 

คู่มือการพูดสะกดคำ 2

  • 1. คูม ือ การพูด สะกดคำา ราชบัณ ฑิต ยสถาน ่ พยัญ ชนะ ให้พดดังนี้ ู ก ไก่ ข ไข่ ฃ ขวด ค ควาย ฅ คน ฆ ระฆัง ง งู จ จาน ฉ ฉิ่ง ช ช้าง ซ โซ่ ฌ เฌอ ญ หญิง ฎ ชฎา ฏ ปฏัก ฐ ฐาน หรือ ฐ สัณฐาน ฑ มณโฑ หรือ ฑ นางมณโฑ ฒ ผู้เฒ่า ณ เณร ด เด็ก ต เต่า ถ ถุง ท ทหาร ธ ธง น หนู บ ใบไม้ ป ปลา ผ ผึ้ง ฝ ฝา พ พาน ฟ ฟัน ภ สำาเภา ม ม้า ย ยักษ์ ร เรือ ล ลิง ว แหวน ศ ศาลา ษ ฤาษี ส เสือ ห หีบ ฬ จุฬา อ อ่าง ฮ นกฮูก ฤ ร รึ ฤา ร รือ ฦ ล ลึ ฦา ล ลือ สระ ให้พดดังนี้ ู -ะ -แำิสระโอ -ำึ อือ สระอะ - า สระอา สระแอ -ำี สรอี สระอิ สระอึ ใ - -สระใอไม้ม้วน ำื สระ ไ – สระไอไม้มลาย -ำำ สระอำา เ - สระเอ โ- รูปสระประสม ซึงเกิดจากรูปสระเดี่ยวมาประสมกัน ให้พด ่ ู ตามรูปสระเดี่ยวที่ปรากฎ ดังนี้ แ-ะ สระแอ สระอะ โ-ะ สระโอ สระอะ เาะ สระเอ สระอา สระอะ เ –ำียะ สระเอ สระอี ย ยักษ์ สระอะ พยัญ ชนะที่ใ ช้แ ทนสระ ให้พูดดังนี้ รร ร หัน
  • 2. วรรณยุก ต์แ ละเครื่อ งหมาย ให้พดดังนี้ ู ำ่ ไม้เอก ำ้ ไม้โท ไต่คู้ ำั ไม้หันอากาศ ำ๊ ไม้ตรี จัตวา ำ์ การันต์ หรือ ทัณฑฆาต ำ็ ไม้ ำ๋ ไม้ ตัว อย่า งการพูด สะกดคำา กระเปราะสะกดว่า ก ไก่ ร เรือ สระอะ สระเอ ป ปลา ร เรือ สระอา สระอะ เคล็ด สะกดว่า สระเอ ค ควาย ล ลิง ไม้ไต่คู้ ด เด็ก แคะไค้ สะกดว่า สระแอ ค ควาย สระอะ สระไอไม้มลาย ค ควาย ไม้โท นำ้า สะกดว่า น หนู สระอำา ไม้โท บรรทัด สะกดว่า บ ใบไม้ ร รหัน ท ทหาร ไม้หันอากาศ ด เด็ก เปาะเปี๊ยะ สะกดว่า สระ เอ ป ปลา สระอา สระอะ สระเอ ป ปลา สระอี ไม้ตรี ย ยักษ์ สระอะ ฤกษ์ สะกดว่า ร รึ ก ไก่ ษ ฤาษี การันต์ หรือ ร รึ ก ไก่ ษ ฤษี ทัณฑฆาต การอ่า นเครือ งหมายแบบต่า งๆ ่ ๑. การอ่า นคำา หรือ ข้อ ความที่ม ีเ ครื่อ งหมายวงเล็บ กำา กับ อยู่ เมื่อมีเครื่องหมายวงเล็บเปิด ให้ อ่านว่า วงเล็บ เปิด และเมื่อเครื่องหมายวงเล็บปิด ให้อ่านว่า วงเล็บ ปิด เช่น ปวาฬ (แก้วประพาฬ คือ หินแก้วชนิดหนึ่งเกิด
  • 3. จากหินปะการัง) อ่านว่า ปะ – วาน วง – เล็บ – เปิด แก้ว – ประ พาน...หิน – ปะ กา – รัง วง – เล็บ – ปิด ๒. การอ่า นเครื่อ งหมายอัญ ประกาศ เมื่อมีเครื่องหมายอัญประกาศเปิด ให้อ่านว่า อัญประกาศเปิด และเมื่อถึงเครื่องหมายอัญประกาศปิด ให้อ่านว่า อัญประกาศปิด ถ้าข้อความ ในเครื่องหมายอัญประกาศมีความยาวหลายย่อหน้า และใส่ เครื่องหมายอัญประกาศเปิดทุกย่อหน้า ให้อ่าน อัญ ประกาศ เปิด เฉพาะเริ่มต้นข้อความเท่านั้น และอ่าน อัญ ประกาศปิด เมื่อจบข้อความ เช่น ครั้งหนึ่งพระพุทธองค์ตรัสว่า “...ดูกรภิกษุทั้งหลาย สงสารนี้กำาหนดที่สุดเบื้อง ต้นปลายไม่ได้ เมื่อเหล่าสัตว์ผู้มีอวิชชาเป็น ที่กางกั้น มีตณหา ั เป็นเครื่องประกอบ ท่องเที่ยวไปมาอยู่ที่สุดเบื้องต้นย่อมไม่ปรากฎ ฯลฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ท่อนไม้ที่บุคคลโยนขึ้นไปในอากาศ บางคราวก็ตกลงทางโคน บางคราว ก็ตกลงทางขวาง บาง คราวก็ตกลงทางปลาย แม้ฉันใด สัตว์ทั้งหลายที่เป็นอวิชชาเป็น ที่กางกั้น มีตณหาเป็นเครื่องประกอบไว้ท่องเที่ยวไปมาอยู่ ก็ ั ฉันนั้นแล บางคราวก็จากโลกนี้ไปสู่ปรโลก บางคราวก็จาก ปรโลกมาสู่โลกนี้ ข้อนั้น เพราะเหตุไร เพราะว่า สงสารกำาหนด ที่สุดเบื้องต้นปลายไม่ได้” อ่านว่า ครั้ง – หนึ่ง – พระ – พุด – ทะ – องค์ – ตรัด – ว่า อัน – ยะ ประ – กาด – เปิด ดู – กอน – พิก –สุ -...เ บื้อง – ปลาย – ไม่ – ได้ อัน – ยะ – ประ – กาด – ปิด ๓. การอ่า นเครื่อ งหมายไม้ย มก หรือ ยมก เครื่องหมายไม้ยมก หรือ ยมก ที่เขียน หลังคำา วลี หรือ ประโยค ให้อ่านซำ้าคำา วลี หรือประโยคอีกครั้ง หนึ่ง เช่น เด็กเล็กๆ
  • 4. อ่านว่า เด็ก – เล็ก – เล็ก แต่ละวันๆ อ่านว่า แต่ – ละ – วัน – แต่ – ละ – วัน ในวันหนึ่งๆ อ่านว่า ใน – วัน หนึ่ง – วัน – หนึ่ง คำาที่เป็นคำาซำ้า ต้องใช้ไม้ยมกเสมอ ให้อ่านซำ้าคำาอีกครั้งหนึ่ง เช่น สีดำาๆ อ่านว่า สี – ดำา –ดำา เด็กตัวเล็กๆ อ่านว่า เด็ก – ตัว – เล็ก – เล็ก ๔. การใส่เ ครื่อ งหมายไปยาลน้อ ย หรือ เปยยาลน้อ ย เครื่องหมายไปยาลน้อย หรือ เปยยาลน้อย ใช้ละคำาที่รู้จักกันดีอยู่แล้ว โดยละส่วนท้ายเหลือแต่ ส่วนหน้าของคำา พอเป็นที่เข้าใจ เวลาอ่านต้องอ่านเต็มคำา เช่น กรุงเทพฯ อ่านว่า กรุง – เทบ – มะ – หา – นะ – คอน ทูลเกล้าฯ อ่านว่า ทูน – เกล้า – ทูน – กระ – หม่อม โปรด เกล้าฯ อ่านว่า โปรด – เกล้า – โปรด – กระ – หม่อม ล้นเกล้า อ่านว่า ล้น – เกล้า – ล้น – กระ – หม่อม ๕. การอ่า นเครื่อ งหมายไปยาลใหญ่ หรือ เปยยาลใหญ่ ๕.๑ เครื่องหมายไปยาลใหญ่ หรือ เปยยาลใหญ่ ที่อยู่ข้างท้ายข้อความ ให้อ่านว่า ละ หรือ และ อื่น ๆ เช่น สิ่งของทีซื้อขายกันในตลาดมี เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ นำ้าตาล ่ นำ้าปลา ฯลฯ อ่านว่า สิ่ง – ของ – ที่ – ซื้อ – ขาย – กัน - ...นำ้า – ปลา ละ หรือ สิ่ง – ของ – ที่ – ซือ – ขาย – กัน - ...นำ้า – ปลา – ละ – อื่น – ้ อื่น
  • 5. ๕.๒ เครื่องหมายไปยาลใหญ่ หรือ เปยยาลใหญ่ ที่อยู่ข้าง ตรงกลางข้อความ อ่านว่า ละถึง เช่น พยัญชนะไทย ๔๔ ตัว มี ก ฯลฯ ฮ อ่านว่า พะ – ยัน – ชะ – นะ – ไท – สี่ – สิบ – สี่ – ตัว มี กอ ละ – ถึง ฮอ ๖. การอ่า นเครื่อ งหมายไข่ป ลา หรือ จุด ไข่ป ลา เมื่อมีเครื่องหมายไข่ปลา หรือ จุด ไข่ปลา ควรหยุดเล็กน้อยก่อน แล้วจึงอ่านว่า ละ ละ ละ แล้วหยุด เล็กน้อยก่อนอ่านข้อความต่อไป เช่น ที่เกิดมีภาษาไทย...ก็เพราะแต่ละภาษาสืบต่อ ภาษาของตนไว้ อ่านว่า ที่ – เกิด – มี – พา – สา – ไท ละ ละ ละ ก็ –เพาะ - แต่ – ละ – พา – สา - สืบ – ต่อ – พา – สา ของ – ตน – ไว้
  • 6. ๕.๒ เครื่องหมายไปยาลใหญ่ หรือ เปยยาลใหญ่ ที่อยู่ข้าง ตรงกลางข้อความ อ่านว่า ละถึง เช่น พยัญชนะไทย ๔๔ ตัว มี ก ฯลฯ ฮ อ่านว่า พะ – ยัน – ชะ – นะ – ไท – สี่ – สิบ – สี่ – ตัว มี กอ ละ – ถึง ฮอ ๖. การอ่า นเครื่อ งหมายไข่ป ลา หรือ จุด ไข่ป ลา เมื่อมีเครื่องหมายไข่ปลา หรือ จุด ไข่ปลา ควรหยุดเล็กน้อยก่อน แล้วจึงอ่านว่า ละ ละ ละ แล้วหยุด เล็กน้อยก่อนอ่านข้อความต่อไป เช่น ที่เกิดมีภาษาไทย...ก็เพราะแต่ละภาษาสืบต่อ ภาษาของตนไว้ อ่านว่า ที่ – เกิด – มี – พา – สา – ไท ละ ละ ละ ก็ –เพาะ - แต่ – ละ – พา – สา - สืบ – ต่อ – พา – สา ของ – ตน – ไว้