SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 67
การประเมินคุณภาพอุดมศึกษา รอบ ๓ พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๒๕๕๘ (สมศ.) โดย  ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์ ผู้อำนวยการสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) การประชุมสัมมนาคณะกรรมการ ก.ต.ป.น. ประจำปี ๒๕๕๓ วันพฤหัสบดีที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๕๓ ณ โรงแรมอะเดรียติคพาเลซ
สภาวะการเปลี่ยนแปลง การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา  ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์  พรรุ่งโรจน์   ผู้อำนวยการ สมศ.  				     หน้า ๑
  การจัดตั้งสถาบันอุดมศึกษา ,[object Object]
  ค่านิยม
  ประชานิยม
  ธุรกิจ         ฯลฯ  ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์  พรรุ่งโรจน์   ผู้อำนวยการ สมศ.  				       หน้า ๒
     ประเภท/ลักษณะ/พันธกิจ ,[object Object]
 มหาวิทยาลัยวิจัย / มหาวิทยาลัยเน้นการสอน
 ตรี / โท / เอก			- สถานภาพ 			- ทิศทางการพัฒนา  ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์  พรรุ่งโรจน์   ผู้อำนวยการ สมศ.  				      หน้า ๓
การปรับเปลี่ยนสถานภาพ ,[object Object]
 มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์  พรรุ่งโรจน์   ผู้อำนวยการ สมศ.  				      หน้า ๔
 ปริมาณ ,[object Object]
ปริมาณนักศึกษาอาชีวะ  <  ปริมาณนักศึกษามหาวิทยาลัย
ปริมาณมหาวิทยาลัย	   >  ปริมาณประชากรชาติ
ความซ้ำซ้อนอุดมศึกษา
กระจัดกระจาย ไร้พลัง
แตกต่าง / ช่องว่างระดับการพัฒนา  ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์  พรรุ่งโรจน์   ผู้อำนวยการ สมศ.  				      หน้า ๕
[object Object]
คุณภาพตัวป้อนอุดม
คุณภาพอาจารย์
คุณภาพบุคลากร
คุณภาพผู้บริหาร
คุณภาพบัณฑิตคุณภาพคน  ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์  พรรุ่งโรจน์   ผู้อำนวยการ สมศ.  				       หน้า ๖
การแก้ปัญหาอุดมศึกษาปัจจุบันการไร้ทิศทาง ความซ้ำซ้อน การขาดคุณภาพและประสิทธิภาพ ,[object Object],นักศึกษาใหม่ (๖๓๙,๑๓๕)          ปี ๔๙    รัฐ (๕๓๕,๑๒๐)    เอกชน (๑๐๔,๐๑๕) นักศึกษาทั้งหมด (๒,๑๒๒,๓๕๖)   ปี ๔๙    รัฐ (๑,๘๔๕,๖๓๓) เอกชน (๒๗๖,๗๒๓)     ร้อยละ ๘๗ : ๑๓ ผู้สำเร็จการศึกษา (๓๔๓,๙๑๕)      ปี ๔๘    รัฐ (๒๙๐,๐๙๙) เอกชน (๕๓,๘๑๖)         ร้อยละ ๘๔ : ๑๖ จำแนกตามสาขาหลักโดยสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี : วิทยาศาสตร์สุขภาพ ร้อยละ ๗๔ : ๒๒ : ๔  ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์  พรรุ่งโรจน์   ผู้อำนวยการ สมศ.  				        หน้า ๗
จำนวนสถาบัน  		มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ			๑๓ 		มหาวิทยาลัยของรัฐ				๒๘*(* รวมสถาบันการพลศึกษา จำนวน ๑๓ วิทยาเขต) 		มหาวิทยาลัยราชภัฏ				๔๐ 		มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล		  ๙ 		มหาวิทยาลัยเอกชน				๖๘ 		วิทยาลัยชุมชน				๒๐ 		เฉพาะทาง					๖๔  ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์  พรรุ่งโรจน์   ผู้อำนวยการ สมศ.  				       หน้า ๘
ระบบการคัดเลือกบุคคลศึกษา(Entrance) ,[object Object]
Admission- การเปลี่ยนแปลงด้านประชากร 			- ตัวป้อน (Input) อ่อนแอ  ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์  พรรุ่งโรจน์   ผู้อำนวยการ สมศ.  				       หน้า ๙
หลักสูตร ,[object Object]
 การเปลี่ยนแปลง		- ประชากร 		- ความจำเป็น 		- ความเชื่อมโยงภาคอุตสาหกรรม ,[object Object],- การเพิ่มขึ้นของผู้สูงอายุ  ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์  พรรุ่งโรจน์   ผู้อำนวยการ สมศ.  				      หน้า ๑๐
[object Object],- พลังงาน 		- อาหาร 		- โลกร้อน 		- อุบัติภัย 		- สันติภาพ 		- วัฒนธรรม  ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์  พรรุ่งโรจน์   ผู้อำนวยการ สมศ.  				      หน้า ๑๑
Information Society Information Society Information Society  ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์  พรรุ่งโรจน์   ผู้อำนวยการ สมศ.  				      หน้า ๑๒
 องค์ความรู้ ,[object Object]
  วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
  สังคมศาสตร์
  มนุษยศาสตร์ ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์  พรรุ่งโรจน์   ผู้อำนวยการ สมศ.  				      หน้า ๑๓
การบริหาร ,[object Object]
 การได้มาซึ่งผู้บริหาร
 การกระจายอำนาจ + การกำกับติดตาม
 สภามหาวิทยาลัย ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์  พรรุ่งโรจน์   ผู้อำนวยการ สมศ.  				       หน้า ๑๔
การเงินอุดมศึกษา ,[object Object]
 เงินกู้ยืม กยศ.
 กองทุน ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์  พรรุ่งโรจน์   ผู้อำนวยการ สมศ.  				      หน้า ๑๕
[object Object]
 สภาวิชาชีพ
 กพร.
 สมศ.การกำกับ  ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์  พรรุ่งโรจน์   ผู้อำนวยการ สมศ.  				      หน้า ๑๖
การประกันคุณภาพ ,[object Object]
 IQA และ EQA
 KPI รอบ ๓
 ทัศนคติ
 การใช้ผล ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์  พรรุ่งโรจน์   ผู้อำนวยการ สมศ.  				      หน้า ๑๗
การประกันคุณภาพการศึกษาไทย กับการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง ทิศทางการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม  	ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์
การวางกรอบการประเมินคุณภาพภายนอกระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานรอบสาม (พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๕๘)ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงนโยบายทางการศึกษาของประเทศ ดังนี้ ๑. ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง พ.ศ. ๒๕๕๒ -๒๕๖๑๒. กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา  พ.ศ. ๒๕๕๓
ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๖๑ ก. ผลการปฏิรูปการศึกษาที่ผ่านมา ตั้งแต่ปี ๒๕๔๒ คุณภาพผู้เรียน/สถานศึกษา ยังไม่ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน สมศ.  ขาดแคลนครูทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ หน่วยปฏิบัติยังไม่มีอิสระและความคล่องตัวในการบริหารและจัดการศึกษาเท่าที่ควร ผู้เรียนไม่ได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึง โดยเฉพาะการศึกษาปฐมวัย  เด็กตกออกกลางคัน เด็กที่มีความต้องการพิเศษ   การผลิตและพัฒนากำลังคนไม่สอดคล้องกับความต้องการของประเทศ  การเงินเพื่อการศึกษา ขาดการระดมทุนจากทุกภาคส่วน และการจัดสรรงบประมาณไม่สัมพันธ์กับผลผลิต ขาดการพัฒนาการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ทั้งเนื้อหาผ่านสื่อ และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ การบังคับใช้กฎหมายบางเรื่องยังขาดกฎหมายรองรับ ขาดเนื้อหาและวิธีการที่เหมาะสมที่ทำให้การศึกษาตลอดชีวิต การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยสัมฤทธิ์ผล
ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๖๑ ข. ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง วิสัยทัศน์ :คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ปรัชญา : การเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ คือ การเรียนรู้ผ่านกิจกรรมที่เชื่อมโยงกับวิถีชีวิต เป้าหมายระยะยาว :ภายในปี ๒๕๖๑ มีการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ โดยเน้นประเด็นหลักสามประการ คือ ,[object Object]
โอกาสทางการศึกษาและเรียนรู้
ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของสังคมในการบริหารและจัดการศึกษา,[object Object]
กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ หมวด ๓ การประกันคุณภาพภายนอก ข้อ ๓๗ การประกันคุณภาพภายนอกให้คำนึงถึงจุดมุ่งหมายและหลักการ ดังต่อไปนี้ (๑) เพื่อให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 	(๒) ยึดหลักความเที่ยงตรง เป็นธรรม และโปร่งใส มีหลักฐานข้อมูลตามสภาพความเป็นจริงและมีความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ 	(๓) สร้างความสมดุลระหว่างเสรีภาพทางการศึกษากับจุดมุ่งหมายและหลักการศึกษาของชาติ โดยให้มีเอกภาพเชิงนโยบาย ซึ่งสถานศึกษาสามารถกำหนดเป้าหมายเฉพาะและพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เต็มตามศักยภาพของสถานศึกษาและผู้เรียน               (๔) ส่งเสริม สนับสนุน และร่วมมือกับสถานศึกษาในการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา 	(๕) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการประเมินคุณภาพ และพัฒนาการจัดการศึกษาของรัฐ เอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพสถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น 	(๖) ความเป็นอิสระ เสรีภาพทางวิชาการ เอกลักษณ์ ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์  พันธกิจ และเป้าหมายของสถานศึกษา
กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ หมวด ๓ การประกันคุณภาพภายนอก ข้อ ๓๘ ในการประกันคุณภาพภายนอก ให้สำนักงานทำการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาแต่ละแห่งตามมาตรฐานการศึกษาของชาติและครอบคลุมหลักเกณฑ์ในเรื่อง ดังต่อไปนี้ 	(๑) มาตรฐานที่ว่าด้วยผลการจัดการศึกษาในแต่ละระดับและประเภทการศึกษา 	(๒) มาตรฐานที่ว่าด้วยการบริหารจัดการศึกษา 	(๓) มาตรฐานที่ว่าด้วยการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 	(๔) มาตรฐานที่ว่าด้วยการประกันคุณภาพภายใน 	ในกรณีที่มีความจำเป็นต้องทำการประเมินคุณภาพภายนอกจากมาตรฐานอื่นเพิ่มเติมจากมาตรฐานที่กำหนดในวรรคหนึ่ง ให้สำนักงานประกาศกำหนดมาตรฐานอื่นได้โดยความเห็นชอบของรัฐมนตรี
ข้อ ๓๙ วิธีการในการประกันคุณภาพภายนอก ให้เป็นไปตามระเบียบที่สำนักงานกำหนด ข้อ ๔๐ ในกรณีที่ผลการประเมินคุณภาพภายนอกแสดงว่า ผลการจัดการศึกษาของ สถานศึกษาได้ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ให้สำนักงานแจ้งเป็นหนังสือพร้อมแสดงเหตุผลที่ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานแก่หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษานั้น และให้สถานศึกษานั้นปรับปรุงแก้ไขโดยจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพและดำเนินการตามแผน เพื่อขอรับการประเมินใหม่ภายในสองปีนับแต่วันที่ได้รับแจ้งผลการประเมินครั้งแรก 	ให้สถานศึกษาเสนอแผนพัฒนาคุณภาพต่อสำนักงานเพื่อพิจารณาอนุมัติภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งผลการประเมินตามวรรคหนึ่ง ข้อ ๔๑ ในกรณีที่สถานศึกษาไม่ดำเนินการปรับปรุงแก้ไขภายในกำหนดเวลาตามข้อ ๔๐ ให้สำนักงานรายงานต่อคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา หรือคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือหน่วยงานต้นสังกัดอื่น แล้วแต่กรณี เพื่อพิจารณาสั่งการต่อไป กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ หมวด ๓ การประกันคุณภาพภายนอก
สรุปจุดเน้นการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (ตามมติคณะกรรมการบริหาร สมศ.ครั้งที่ ๔/๒๕๕๒ วันที่ ๒๗-๒๘ มิถุนายน ๒๕๕๒) Lifelong  Learning ,[object Object]
 การกำหนดมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ และกระบวนการประเมิน ควรมีทิศทางที่สอดคล้องกับการประเมินภายนอก การประเมินภายใน และการประกันคุณภาพ
ส่งเสริมให้มีการเชื่อมโยงผลจากการประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิผล กับระบบการเงินและการจัดสรรทรัพยากรของประเทศโดยมีแนวคิดว่า หน่วยงานที่มีผลการประเมินในอยู่ในเกณฑ์ดี สมควรได้รับการสนับสนุนทรัพยากรอย่าง    เหมาะสม ตลอดจนเป็นประโยชน์แก่การดำเนินงานของหน่วยงานกลางหรือคณะกรรมการจัดสรรทรัพยากรด้านการศึกษาในอนาคต ในการพัฒนารูปแบบการจัดการทางการเงินและการจัดสรรทรัพยากร ทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อไป
ควรมีการเผยแพร่ผลการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพการบริหารจัดการของแต่ละหน่วยงาน อย่างเป็นรูปธรรมต่อสาธารณะ โดยเฉพาะผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) เช่น ผู้รับการศึกษา ครอบครัว ชุมชน และประชาชน   ผู้เสียภาษี,[object Object]
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรกระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (๒๕๔๔-๒๕๔๘)
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสองข้อมูล พ.ศ.๒๕๔๙-๒๕๕๒
ผลการประเมิน ระดับอาชีวศึกษา

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a Presentation การประชุมสัมมนา ก.ต.ป.น.

ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลยความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลยpentanino
 
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55docหลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55dockrupornpana55
 
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55docหลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55dockrupornpana55
 
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพการพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพkoyrattanasri
 
แผนกลยุทธ์วิทยาลัยสงฆ์เลย 2550-2554
แผนกลยุทธ์วิทยาลัยสงฆ์เลย 2550-2554แผนกลยุทธ์วิทยาลัยสงฆ์เลย 2550-2554
แผนกลยุทธ์วิทยาลัยสงฆ์เลย 2550-2554pentanino
 
โครงการการติดตาม เยี่ยมเยียนสถานศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา
โครงการการติดตาม เยี่ยมเยียนสถานศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษาโครงการการติดตาม เยี่ยมเยียนสถานศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา
โครงการการติดตาม เยี่ยมเยียนสถานศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษานิรุทธิ์ อุทาทิพย์
 
รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2560 โรงเรียนพระบางวิทยา สพม.42
รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2560 โรงเรียนพระบางวิทยา สพม.42รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2560 โรงเรียนพระบางวิทยา สพม.42
รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2560 โรงเรียนพระบางวิทยา สพม.42ungpao
 
โครงงานกลุ่ม
โครงงานกลุ่มโครงงานกลุ่ม
โครงงานกลุ่มkeeree samerpark
 
IS นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์-คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตร...
IS นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์-คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตร...IS นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์-คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตร...
IS นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์-คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตร...sirimongkol9990
 
Isนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์ คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรี...
Isนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์ คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรี...Isนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์ คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรี...
Isนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์ คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรี...poppoppo
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)pairat13
 
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตWichai Likitponrak
 

Semelhante a Presentation การประชุมสัมมนา ก.ต.ป.น. (20)

The Art of Strategy
The Art of StrategyThe Art of Strategy
The Art of Strategy
 
No8 february2013
No8 february2013No8 february2013
No8 february2013
 
แนะนำทุน พสวท.
แนะนำทุน พสวท.แนะนำทุน พสวท.
แนะนำทุน พสวท.
 
T4
T4T4
T4
 
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลยความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
 
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55docหลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
 
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55docหลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
 
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพการพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
 
แผนกลยุทธ์วิทยาลัยสงฆ์เลย 2550-2554
แผนกลยุทธ์วิทยาลัยสงฆ์เลย 2550-2554แผนกลยุทธ์วิทยาลัยสงฆ์เลย 2550-2554
แผนกลยุทธ์วิทยาลัยสงฆ์เลย 2550-2554
 
โครงการการติดตาม เยี่ยมเยียนสถานศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา
โครงการการติดตาม เยี่ยมเยียนสถานศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษาโครงการการติดตาม เยี่ยมเยียนสถานศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา
โครงการการติดตาม เยี่ยมเยียนสถานศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา
 
รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2560 โรงเรียนพระบางวิทยา สพม.42
รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2560 โรงเรียนพระบางวิทยา สพม.42รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2560 โรงเรียนพระบางวิทยา สพม.42
รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2560 โรงเรียนพระบางวิทยา สพม.42
 
Organization intelligence2
Organization intelligence2Organization intelligence2
Organization intelligence2
 
โครงงานกลุ่ม
โครงงานกลุ่มโครงงานกลุ่ม
โครงงานกลุ่ม
 
Sasin - TRF 2016 presentation
Sasin - TRF 2016 presentationSasin - TRF 2016 presentation
Sasin - TRF 2016 presentation
 
IS นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์-คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตร...
IS นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์-คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตร...IS นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์-คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตร...
IS นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์-คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตร...
 
Isนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์ คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรี...
Isนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์ คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรี...Isนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์ คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรี...
Isนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์ คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรี...
 
No9 march2013
No9 march2013No9 march2013
No9 march2013
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
 
1 ตอน1 sar55
1 ตอน1 sar551 ตอน1 sar55
1 ตอน1 sar55
 
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
 

Presentation การประชุมสัมมนา ก.ต.ป.น.