SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 36
บทที่ 
4 ปฏิจจสมุปบาท 
DEPENDENT ORIGINATION 
วิชาจริยธรรมกับชีวิต หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 
มหาวิทยาลยัราชภฏัอุดรธานี
ปฏิจจสมุปบาทคืออะไร 
 ปฏิจจสมุปบาทแปลว่า ธรรมที่อาศัยซึ่งกันและกันเกิดขึ้น หรือกระบวนการเกิด 
ของความทุกข์ตามกฎแห่งเหตุปัจจัยที่ว่า เพราะสิ่งนี้มีสิ่งนี้จึงมี เพราะสิ่งนี้ไม่มีสิ่ง 
นี้จึงไม่มี
ความสา คัญของปฏิจจสมุปบาท 
 วศิน อินทสระ (2519:619) ได้แสดงทัศนะเกี่ยวกับความสา คัญของปฏิจจสมุปบาทว่า เป็น 
ธรรมที่มีความสา คัญยิ่งยวดประการหนึ่งในบรรดาหลักคา สั่งสอนที่สา คัญ ๆ ของพระพุทธเจา้
องค์ธรรมของปฏิจจสมุปบาท 
1. อวิชชา 7. เวทนา 
2. สังขาร 8. ตัณหา 
3. วิญญาณ 9. อุปาทาน 
4. นามรูป 10. ภพ 
5. สฬายตนะ 11. ชาติ 
6. ผัสสะ 12. ชรา มรณะ
อวิชชา (IGNORANCE) 
อวิชชา คือความไม่รู้แจง้ในเรื่องของชีวิต ไม่เห็นตามความเป็นจริง 
คือไม่รู้แจง้ในอริยสัจ 4 อันได้แก่ 
1. ไม่รู้ในทุกข์ 
2. ไม่รู้ในทุกขสมุทัย 
3. ไม่รู้ในทุกขนิโรธ 
4. ไม่รู้ในทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา
สังขาร (KAMMA-FORMATION) 
การปรุงแต่งจิตใจให้ดีหรือชั่ว ได้แก่ 
1. กายสงัขาร สภาพที่ปรุงแต่ง 
การกระทา ทางกาย 
2. วจีสงัขาร สภาพที่ปรุงแต่ง 
การกระทา ทางวาจา 
3. จิตตสงัขาร สภาพที่ปรุงแต่ง 
การกระทา ทางใจ
วิญญาณ (CONCIOUSNESS) 
วิญญาณ แปลว่าการรับรู้ หรือธาตุรู้ 6 ประการ อันได้แก่ 
1. จกัขุวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางตา คือ รู้รูปด้วยตา 
2. โสตวิญญาณ ความร้อูารมณ์ทางหู คือ รู้เสียงด้วยหู 
3. ฆานวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางจมูก คือ รู้กลิ่นด้วยจมูก 
4. ชิวหาวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางล้นิ คือ รู้รสด้วยลิ้น 
5. กายวิญญาณ ความร้อูารมณ์ทางกาย คือ รู้โผฏฐัพพะด้วย 
กาย 
6. มโนวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางใจ คือ รู้ธรรมารมณ์ด้วยใจ
นามรูป (MIND AND MATTER) 
นามรูปหมายถึง นามธรรมและรูปธรรม นามคือ เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ 
รูป คือมหาภูตรูป 4 ไดแ้ก่ 
1. ปฐวีธาตุ ธาตุดิน 
2. อาโปธาตุ ธาตุน้า 
3. วาโยธาตุ ธาตุลม 
4. เตโชธาตุ ธาตุไฟ
สฬายตนะ (SIX SENCE-BASES) 
สฬายตนะ ไดแ้ก่ อายตนะภายใน 6 
1. จักษุ ตา 
2. โสตะ หู 
3. ฆานะ จมูก 
4. ชิวหา ล้นิ 
5. กาย ร่างกาย 
6. มโน ใจ
ผัสสะ (CONTRACT) 
1. จักขุสัมผัส ความกระทบทางตา คือ ตา + รูป 
2. โสตสัมผัส ความกระทบทางหู คือ หู + เสียง 
3. ฆานสัมผัส ความกระทบทางจมูก คือ จมูก + กลิ่น 
4. ชิวหาสัมผัส ความกระทบทางลิ้น คือ ล้นิ + รส 
5. กายสัมผัส ความกระทบทางกาย คือกาย + โผฏฐัพพะ 
6. มโนสัมผัส ความกระทบทางใจ คือ ใจ + ธรรมารมณ์
เวทนา (FEELING) 
การเสวยอารมณ์หรือความร้สูึก ได้แก่ 
1. จักขุสัมผัสชาเวทนา เวทนาเกิดจากสัมผัสทางตา 
2. โสตสัมผัสชาเวทนา เวทนาเกิดจากสัมผัสทางหู 
3. ฆานสัมผัสชาเวทนา เวทนาเกิดจากสัมผัสทางจมูก 
4. ชิวหาสัมผัสชาเวทนา เวทนาเกิดจากสัมผัสทางล้นิ 
5. กายสัมผัสชาเวทนา เวทนาเกิดจากสัมผัสทางกาย 
6. มโนสัมผัสชาเวทนา เวทนาเกิดจากสัมผัสทางใจ
ตัณหา (CRAVING) 
ตัณหา คือ ความทะยานอยาก 
1. กามตณัหา ความทะยานอยากในกาม 
2. ภวตณัหา ความทะยานอยากในภพ 
3. วิภวตณัหา ความทะยานอยากในวิภพ
อุปาทาน (ATTACHMENT) 
อุปาทาน ความยึดมั่น ความถือมั่นด้วยอา นาจกิเลส 
1. กามุปาทาน ความยึดมั่นในกาม 
2. ทิฏฐุปาทาน ความยึดมั่นในทิฏฐิหรือทฤษฎี 
3. สีลพัพตัตุปาทาน ความยึดมั่นในศีลและพรต 
4. อตัตวาทุปาทาน ความยึดมั่นในวาทะว่าตัวตน
ภพ (BECOMING) 
ภพ คือ ภาวะชีวิตของสตัว์ 
1. กามภพ ภพที่เป็นกามาวจร ได้แก่ อบาย 4 มนุษยโลก และ 
สวรรค์ 
2. รูปภพ ภพที่เป็นรูปาวจร ได้แก่ รูปพรหมทั้ง 16 
3. อรูปภพ ภพที่เป็นอรูปาวจร ได้แก่ อรูปพรหม 4
ชาติ (BIRTH) 
ชาติ คือ การเกิด ไดแ้ก่การปรากฏแห่งขันธ์ การไดอ้วยัวะต่าง ๆ คือการเกิดของ 
ภพคือชีวิต โดยปรมัตถ์ ไดแ้ก่การเกิด หรอืปรากฏของขันธ์คือความเกิดข้นึของ 
วิญญาณ นามรูป และสฬายตนะ
ชรา มรณะ (DECAY AND DEATH) 
ชรา มรณะ หมายถึง ความทรุดโทรมไปแห่งอวยัวะต่าง ๆ และความ 
ย่อยสลายแห่งขันธ์หรือชีวิต ชรามีความสุขงอมของขันธ์เป็นลักษณะ มี 
หน้าที่ฉุดลากชีวิตเข้าไปหาความตาย มีความเสื่อมของวยัเป็นผล ส่วน 
มรณะนนั้หมายความว่า ความสลายแห่งขันธ์ ความขาดแห่งชีวิตินทรยี์
ปฏิจจสมุปบาทสายสมุทยวาร 
1-2. เพราะอวิชชา เป็นปัจจัย สังขารจึงมี 
3. เพราะสังขารเป็นปัจจัย วิญญาณจึงมี 
4. เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย นามรูปจึงมี 
5. เพราะนามรูปเป็นปัจจัย สฬายตนะจึงมี 
6. เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย ผัสสะจึงมี 
7. เพราะผัสสะเป็นปัจจัย เวทนาจึงมี 
8. เพราะเวทนาเป็นปัจจัย ตัณหาจึงมี 
9. เพราะตัณหาเป็นปัจจัย อุปาทานจึงมี 
10. เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย ภพจึงมี 
11.เพราะภพเป็นปัจจัย ชาติจึงมี 
12. เพราะชาติเป็นปัจจัย ชรามรณะจึงมี
ปฏิจจสมุปบาทสายนิโรธวาร 
1-2. เพราะอวิชชาดบั สงัขารจึงดบั 
3. เพราะสงัขารดบั วิญญาณจึงดบั 
4. เพราะวิญญาณดบั นามรูปจึงดบั 
5. เพราะนามรูปดบั สฬายตนะจึงดบั 
6. เพราะสฬายตนะดบั ผสัสะจึงดบั 
7. เพราะผสัสะดบั เวทนาจึงดบั 
8. เพราะเวทนาดบั ตณัหาจึงดบั 
9. เพราะตณัหาดบั อุปาทานจึงดบั 
10. เพราะอุปาทานดบั ภพจึงดบั 
11.เพราะภพดบั ชาติจึงดบั 
12. เพราะชาติดบั ชรามรณะจึงดบั
ความสัมพันธ์ระหว่างปฏิจจสมุปบาทและอริยสัจ 
1. สมุทยวาร (สายเกิดของปฏิจจสมุปบาท) หมายถึง ทุกขสัจและสมุทัยสัจ 
2. นิโรธวาร (สายดับของปฏิจจสมุปบาท) หมายถึง นิโรธสัจและมรรคสัจ
1.อวิชชาเป็นปัจจัยให้เกิดสังขาร 
เพราะความไม่รู้จึงทา ให้เกิดความความเข้าใจผดิ เช่น เข้าใจว่า 
วิธีดับทุกข์คือการออ้นวอนบวงสรวงเทพเจา้ หรือการใชชี้วิต 
หมกหม่นในกาม โดยสา คัญผิดไปว่าเมื่อสามารถสนองตัณหา 
ได้ก็จะเกิดความสุขข้นึ ความนึกคิดดังกล่าวคือสังขารที่เกิดขึ้น 
เพราะความไม่รู้
2.สังขารเป็นปัจจัยให้เกิดวิญญาณ 
สังขารคือความนึกคิดโดยมีเจตนาความจงใจให้เกิดการกระทา 
ทางกาย วาจา ใจ ที่เป็นบุญบ้าง บาปบ้าง และไม่จัดเป็นทงั้บุญ 
และบาปบ้าง ความคิดคือเจตนาดังกล่าวก็จะนา ไปส่กูารรับรู้ 
ทางจิตหรือวิญญาณ
3.วิญญาณเป็นปัจจัยให้เกิดนามรูป 
การรับรู้เรียกว่าวิถีวิญญาณ จากวิถีวิญญาณก็จะก่อให้เกิด 
ปฏิสนธิวิญญาณ หรือการรับรู้ที่ก่อให้เกิดภพชาติใหม่ตาม 
อา นาจของกรรม ปฏิสนธิวิญญาณซึ่งเป็นไปตามอา นาจของ 
กรรมได้ก่อให้เกิดกระบวนการการเกิดและก่อรูปเป็นชีวิตที่ 
พร้อมจะปรุงแต่งให้เกิดการกระทา ต่อไปอีก จึงเกิดมีขันธ์ต่าง 
ๆ ขึ้นตามภพภูมิที่ไปปฏิสนธิ เช่น มนุษย์ ดิรัจฉาน เทวดา 
เป็นต้น
4. นามรูปเป็นปัจจัยให้เกิดสฬายตนะ 
เมื่อขันธ์ 5 คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณปรากฏ 
ข้นึ เรียกว่านามรูป และนามรูปนี้เองเป็นฐานให้เกิดสฬายตนะ 
คืออายตนะภายใน 6 อย่าง (ตา หู จมูก ล้นิ กาย ใจ) เพื่อ 
สนองความต้องการที่จะติดต่อกับโลกภายนอก
5. สฬายตนะเป็นปัจจัยให้เกิดผัสสะ 
อายตนะภายในทงั้ 6 คือ ตา หู จมูก ล้นิ กาย ใจ ได้ทา หน้าที่ 
ปฏิสัมพันธ์กับโลกภายนอก (อายตนะภายนอก) คือรูป เสียง 
กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ การกระทบกันของ 
อายตนะภายในและภายนอกก่อให้เกิดผัสสะหรือการสัมผัส
6. ผัสสะเป็นปัจจัยให้เกิดเวทนา 
เมื่อมีการกระทบกันที่เรียกว่า ผัสสะ 
เกิดข้นึ ทา ให้เกิดผลตามมา คือ 
ความร้สูึก(เวทนา) รู้สึกพอใจบ้าง 
ไม่พอใจบ้าง เฉย ๆ บ้าง ตามคุณภาพ 
ของอารมณ์ที่เข้ามากระทบ
7. เวทนาเป็นปัจจัยให้เกิดตัณหา 
ความพอใจ(สุขเวทนา) ในรูปเสียงกลิ่น รส สัมผัสและ 
ธรรมารมณ์ ความไม่พอใจ(ทุกขเวทนา) และความรู้สึกเฉย ๆ 
ต่ออารมณ์ (อทุกขมสุขเวทนา) จะส่งผลให้เกิดความอยากหรือ 
ตัณหา ได้แก่ กามตัณหา ความอยากในกามคุณ ภวตัณหา 
ความอยากเป็น และวิภวตัณหา ความไม่อยากเป็น
8. ตัณหาเป็นปัจจัยให้เกิดอุปาทาน 
เมื่อเกิดความพอใจก็อยากได้มาเป็นของตน เกิดการยึดมั่นถือ 
มั่น ไม่ยอมปล่อยวางทา ให้เกิดกามุปาทาน (ความยึดมั่นใน 
กาม) ทิฏฐวาทุปาทาน (ความยึดมั่นในความเห็น) สีลพัตตุ 
ปาทาน (ความยึดมั่นในศีล) และอัตตวาทุปาทาน (ความยึดมั่น 
ในตัวตน)
9. อุปาทานเป็นปัจจัยให้เกิดภพ 
จากการยึดมั่นถือมั่นในลักษณะต่าง ๆ ดังกล่าวแล้วทา ให้เกิด 
การกระทา (กรรมภพ)ตามความยึดมั่นนั้น และการกระทา 
ดังกล่าวก็จะสอดคล้องกับตัณหาและอุปาทานนั้น ๆ ซึ่งจะ 
นาไปสู่ภพใหม่
10. ภพเป็นปัจจัยให้เกิดชาติ 
จากอุปปัตติภพก็จะเกิดปฏิสนธวิิญญาณตามพลังอา นาจของ 
กรรมนั้น ๆ กระบวนการชีวิตเริ่มไปตามวงจรต่อไปอีกจนถึง 
ช่วงต่อไป
11. ชาติเป็นปัจจัยให้เกิดชรามรณะ 
เมื่อขบวนการแห่งชีวิตได้หมุนเวียนไปตามวงจร จากชาติก็จะ 
ไปสู่ชรามรณะ คือความแตกดับแห่งชีวิต
ภวจักร หรือ ไตรวฏัฏ์ 
1. กิเลส คือ ตัวสาเหตุผลักดันให้คิดปรุงแต่งการกระทา ต่าง ๆ 
2. กรรม คือกระบวนการกระทา หรือปรุงแต่งชีวิตให้เป็นไปต่าง ๆ 
3. วิบาก คือ สภาพที่เป็นผลแห่งการปรุงแต่งของกรรม และเป็นปัจจัย 
เสริมสร้างกิเลสต่อไปอีก
ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

บทที่ 5 สันติ
บทที่ 5 สันติบทที่ 5 สันติ
บทที่ 5 สันติ
Onpa Akaradech
 
บทที่ 2 วิราคะ
บทที่ 2 วิราคะบทที่ 2 วิราคะ
บทที่ 2 วิราคะ
Onpa Akaradech
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
Anchalee BuddhaBucha
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
พัน พัน
 
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
bmcweb072
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
Chavalit Deeudomwongsa
 
บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพาน
Onpa Akaradech
 
ลักษณะของจิต
ลักษณะของจิตลักษณะของจิต
ลักษณะของจิต
Wataustin Austin
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
Padvee Academy
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒
Evesu Goodevening
 

Mais procurados (20)

อรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐานอรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
 
บทที่ 5 สันติ
บทที่ 5 สันติบทที่ 5 สันติ
บทที่ 5 สันติ
 
มงคล38
มงคล38มงคล38
มงคล38
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
บทที่ 2 วิราคะ
บทที่ 2 วิราคะบทที่ 2 วิราคะ
บทที่ 2 วิราคะ
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
 
บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพาน
 
ลักษณะของจิต
ลักษณะของจิตลักษณะของจิต
ลักษณะของจิต
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒
 

Destaque

พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
บรรพต แคไธสง
 
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
mocxx
 
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
Padvee Academy
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
Anchalee BuddhaBucha
 

Destaque (12)

13 ฝึกสมาธิ ยืน เดิน นั่ง
13 ฝึกสมาธิ  ยืน เดิน นั่ง13 ฝึกสมาธิ  ยืน เดิน นั่ง
13 ฝึกสมาธิ ยืน เดิน นั่ง
 
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
 
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
 

Semelhante a ปฏิจจสมุปบาท

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
primpatcha
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
magicgirl123
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนา
kruudompcccr
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
Panda Jing
 
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นบทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
Gawewat Dechaapinun
 
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
maruay songtanin
 
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วงสัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
Chinnakorn Pawannay
 
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มีแสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
Kiat Chaloemkiat
 
หลักธรรม นิโรธ มรรค
หลักธรรม นิโรธ มรรคหลักธรรม นิโรธ มรรค
หลักธรรม นิโรธ มรรค
ssuser214242
 

Semelhante a ปฏิจจสมุปบาท (20)

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
Behavior
BehaviorBehavior
Behavior
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนา
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
 
คำนำทำ1
คำนำทำ1คำนำทำ1
คำนำทำ1
 
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นบทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
 
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
 
บทที่ ๑ ใหม่
บทที่ ๑ ใหม่บทที่ ๑ ใหม่
บทที่ ๑ ใหม่
 
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วงสัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มีแสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
 
หลักธรรม นิโรธ มรรค
หลักธรรม นิโรธ มรรคหลักธรรม นิโรธ มรรค
หลักธรรม นิโรธ มรรค
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 

ปฏิจจสมุปบาท

  • 1. บทที่ 4 ปฏิจจสมุปบาท DEPENDENT ORIGINATION วิชาจริยธรรมกับชีวิต หมวดวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลยัราชภฏัอุดรธานี
  • 2. ปฏิจจสมุปบาทคืออะไร  ปฏิจจสมุปบาทแปลว่า ธรรมที่อาศัยซึ่งกันและกันเกิดขึ้น หรือกระบวนการเกิด ของความทุกข์ตามกฎแห่งเหตุปัจจัยที่ว่า เพราะสิ่งนี้มีสิ่งนี้จึงมี เพราะสิ่งนี้ไม่มีสิ่ง นี้จึงไม่มี
  • 3. ความสา คัญของปฏิจจสมุปบาท  วศิน อินทสระ (2519:619) ได้แสดงทัศนะเกี่ยวกับความสา คัญของปฏิจจสมุปบาทว่า เป็น ธรรมที่มีความสา คัญยิ่งยวดประการหนึ่งในบรรดาหลักคา สั่งสอนที่สา คัญ ๆ ของพระพุทธเจา้
  • 4. องค์ธรรมของปฏิจจสมุปบาท 1. อวิชชา 7. เวทนา 2. สังขาร 8. ตัณหา 3. วิญญาณ 9. อุปาทาน 4. นามรูป 10. ภพ 5. สฬายตนะ 11. ชาติ 6. ผัสสะ 12. ชรา มรณะ
  • 5. อวิชชา (IGNORANCE) อวิชชา คือความไม่รู้แจง้ในเรื่องของชีวิต ไม่เห็นตามความเป็นจริง คือไม่รู้แจง้ในอริยสัจ 4 อันได้แก่ 1. ไม่รู้ในทุกข์ 2. ไม่รู้ในทุกขสมุทัย 3. ไม่รู้ในทุกขนิโรธ 4. ไม่รู้ในทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา
  • 6. สังขาร (KAMMA-FORMATION) การปรุงแต่งจิตใจให้ดีหรือชั่ว ได้แก่ 1. กายสงัขาร สภาพที่ปรุงแต่ง การกระทา ทางกาย 2. วจีสงัขาร สภาพที่ปรุงแต่ง การกระทา ทางวาจา 3. จิตตสงัขาร สภาพที่ปรุงแต่ง การกระทา ทางใจ
  • 7. วิญญาณ (CONCIOUSNESS) วิญญาณ แปลว่าการรับรู้ หรือธาตุรู้ 6 ประการ อันได้แก่ 1. จกัขุวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางตา คือ รู้รูปด้วยตา 2. โสตวิญญาณ ความร้อูารมณ์ทางหู คือ รู้เสียงด้วยหู 3. ฆานวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางจมูก คือ รู้กลิ่นด้วยจมูก 4. ชิวหาวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางล้นิ คือ รู้รสด้วยลิ้น 5. กายวิญญาณ ความร้อูารมณ์ทางกาย คือ รู้โผฏฐัพพะด้วย กาย 6. มโนวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางใจ คือ รู้ธรรมารมณ์ด้วยใจ
  • 8. นามรูป (MIND AND MATTER) นามรูปหมายถึง นามธรรมและรูปธรรม นามคือ เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ รูป คือมหาภูตรูป 4 ไดแ้ก่ 1. ปฐวีธาตุ ธาตุดิน 2. อาโปธาตุ ธาตุน้า 3. วาโยธาตุ ธาตุลม 4. เตโชธาตุ ธาตุไฟ
  • 9. สฬายตนะ (SIX SENCE-BASES) สฬายตนะ ไดแ้ก่ อายตนะภายใน 6 1. จักษุ ตา 2. โสตะ หู 3. ฆานะ จมูก 4. ชิวหา ล้นิ 5. กาย ร่างกาย 6. มโน ใจ
  • 10. ผัสสะ (CONTRACT) 1. จักขุสัมผัส ความกระทบทางตา คือ ตา + รูป 2. โสตสัมผัส ความกระทบทางหู คือ หู + เสียง 3. ฆานสัมผัส ความกระทบทางจมูก คือ จมูก + กลิ่น 4. ชิวหาสัมผัส ความกระทบทางลิ้น คือ ล้นิ + รส 5. กายสัมผัส ความกระทบทางกาย คือกาย + โผฏฐัพพะ 6. มโนสัมผัส ความกระทบทางใจ คือ ใจ + ธรรมารมณ์
  • 11. เวทนา (FEELING) การเสวยอารมณ์หรือความร้สูึก ได้แก่ 1. จักขุสัมผัสชาเวทนา เวทนาเกิดจากสัมผัสทางตา 2. โสตสัมผัสชาเวทนา เวทนาเกิดจากสัมผัสทางหู 3. ฆานสัมผัสชาเวทนา เวทนาเกิดจากสัมผัสทางจมูก 4. ชิวหาสัมผัสชาเวทนา เวทนาเกิดจากสัมผัสทางล้นิ 5. กายสัมผัสชาเวทนา เวทนาเกิดจากสัมผัสทางกาย 6. มโนสัมผัสชาเวทนา เวทนาเกิดจากสัมผัสทางใจ
  • 12. ตัณหา (CRAVING) ตัณหา คือ ความทะยานอยาก 1. กามตณัหา ความทะยานอยากในกาม 2. ภวตณัหา ความทะยานอยากในภพ 3. วิภวตณัหา ความทะยานอยากในวิภพ
  • 13. อุปาทาน (ATTACHMENT) อุปาทาน ความยึดมั่น ความถือมั่นด้วยอา นาจกิเลส 1. กามุปาทาน ความยึดมั่นในกาม 2. ทิฏฐุปาทาน ความยึดมั่นในทิฏฐิหรือทฤษฎี 3. สีลพัพตัตุปาทาน ความยึดมั่นในศีลและพรต 4. อตัตวาทุปาทาน ความยึดมั่นในวาทะว่าตัวตน
  • 14. ภพ (BECOMING) ภพ คือ ภาวะชีวิตของสตัว์ 1. กามภพ ภพที่เป็นกามาวจร ได้แก่ อบาย 4 มนุษยโลก และ สวรรค์ 2. รูปภพ ภพที่เป็นรูปาวจร ได้แก่ รูปพรหมทั้ง 16 3. อรูปภพ ภพที่เป็นอรูปาวจร ได้แก่ อรูปพรหม 4
  • 15.
  • 16. ชาติ (BIRTH) ชาติ คือ การเกิด ไดแ้ก่การปรากฏแห่งขันธ์ การไดอ้วยัวะต่าง ๆ คือการเกิดของ ภพคือชีวิต โดยปรมัตถ์ ไดแ้ก่การเกิด หรอืปรากฏของขันธ์คือความเกิดข้นึของ วิญญาณ นามรูป และสฬายตนะ
  • 17. ชรา มรณะ (DECAY AND DEATH) ชรา มรณะ หมายถึง ความทรุดโทรมไปแห่งอวยัวะต่าง ๆ และความ ย่อยสลายแห่งขันธ์หรือชีวิต ชรามีความสุขงอมของขันธ์เป็นลักษณะ มี หน้าที่ฉุดลากชีวิตเข้าไปหาความตาย มีความเสื่อมของวยัเป็นผล ส่วน มรณะนนั้หมายความว่า ความสลายแห่งขันธ์ ความขาดแห่งชีวิตินทรยี์
  • 18. ปฏิจจสมุปบาทสายสมุทยวาร 1-2. เพราะอวิชชา เป็นปัจจัย สังขารจึงมี 3. เพราะสังขารเป็นปัจจัย วิญญาณจึงมี 4. เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย นามรูปจึงมี 5. เพราะนามรูปเป็นปัจจัย สฬายตนะจึงมี 6. เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย ผัสสะจึงมี 7. เพราะผัสสะเป็นปัจจัย เวทนาจึงมี 8. เพราะเวทนาเป็นปัจจัย ตัณหาจึงมี 9. เพราะตัณหาเป็นปัจจัย อุปาทานจึงมี 10. เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย ภพจึงมี 11.เพราะภพเป็นปัจจัย ชาติจึงมี 12. เพราะชาติเป็นปัจจัย ชรามรณะจึงมี
  • 19. ปฏิจจสมุปบาทสายนิโรธวาร 1-2. เพราะอวิชชาดบั สงัขารจึงดบั 3. เพราะสงัขารดบั วิญญาณจึงดบั 4. เพราะวิญญาณดบั นามรูปจึงดบั 5. เพราะนามรูปดบั สฬายตนะจึงดบั 6. เพราะสฬายตนะดบั ผสัสะจึงดบั 7. เพราะผสัสะดบั เวทนาจึงดบั 8. เพราะเวทนาดบั ตณัหาจึงดบั 9. เพราะตณัหาดบั อุปาทานจึงดบั 10. เพราะอุปาทานดบั ภพจึงดบั 11.เพราะภพดบั ชาติจึงดบั 12. เพราะชาติดบั ชรามรณะจึงดบั
  • 20. ความสัมพันธ์ระหว่างปฏิจจสมุปบาทและอริยสัจ 1. สมุทยวาร (สายเกิดของปฏิจจสมุปบาท) หมายถึง ทุกขสัจและสมุทัยสัจ 2. นิโรธวาร (สายดับของปฏิจจสมุปบาท) หมายถึง นิโรธสัจและมรรคสัจ
  • 21.
  • 22.
  • 23. 1.อวิชชาเป็นปัจจัยให้เกิดสังขาร เพราะความไม่รู้จึงทา ให้เกิดความความเข้าใจผดิ เช่น เข้าใจว่า วิธีดับทุกข์คือการออ้นวอนบวงสรวงเทพเจา้ หรือการใชชี้วิต หมกหม่นในกาม โดยสา คัญผิดไปว่าเมื่อสามารถสนองตัณหา ได้ก็จะเกิดความสุขข้นึ ความนึกคิดดังกล่าวคือสังขารที่เกิดขึ้น เพราะความไม่รู้
  • 24. 2.สังขารเป็นปัจจัยให้เกิดวิญญาณ สังขารคือความนึกคิดโดยมีเจตนาความจงใจให้เกิดการกระทา ทางกาย วาจา ใจ ที่เป็นบุญบ้าง บาปบ้าง และไม่จัดเป็นทงั้บุญ และบาปบ้าง ความคิดคือเจตนาดังกล่าวก็จะนา ไปส่กูารรับรู้ ทางจิตหรือวิญญาณ
  • 25. 3.วิญญาณเป็นปัจจัยให้เกิดนามรูป การรับรู้เรียกว่าวิถีวิญญาณ จากวิถีวิญญาณก็จะก่อให้เกิด ปฏิสนธิวิญญาณ หรือการรับรู้ที่ก่อให้เกิดภพชาติใหม่ตาม อา นาจของกรรม ปฏิสนธิวิญญาณซึ่งเป็นไปตามอา นาจของ กรรมได้ก่อให้เกิดกระบวนการการเกิดและก่อรูปเป็นชีวิตที่ พร้อมจะปรุงแต่งให้เกิดการกระทา ต่อไปอีก จึงเกิดมีขันธ์ต่าง ๆ ขึ้นตามภพภูมิที่ไปปฏิสนธิ เช่น มนุษย์ ดิรัจฉาน เทวดา เป็นต้น
  • 26. 4. นามรูปเป็นปัจจัยให้เกิดสฬายตนะ เมื่อขันธ์ 5 คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณปรากฏ ข้นึ เรียกว่านามรูป และนามรูปนี้เองเป็นฐานให้เกิดสฬายตนะ คืออายตนะภายใน 6 อย่าง (ตา หู จมูก ล้นิ กาย ใจ) เพื่อ สนองความต้องการที่จะติดต่อกับโลกภายนอก
  • 27. 5. สฬายตนะเป็นปัจจัยให้เกิดผัสสะ อายตนะภายในทงั้ 6 คือ ตา หู จมูก ล้นิ กาย ใจ ได้ทา หน้าที่ ปฏิสัมพันธ์กับโลกภายนอก (อายตนะภายนอก) คือรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ การกระทบกันของ อายตนะภายในและภายนอกก่อให้เกิดผัสสะหรือการสัมผัส
  • 28. 6. ผัสสะเป็นปัจจัยให้เกิดเวทนา เมื่อมีการกระทบกันที่เรียกว่า ผัสสะ เกิดข้นึ ทา ให้เกิดผลตามมา คือ ความร้สูึก(เวทนา) รู้สึกพอใจบ้าง ไม่พอใจบ้าง เฉย ๆ บ้าง ตามคุณภาพ ของอารมณ์ที่เข้ามากระทบ
  • 29. 7. เวทนาเป็นปัจจัยให้เกิดตัณหา ความพอใจ(สุขเวทนา) ในรูปเสียงกลิ่น รส สัมผัสและ ธรรมารมณ์ ความไม่พอใจ(ทุกขเวทนา) และความรู้สึกเฉย ๆ ต่ออารมณ์ (อทุกขมสุขเวทนา) จะส่งผลให้เกิดความอยากหรือ ตัณหา ได้แก่ กามตัณหา ความอยากในกามคุณ ภวตัณหา ความอยากเป็น และวิภวตัณหา ความไม่อยากเป็น
  • 30. 8. ตัณหาเป็นปัจจัยให้เกิดอุปาทาน เมื่อเกิดความพอใจก็อยากได้มาเป็นของตน เกิดการยึดมั่นถือ มั่น ไม่ยอมปล่อยวางทา ให้เกิดกามุปาทาน (ความยึดมั่นใน กาม) ทิฏฐวาทุปาทาน (ความยึดมั่นในความเห็น) สีลพัตตุ ปาทาน (ความยึดมั่นในศีล) และอัตตวาทุปาทาน (ความยึดมั่น ในตัวตน)
  • 31. 9. อุปาทานเป็นปัจจัยให้เกิดภพ จากการยึดมั่นถือมั่นในลักษณะต่าง ๆ ดังกล่าวแล้วทา ให้เกิด การกระทา (กรรมภพ)ตามความยึดมั่นนั้น และการกระทา ดังกล่าวก็จะสอดคล้องกับตัณหาและอุปาทานนั้น ๆ ซึ่งจะ นาไปสู่ภพใหม่
  • 32. 10. ภพเป็นปัจจัยให้เกิดชาติ จากอุปปัตติภพก็จะเกิดปฏิสนธวิิญญาณตามพลังอา นาจของ กรรมนั้น ๆ กระบวนการชีวิตเริ่มไปตามวงจรต่อไปอีกจนถึง ช่วงต่อไป
  • 34. ภวจักร หรือ ไตรวฏัฏ์ 1. กิเลส คือ ตัวสาเหตุผลักดันให้คิดปรุงแต่งการกระทา ต่าง ๆ 2. กรรม คือกระบวนการกระทา หรือปรุงแต่งชีวิตให้เป็นไปต่าง ๆ 3. วิบาก คือ สภาพที่เป็นผลแห่งการปรุงแต่งของกรรม และเป็นปัจจัย เสริมสร้างกิเลสต่อไปอีก