SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 79
ความหมายของการเรียนรู้
นักจิตวิทยาหลายท่านให้ความหมายของการเรียนรู้ไว้เช่น
 คิมเบิล (Kimble , 1964) ให้ความหมายของการเรียนรู้ไว้ว่า การเรียนรู้
เป็นการเปลี่ยนแปลงค่อนข้างถาวรในพฤติกรรม อันเป็นผลมาจากการฝึกที่
ได้รับการเสริมแรง
 ฮิลการ์ด และ เบาเวอร์ (Hilgard & Bower, 1981) ให้ความหมายของ
การเรียนรู้ไว้ว่า การเรียนรู้ เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม อัน
เป็นผลมาจากประสบการณ์และการฝึก ทั้งนี้ไม่รวมถึงการเปลี่ยนแปลง
ของพฤติกรรมที่เกิดจากการตอบสนองตามสัญชาตญาณ ฤทธิ์ของยา หรือ
สารเคมี หรือปฏิกิริยาสะท้อนตามธรรมชาติของมนุษย์
 ประดินันท์อุปรมัย [2] ให้ความหมายของการเรียนรู้ไว้ว่า การเรียนรู้
คือ การเปลี่ยนแปลงของบุคคลอันมีผลเนื่องมาจากการได้รับประสบการณ์
โดยการเปลี่ยนแปลงนั้นเป็นเหตุทาให้บุคคลเผชิญสถานการณ์เดิมแตกต่าง
ไปจากเดิม ประสบการณ์ที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมหมายถึง
ทั้งประสบการณ์ทางตรงและประสบการณ์ทางอ้อม
 มัณฑรา ธรรมบุศย์[3] ให้ความหมายของการเรียนรู้ไว้ว่า การ
เรียนรู้ (Learning) คือ กระบวนการที่ทาให้คนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ทา
ให้คนเรามีความรู้ ความเข้าใจ ในสาระต่างๆ มีทักษะและความสามารถ
มากขึ้น รวมทั้งมีความรู้สึก เจตคติ อันเป็นผลที่เกิดขึ้นจากกระบวนการ
เรียนรู้หรือการใช้วิธีการเรียนรู้
ความหมายของการเรียนรู้ (ต่อ)
จุดมุ่งหมายของการเรียนรู้
พฤติกรรมการเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายของนักการศึกษาซึ่งกาหนดโดย
บลูม และคณะ (Bloom and Others ) มุ่งพัฒนาผู้เรียนใน 3 ด้าน ดังนี้
1. ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) คือ ผลของการเรียนรู้ที่เป็น
ความสามารถทางสมอง ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท ความจา ความเข้าใจ การ
นาไปใช้การวิเคราะห์ การสังเคราะห์และประเมินผล
2. ด้านเจตพิสัย (Affective Domain ) คือ ผลของการเรียนรู้ที่
เปลี่ยนแปลงด้านความรู้สึก ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท ความรู้สึก ความสนใจ
ทัศนคติ การประเมินค่าและค่านิยม
3. ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) คือ ผลของการเรียนรู้ที่เป็น
ความสามารถด้านการปฏิบัติ ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท การเคลื่อนไหว การ
กระทา การปฏิบัติงาน การมีทักษะและความชานาญ
องค์ประกอบสาคัญของการเรียนรู้
ดอลลาร์ด และมิลเลอร์ (Dallard and Miller) เสนอว่าการเรียนรู้
มีองค์ประกอบสาคัญ 4 ประการ คือ
1. แรงขับ (Drive) เป็นความต้องการที่เกิดขึ้นภายในตัวบุคคล
เป็นความพร้อมที่จะเรียนรู้ของบุคคลทั้งสมอง ระบบประสาทสัมผัสและ
กล้ามเนื้อ แรงขับและความพร้อมเหล่านี้จะก่อให้เกิดปฏิกิริยา หรือ
พฤติกรรมที่จะชักนาไปสู่การเรียนรู้ต่อไป
2. สิ่งเร้า (Stimulus) เป็นสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในสถานการณ์
ต่างๆ ซึ่งเป็นตัวการที่ทาให้บุคคลมีปฏิกิริยา หรือพฤติกรรมตอบสนอง
ออกมา ในสภาพการเรียนการสอน สิ่งเร้าจะหมายถึงครู กิจกรรมการ
สอน และอุปกรณ์การสอนต่างๆ ที่ครูนามาใช้
3. การตอบสนอง (Response) เป็นปฏิกิริยา หรือพฤติกรรมต่างๆ ที่
แสดงออกมาเมื่อบุคคลได้รับการกระตุ้นจากสิ่งเร้า ทั้งส่วนที่สังเกตเห็นได้และ
ส่วนที่ไม่สามารถสังเกตเห็นได้เช่น การเคลื่อนไหว ท่าทาง คาพูด การคิด การ
รับรู้ ความสนใจ และความรู้สึก เป็นต้น
4. การเสริมแรง (Reinforcement) เป็นการให้สิ่งที่มีอิทธิพลต่อบุคคล
อันมีผลในการเพิ่มพลังให้เกิดการเชื่อมโยง ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง
เพิ่มขึ้น การเสริมแรงมีทั้งทางบวกและทางลบ ซึ่งมีผลต่อการเรียนรู้ของบุคคล
เป็นอันมาก
องค์ประกอบสาคัญของการเรียนรู้ (ต่อ)
กระบวนการการเรียนรู้
• การเกิดการเรียนรู้ของบุคคลจะมีกระบวนการของการเรียนรู้จากการไม่รู้
ไปสู่การเรียนรู้ 5 ขั้นตอน คือ
. ทฤษฎีการเรียนรู้ ( Learning theory )
นักจิตวิทยาได้พยายามทาการวิจัยเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทั้งสัตว์
และมนุษย์และได้ค้นพบหลักการที่ใช้ประยุกต์เพื่อการเรียนรู้ในโรงเรียน
ได้ทฤษฎีของการเรียนรู้มีหลายทฤษฎีแต่จะขอนามากล่าวเพียง 3 ทฤษฎี
คือ
1. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
2. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม
3. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้พฤติกรรมนิยม
• ความคิดพื้นฐานของทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม คือ
1. พฤติกรรมทุกอย่างเกิดขึ้นโดยการเรียนรู้และสามารถจะสังเกตได้
2. พฤติกรรมแต่ละชนิดเป็นผลรวมของการเรียนที่เป็นอิสระหลายอย่าง
3. แรงเสริม (Reinforcement) ช่วยทาให้พฤติกรรมเกิดขึ้นได้
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
(Behaviorism)
มาลิณี จุโฑประมา (2554: 69-80) ได้กล่าวถึงทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่ม
พฤติกรรมนิยมไว้ว่า กลุ่มทฤษฎีการเรียนรู้ที่ว่าด้วยเรื่องการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมภายนอกหรือกลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) มีดังนี้
1. ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์
(Thorndike’s Connectionism Theory)
2. ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของสกินเนอร์
(Skinner’s Operant Conditioning Theory)
3. ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของพาฟลอฟ
(Classical Conditioning)
ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์
(Thorndike’s Connectionism Theory)
ธอร์นไดค์(Edward L Thorndike) เป็นนักจิตวิทยาและนักการ
ศึกษาชาวอเมริกัน
ทฤษฎีของธอร์นไดค์ได้ชื่อว่า “ความสัมพันธ์เชื่อมโยง”
(connectionism) เขาเชื่อว่าการเรียนรู้เกิดขึ้นได้ต้องสร้างสิ่งเชื่อมโยงหรือ
พันธ์(Bond) ระหว่างสิ่งเร้า (S) กับการตอบสนอง(R)
การทดลองของธอร์นไดค์
ธอร์นไดค์ได้นาแมวไปขังไว้ในกรง
ที่สร้างขึ้น แล้วนาปลาไปวางล่อไว
นอกกรงให้ห่างพอประมาณ โดยให้
แมวไม่สามารถยื่นเท้าไปเขี่ยได้จาก
การสังเกต พบว่าแมวพยายามใช้
วิธีการต่าง ๆ เพื่อจะออกไปจากกรง
จนกระทั่งเท้าของมันไปเหยียบถูก
คานไม้โดยบังเอิญ ทาให้ประตูเปิด
ออก หลังจากนั้นแมวก็ใช้เวลาใน
การเปิดกรงได้เร็วขึ้น
กฎการเรียนรู้
1. กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness) การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ดี ถ้าผู้เรียนมี
ความพร้อมทั้งทางร่างกายและจิตใจ
กฎแห่งความพร้อม กฎข้อนี้มีใจความสรุปว่า
- เมื่อบุคคลพร้อมที่จะทาแล้วได้ทา เขาย่อมเกิดความพอใจ
- เมื่อบุคคลพร้อมที่จะทาแล้วไม่ได้ทา เขาย่อมเกิดความไม่พอใจ
- เมื่อบุคคลไม่พร้อมที่จะทาแต่เขาต้องทา เขาย่อมเกิดความไม่พอใจ
2. กฎแห่งการฝึกหัด (Law of Exercise) การฝึกหัดหรือกระทาบ่อย ๆด้วย
ความเข้าใจจะทาให้การเรียนรู้นั้นคงทนถาวร ถ้าไม่ได้กระทาซ้าบ่อย ๆ การ
เรียนรู้นั้นจะไม่คงทนถาวร และในที่สุดอาจลืมได้
กฎแห่งการฝึกหัด แบ่งเป็น 2 กฎย่อย คือ
- กฎแห่งการได้ใช้(Law of Use) มีใจความว่าพันธะหรือตัวเชื่อม
ระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนองจะเข้มแข็งขึ้นเมื่อได้ทาบ่อย ๆ
- กฎแห่งการไม่ได้ใช้(Law of Disuse) มีใจความว่าพันธะหรือ
ตัวเชื่อมระหว่างสิ่งเร้า และการตอบสนองจะอ่อนกาลังลง เมื่อไม่ได้กระทา
อย่างต่อเนื่องมีการขาดตอนหรือ ไม่ได้ทาบ่อย ๆ
กฎการเรียนรู้
3. กฎแห่งผลที่พึงพอใจ (Law of Effect) เมื่อบุคคลได้รับผลที่พึงพอใจ
ย่อมอยากจะเรียนรู้ต่อไป แต่ถ้าได้รับผลที่ไม่พึงพอใจ จะไม่อยากเรียนรู้
ดังนั้นการได้รับผลที่พึงพอใจ กฎข้อนี้นับว่าเป็นกฎที่สาคัญและได้รับความ
สนใจจาก ธอร์นไดด์ มากที่สุด กฎนี้มีใจความว่า พันธะหรือตัวเชื่อม
ระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนองจะเข้มแข็งหรืออ่อนกาลัง ย่อมขึ้นอยู่กับ
ผลต่อเนื่องหลังจากที่ได้ตอบสนองไปแล้วรางวัล จะมีผลให้พันธะสิ่งเร้า
และการตอบสนองเข้มแข็งขึ้น ส่วนการทาโทษนั้นจะไม่มีผลใด ๆ ต่อความ
เข้มแข็งหรือการอ่อนกาลังของพันธะระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง
กฎการเรียนรู้
การประยุกต์ใช้ในด้านการเรียนการสอน
• 1. การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ลองผิดลองถูกด้วยตนเองบาง จะเป็นการ
ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในการแก้ไขปัญหา โดยสามารถจดจาผลจาก
การเรียนรู้ได้ดี รวมทั้งเกิดความภาคภูมิใจในการทาสิ่งต่างๆ ด้วยตนเอง
• 2. การสารวจความพร้อมหรือการสร้างความพร้อมทางการเรียนให้แก่
ผู้เรียนเป็นสิ่งจาเป็นที่ต้องดาเนินการก่อนการเรียนเสมอ
• 3. หากต้องการให้ผู้เรียนเกิดทักษะในเรื่องใดแล้ว ต้องให้ผู้เรียนมีความรู้
และความเข้าใจในเรื่องนั้น ๆ อย่างถ่องแท้ และให้ผู้เรียนฝึกฝนอย่าง
ต่อเนื่องและสม่าเสมอ
• 4. เมื่อผู้เรียนเกิดการเรียนรู้แล้ว ควรให้ผู้เรียนฝึกนาการเรียนรู้นั้นไปใช้
• 5. การให้ผู้เรียนได้รับผลที่น่าพึงพอใจ จะช่วยให้การเรียนการสอน
ประสบความสาเร็จ
การประยุกต์ใช้ในด้านการเรียนการสอน
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของสกินเนอร์
(Skinner’s Operant Conditioning Theory)
สกินเนอร์ (Skinner) เป็นนักจิตวิทยาชาวอเมริกัน
ผู้คิดทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทา (Operant Conditioning theory)
เขามีความคิดว่าทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคนั้น จากัดอยู่กับพฤติกรรม
การเรียนรู้ที่เกิดขึ้นเป็นจานวนน้อยของมนุษย์พฤติกรรมส่วนใหญ่แล้วมนุษย์
จะเป็นผู้ลงมือปฏิบัติเอง ไม่ใช่เกิดจากการจับคู่ระหว่างสิ่งเร้าใหม่กับสิ่งเร้าเก่า
ตามการอธิบายของ Pavlov Skinnerได้อธิบายคาว่า" พฤติกรรม " ว่า
ประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ตัว คือ
สิ่งที่เกิดขึ้น > พฤติกรรม > ผลที่ได้รับ
การทดลองของสกินเนอร์
• การศึกษาในเรื่องนี้ Skinner ได้สร้าง
กล่องขึ้นมา มีชื่อเรียนกว่า Skinner
Box กล่องนี่เป็นกล่องสี่เหลี่ยมมีคาน
หรือลิ้นบังคับให้อาหารตกลงมาใน
จาน เหนือคานจะมีหลอดไฟติดอยู่เมื่อ
กดคานไฟจะสว่างและอาหารจะหล่น
ลงมา Skinner Box นานกไปใส่ไว้ใน
กล่อง และโดยบังเอิญนกเคลื่อนไหว
ไปถูกคานอาหารก็หล่นลงมา อาหารที่
นกได้นาไปสู่การกดคานซ้าและการกด
คานแล้วได้อาหาร
การเสริมแรง(Reinforcement )
การเสริมแรง(Reinforcement ) หมายถึงสิ่งเร้าใดที่ทาให้พฤติกรรมการ
เรียนรู้เกิดขึ้นแล้วมีแนวโน้มจะเกิดขึ้นอีก มีความคงทนถาวรในการทดลอง
Skinner ตัวเสริมแรง แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะคือ
• 1. ตัวเสริมแรงทางบวก (Positive Reinforcement) หมายถึงสิ่งเร้าใดเมื่อ
นามาใช้แล้วทาให้อัตราการตอบสนองมากขึ้น เช่น คาชมเชย รางวัล อาหาร
เป็นต้น
• 2. ตัวเสริมแรงทางลบ (Negasitive Reinforcement) หมายถึงสิ่งเร้าใดเมื่อนา
ออกใช้แล้ว ทาให้อัตราการตอบสนองมากขึ้น เช่น เสียงดัง คาตาหนิ อากาศ
ร้อน กลิ่นเหม็น เป็นตัวเสริมแรงทางลบ
• 1. ครูควรจะให้แรงเสริมในพฤติกรรมที่แสดงว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
แล้วโดยตอนแรกๆควรจะให้แรงเสริมทุกครั้งที่ผู้เรียนแสดงพฤติกรรมที่
พึงปรารถนา ต่อมาจึงค่อยใช้แรงเสริมเป็นครั้งคราวและจะต้องระวังมา
ให้แรงเสริมเมื่อผู้เรียนแสดงพฤติกรรมที่พึงประสงค์
• 2. การเพิ่มพฤติกรรมหรือคงพฤติกรรมเดิมที่เหมาะสมไว้ซึ่งจะมีเทคนิค
ในการใช้เพิ่มพฤติกรรมหลายอย่างคือ การเสริมแรงในทางบวก เพื่อให้
เกิดพฤติกรรมที่พึงพอใจ การทาสัญญาเงื่อนไข การเสริมแรงในทางลบ
เป็นต้น
การประยุกต์ใช้ในด้านการเรียนการสอน
• 3. การปลูกฝังพฤติกรรมบางอย่างโดยใช้วิธีที่เรียกว่า การดัดหรือการตบแต่ง
พฤติกรรม (Behavior Shaping) ซึ่งเป็นการใช้วิธีให้แรงเสริมกับพฤติกรรมที่
ผู้เรียนทาได้ใกล้เคียงกับเป้าหมายที่กาหนดไว้ตามลาดับขั้นจนสามารถ
แสดงออกได้เป็นนิสัย เช่น การกระทาให้เด็กที่ไม่กล้าพูดไม่กล้าแสดง
ออกเป็นเด็กที่กล้าขึ้นมาได้ก็โดยการชมเชย และให้กาลังใจเมื่อเขากล้าพูด
และกล้าแสดงออก ฯลฯ
• 4. บทเรียนสาเร็จรูปหรือบทเรียนแบบโปรแกรม (Program Learning) จาก
หลักการให้แรงเสริมของสกินเนอร์ที่ว่า เมื่อผู้เรียนทาถูกจะได้รางวัลทันที มี
ผลให้เกิดบทเรียนสาเร็จรูปหรือบทเรียนแบบโปรแกรมและเครื่องช่วยสอน
(Teaching Machine) ขึ้น ซึ่งเน้นให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเองโดยมีคาตอบที่
ถูกต้องไว้ให้
การประยุกต์ใช้ในด้านการเรียนการสอน
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของพาฟลอฟ
(Classical Conditioning)
พาฟลอฟ (Pavlov) นักสรีรวิทยาชาวรัสเซีย
หลักการเรียนรู้ทฤษฎีของพาฟลอฟเชื่อว่าสิ่งเร้า (Stimulus) ที่เป็นกลางเกิดขึ้น
พร้อมๆกับสิ่งเร้าที่ทาให้เกิดกริยาสะท้อนอย่างหนึ่งหลายๆครั้ง สิ่งเร้าที่เป็น
กลางจะทาให้เกิดกริยาสะท้อนอย่างนั้นด้วย การเรียนรู้ของสิ่งมีชีวิตเกิดจาก
การวางเงื่อนไข (Conditioning) กล่าวคือ การตอบสนองหรือการเรียนรู้ที่
เกิดขึ้นต่อสิ่งเร้านั้นๆต้องมีเงื่อนไขหรือมีการสร้างสถานการณ์ให้เกิดขึ้นที่เป็น
ผลของการเรียนรู้ (กมลรัตน์ หล้าสุวงษ์. 2550)
การทดลองของพาฟรอฟ
การทดลองโดยสั่นกระดิ่งก่อนที่จะเอาอาหาร (ผงเนื้อ) ให้แก่สุนัข เวลา
ระหว่างการสั่นกระดิ่งและการให้ผงเนื้อแก่สุนัขต้องเป็นเวลาที่กระชั้นชิดมาก
ประมาณ .25 ถึง .50 วินาทีทาซ้าควบคู่กันหลายครั้ง และในที่สุดหยุดให้อาหาร
เพียงแต่สั่นกระดิ่งก็ปรากฏว่าสุนัขก็ยังคงมีน้าลายไหลได้โดยที่ข้างแก้มของสุนัข
ติดเครื่องมือวัดระดับการไหลของน้าลายไว้
ทฤษฎีการเรียนรู้
1. พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย์เกิดจากการวางเงื่อนไขที่
ตอบ สนองต่อความต้องการทางธรรมชาติ
2. พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย์สามารถเกิดขึ้นได้จากสิ่งเร้า
ที่เชื่อมโยงกับสิ่งเร้าตามธรรมชาติ
3. พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย์ที่เกิดจากสิ่งเร้า
4. พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย์สิ่งเร้าที่เชื่อมโยงกับสิ่งเร้า
ตามธรรมชาติ
5. มนุษย์มีแนวโน้มที่จะจาแนกลักษณะของสิ่งเร้าให้แตกต่างกัน
และเลือกตอบสนองได้ถูกต้อง
กฎแห่งการเรียนรู้
• 1. กฎแห่งการลดภาวะ (Law of extinction) คือ ความเข้มข้นของการ
ตอบสนอง จะลดน้อยลงเรื่อย ๆ ถ้าอินทรีย์ได้รับสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข
เพียงอย่างเดียว หรือความ มีสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขกับสิ่ง
เร้าที่ไม่วางเงื่อนไขห่างออกไปมากขึ้น
• 2. กฎแห่งการฟื้นคืนสภาพ (Law of spontaneous recovery) คือ การ
ตอบสนองที่เกิดจากการวางเงื่อนไขที่ลดลงเพราะได้รับแต่สิ่งเร้าที่วาง
เงื่อนไขเพียงอย่างเดียว จะกลับปรากฏขึ้นอีกและเพิ่มมากขึ้น ๆ ถ้า
อินทรีย์มีการเรียนรู้อย่างแท้จริง โดยไม่ต้องมีสิ่งเร้าที่ไม่วางเงื่อนไขมา
เข้าคู่ช่วย
• 3. กฎแห่งสรุปกฎเกณฑ์โดยทั่วไป (Law of generalization) คือ ถ้าอินทรีย์
มีการเรียนรู้ โดยการแสดงอาการตอบสนองจากการวางเงื่อนไขต่อสิ่งเร้าที่
วางเงื่อนไขหนึ่งแล้ว ถ้ามีสิ่งเร้าอื่นที่มีคุณสมบัติคล้ายคลึงกับสิ่งเร้าที่วาง
เงื่อนไขเดิม อินทรีย์จะตอบสนองเหมือนกับสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขนั้น
• 4. กฎแห่งความแตกต่าง (Law of discrimination) คือ ถ้าอินทรีย์มีการ
เรียนรู้ โดยการตอบสนองจากการวางเงื่อนไขต่อสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขแล้ว
ถ้าสิ่งเร้าอื่นที่มีคุณสมบัติแตกต่างจากสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขเดิม อินทรีย์จะ
ตอบสนองแตกต่างไปจาก สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข
กฎแห่งการเรียนรู้
1.ในแง่ของความแตกต่างระหว่างบุคคล ความแตกต่างทางด้าน
อารมณ์มีแบบแผน การตอบสนองได้ไม่เท่ากัน จาเป็นต้องคานึงถึงสภาพ
ทางอารมณ์ผู้เรียนว่าเหมาะสมที่จะสอนเนื้อหาอะไร
2.การวางเงื่อนไข เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับพฤติกรรมทางด้านอารมณ์
ด้วย โดยปกติผู้สอนสามารถทาให้ผู้เรียนรู้สึกชอบหรือไม่ชอบเนื้อหาที่
เรียนหรือสิ่งแวดล้อมในการเรียน
3.การลบพฤติกรรมที่วางเงื่อนไข ผู้เรียนที่ถูกวางเงื่อนไขให้กลัว
ผู้สอน เราอาจช่วยได้โดยป้องกันไม่ให้ผู้สอนทาโทษเขา
การประยุกต์ใช้ในด้านการเรียนการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ในกลุ่มพุทธิปัญญานิยมนี้ให้ความสาคัญกับ
ความสามารถในการตั้งวัตถุประสงค์ การวางแผน ความตั้งใจ ความคิด ความจา
การคัดเลือก การให้ความหมายกับสิ่งเร้าต่าง ๆ ที่ได้จากประสบการณ์
• ความคิดพื้นฐานของทฤษฎีการเรียนรู้ปัญญานิยม
1. ผู้เรียนสร้างความเข้าใจในสิ่งที่เรียนรู้ด้วยตนเอง
2. การเรียนรู้สิ่งใหม่ขึ้นกับความรู้เดิมและความเข้าใจที่มีอยู่ในปัจจุบัน
3. การมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมมีความสาคัญต่อการเรียนรู้
4. การจัดสิ่งแวดล้อม กิจกรรมที่คล้ายคลึงกับชีวิตจริง ทาให้ผู้เรียนเกิด
การเรียนรู้อย่างมีความหมาย
ทฤษฎีการเรียนรู้ในกลุ่มพุทธิปัญญานิยมนี้ให้ความสาคัญกับ
ความสามารถในการตั้งวัตถุประสงค์ การวางแผน ความตั้งใจ ความคิด ความจา
การคัดเลือก การให้ความหมายกับสิ่งเร้าต่าง ๆ ที่ได้จากประสบการณ์
นักจิตวิทยาที่อยู่ในกลุ่มนี้ เช่น
1. เพียเจท์ (Jean Piaget) ทฤษฎีพัฒนาการเชาว์ปัญญา
2.ไวก็อทสกี้ (Vygotsky) ทฤษฏีการเรียนรู้ในพื้นที่รอยต่อพัฒนาการ
3. บรุนเนอร์ (Bruner) ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบ
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม
ความคิดพื้นฐานของทฤษฎีการเรียนรู้ปัญญานิยม
• 1. ผู้เรียนสร้างความเข้าใจในสิ่งที่เรียนรู้ด้วยตนเอง
• 2. การเรียนรู้สิ่งใหม่ขึ้นกับความรู้เดิมและความเข้าใจที่มีอยู่ในปัจจุบัน
• 3. การมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมมีความสาคัญต่อการเรียนรู้
• 4. การจัดสิ่งแวดล้อม กิจกรรมที่คล้ายคลึงกับชีวิตจริง ทาให้ผู้เรียนเกิด
การเรียนรู้อย่างมีความหมาย
ทฤษฎีพัฒนาการเชาว์ปัญญาของเพียเจท์
Piaget’s Theory
เพียเจท์(Jean Piaget) เจ้าของกิจการงานเกษตรกรรมแถบ
เทือกเขาแอลฟ์ (Alps) สวิสเซอร์แลนด์
เชื่อว่าคนเราทุกคนตั้งแต่เกิดมาพร้อมที่จะมีปฏิสัมพันธ์กับ
สิ่งแวดล้อมและโดยธรรมชาติของมนุษย์เป็นผู้พร้อมที่ จะมีกริยากรรมหรือ
เริ่มกระทาก่อน (Active) นอกจากนี้ เพียเจท์ถือว่ามนุษย์เรามีแนวโน้มพื้นฐาน
ที่ติดตัวมาตั้งแต่กาเนิด 2 ชนิด คือ การจัดและรวบรวม(Organization) และ
การปรับตัว(Adaptation)
• การจัดและรวบรวม (Oganization) หมายถึง การจัดและรวบรวม
กระบวนการต่างๆภายใน เข้าเป็นระบบอย่างต่อเนื่อง เป็นระเบียบและมี
การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาตราบที่ ยังมีปฏิสัมพันธ์กับ
สิ่งแวดล้อม
• การปรับตัว (Adaptation) หมายถึง การปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมเพื่อ
อยู่ในสภาพสมดุล การปรับตัวประกอบด้วยกระบวนการ2 อย่าง คือ
1. การซึมซาบ หรือดูดซึม
2. การปรับโครงสร้างทางปัญญา
ทฤษฎีพัฒนาการเชาว์ปัญญาของเพียเจท์
Piaget’s Theory
• เพียเจท์แบ่งขั้นตอนพัฒนาชีวิตเป็น 4 ขั้นดังนี้
ขั้นที่ 1 Sensorimotor period (แรกเกิด - 2 ขวบ)
ขั้นที่ 2 Preoperational period (อายุ 2- 7 ปี)
ขั้นที่ 3 Concrete period (อายุ 7 - 11 ปี)
ขั้นที่ 4 Formal Operations period (อายุ 12 ปีขึ้นไป)
ทฤษฎีพัฒนาการเชาว์ปัญญาของเพียเจท์
Piaget’s Theory
• ช่วงอายุตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุ 2 ขวบ โดยประมาณ
• คาว่า Sensory หมายถึง การสัมผัสต่างๆ เช่นการเห็น การได้ยิน การรู้รส
และการรู้สึกที่ผิวหนัง
• คาว่า Motor เป็นกิริยาอาการเคลื่อนไหวต่างๆ เช่น การลูบคลา การคืบ
คลาน การเอื้อมหยิบฉวยตลอดจนการเสาะแสวงหาทั้งหลาย
• รวมความหมายว่าวัย Sensory-motor นี้เป็นระยะที่เด็กมีการซุกซน
เคลื่อนไหวอยู่ไม่สุข ซึ่งเพียเจท์อธิบายว่าเป็นความพยายามเข้าใจ
สิ่งแวดล้อมของเด็ก โดยอาศัยประสาทสัมผัสและอวัยวะมอเตอร์ ทั้งนี้
เป็นการเรียนรู้พื้นฐานในการสร้างสติปัญญาของเด็กและเป็นการเรียนรู้
ความแตกต่างระหว่างตนเองกับสิ่งแวดล้อม
ขั้นที่ 1 Sensorimotor period
• อายุในช่วง 2-7 ขวบ
• เด็กก่อนเข้าโรงเรียนและวัยอนุบาล มีระดับเชาวน์ปัญญาอยู่ในขั้นนี้ เด็ก
วัยนี้มีโครงสร้างของสติปัญญา(Structure) ที่จะใช้สัญลักษณ์แทนวัตถุ
สิ่งของที่อยู่รอบๆตัว ได้หรือ มีพัฒนาการทางด้านภาษา เด็กวัยนี้จะเริ่ม
ด้วยการพูดเป็นประโยคและเรียนรู้คาต่างๆเพิ่มขึ้น เด็กจะได้รู้จักคิด
• ความคิดของของเด็กวัยนี้ยังมีข้อจากัดหลายอย่างเด็กก่อนเข้าโรงเรียน
และวัยอนุบาล มีระดับเชาวน์ปัญญาอยู่ในขั้นนี้ เด็กวัยนี้มีโครงสร้างของ
สติปัญญา (Structure) ที่จะใช้สัญลักษณ์แทนวัตถุสิ่งของที่อยู่รอบๆตัว
ได้หรือมีพัฒนาการทางด้านภาษา เด็กวัยนี้จะเริ่มด้วยการ พูดเป็น
ประโยคและเรียนรู้คาต่างๆเพิ่มขึ้น เด็กจะได้รู้จักคิด
ขั้นที่ 2 Preoperational period
• ช่วงอายุประมาณ 7-11 ขวบ
• การเรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องคิดคานวณตัวเลขจะเริ่มจากการบวกลบจานวน
ต่างๆ เด็กมีความคิดเข้าใจสิ่งแวดล้อมที่เป็นรูปธรรมได้ โดยสามารถ
สร้างความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งหรือเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกันเช่น
ความเย็น-น้า-เปียกเป็นต้น
ขั้นที่ 3 Concrete period
• อยู่ในช่วงอายุ11-15 ปี
• ซึ่งเป็นวัยที่เด็กใช้เหตุผลเชิงตรรกและคิดทบทวนไปมาได้อย่างว่องไว
เด็กจะมีความคิดสร้างสรรค์ โดยเริ่มตั้งแต่นาข้อมูลมาสร้างสมมติฐาน
และสร้างข้อสรุปกฎเกณฑ์ต่างๆ จากการทดสอบข้อสันนิษฐานของตน
กระบวนการคิดที่แตกฉานและการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมที่เป็นนามธรรมจะ
ปรากฏเด่นชัดขึ้น ในวัยนี้จะมีการคาดคะเนปรากฏการณ์หรือเหตุการณ์
ต่างๆ อยู่เสมอ ทั้งนี้เป็นพื้นฐานการคิดหาคาตอบเมื่อเกิดปัญหาขึ้นใน
ชีวิตของมนุษย์
ขั้นที่ 4 Formal Operations period
การประยุกต์ใช้ในด้านการเรียนการสอน
1. นักเรียนที่มีอายุเท่ากันอาจมีขั้นพัฒนาการทางสติปัญญาที่
แตกต่างกัน
2. ประสบการณ์ทางกายภาพ
3. หลักสูตรที่สร้างขึ้นบนพื้นฐานทฤษฎีของพัฒนาการทาง
สติปัญญา
4. การสอนที่ส่งเสริมพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียน
5. ในขั้นประเมินผล ควรดาเนินการสอนโดยมีการทดสอบแบบ
การให้เหตุผล
ทฤษฎีการเรียนรู้ของไวก็อตสกี้
ไวก็อตสกี้(Vygotsky)เป็นนักจิตวิทยาชาวรัสเซีย เชื้อสายยิว
แนวคิดของไวก็อตสกี้เรื่องพื้นที่รอยต่อพัฒนาการ และการเสริมต่อ
การเรียนรู้ พื้นที่รอยต่อพัฒนาการเป็นระยะห่างระหว่างระดับพัฒนาการที่เป็น
จริงกับระดับพัฒนาการที่สามารถเป็นไปได้เด็กสามารถแก้ปัญหาที่ยากเกินกว่า
ระดับพัฒนาการที่แท้จริงของเขาได้หากได้รับการแนะนาช่วยเหลือหรือได้รับ
ความร่วมมือจากผู้ที่เชี่ยวชาญที่มีความสามารถมากกว่า
• ไวก็อตสกี้ อธิบายว่า การจัดการเรียนรู้จะต้องคานึงถึงระดับ
พัฒนาการ 2 ระดับ คือ ระดับพัฒนาการที่เป็นจริง (Actual Development
Level) และระดับพัฒนาการที่สามารถจะเป็นไปได้ (Potential
Development Level) ระยะห่างระหว่างระดับพัฒนาการที่เป็นจริงและ
ระดับพัฒนาการที่สามารถจะเป็นไปได้ เรียกว่า พื้นที่รอยต่อพัฒนาการ
(Zone of Proximal Development) ซึ่งไวก็อตสกี้เปรียบเทียบการเรียนรู้
กับพัฒนาการไว้ดังนี้
»Past Learning : Actual Development Level
»Present Learning: Zone of Proximal Development
»Future Learning: Potential Development Level
(Wing & Putney. 2002:95)
ทฤษฎีการเรียนรู้ของไวก็อตสกี้
• ไวก๊อตสกี ได้กล่าวว่า มนุษย์ได้รับอิทธิพลจากสิ่งแวดล้อมตั้งแต่แรกเกิด
ซึ่งนอกจากสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติแล้ว ยังมีสิ่งแวดล้อมทางสังคม คือ
วัฒนธรรมที่สังคมสร้างขึ้น
• ดังนั้น สถาบันสังคมต่างๆ เริ่มตั้งแต่สถาบันครอบครัวจะมีอิทธิพลต่อ
พัฒนาการทางเชาว์ปัญญาของแต่ละบุคคลเด็กเรียนรู้สัญลักษณ์ต่าง ๆ
และคาพูดเป็นครั้งแรกจากสังคม ซึ่งความฉลาดความสามารถ ในการ
สื่อสารด้านภาษานี่เองเป็นพื้นฐานที่ทาให้เด็กแตกต่างจากสัตว์
นอกจากนั้นภาษายังเป็นเครื่องมือสาคัญของการคิดและพัฒนาเชาว์
ปัญญาขั้นสูง พัฒนาการทางภาษาและทางความคิดของเด็กเริ่มด้วยการ
พัฒนาที่แยกจากกัน แต่เมื่ออายุมากขึ้นพัฒนาการทั้งสองด้านจะเป็นไป
ร่วมกัน
1. ผู้สอนจะต้องเน้นตัวอย่างและฝึกฝนกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเห็น
2. การเรียนรู้ทักษะต่างๆ จะต้องมีประสิทธิภาพถึงขั้นทาได้และแก้ปัญหา
ได้จริง
3. ในการเรียนการสอนผู้เรียนจะเป็นผู้มีบทบาทในการเรียนรู้อย่างตื่นตัว
4. ในการจัดการเรียนรู้ผู้สอนจะต้องพยายามสร้างบรรยากาศทางสังคม
จริยธรรมให้เกิดขึ้น
5. ผู้เรียนควรมีบทบาทในการเรียนรู้อย่างเต็มที่
6. ในการเรียนการสอนแบบสร้างความรู้ ผู้สอนจะมีบทบาทเป็นผู้ให้ความ
ร่วมมืออานวยความสะดวก
7. การประเมิน ควรมีลักษณะที่ยืดหยุ่นในแต่ละบุคคล
การประยุกต์ใช้ในด้านการเรียนการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของบรูนเนอร์ (Bruner)
บรูนเนอร์เป็นนักจิตวิทยาชาวอเมริกัน
บรูนเนอร์ เชื่อว่าการเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้เมื่อผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับ
สิ่งแวดล้อมซึ่งนาไปสู่การค้นพบการแก้ปัญหา โดยครูเป็นผู้จัดสิ่งแวดล้อม
ด้านข้อมูล วัตถุประสงค์คาถามและตั้งความมุ่งหวังว่าผู้เรียนจะค้นพบ
คาตอบด้วยตนเอง
ขั้นพัฒนาการของบรูนเนอร์
วิธีการที่ผู้เรียนใช้เป็นเครื่องมือในการค้นพบความรู้จึงแบ่งเป็น 3 วิธี
1) เอ็นแอคทีป (Enactive Mode) เป็นวิธีที่ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับ
สิ่งแวดล้อมโดยการสัมผัสจับต้องด้วยมือหรืออวัยวะของร่างกาย
2) ไอคอนนิค (Iconic Mode) เป็นวิธีที่ผู้เรียนสร้างจินตนาการ
หรือสร้างมโนภาพ(Imagery) ขึ้นในใจได้โดยใช้รูปภาพแทนของจริงโดย
ไม่จาเป็นต้องสัมผัสของจริง
3) ซิมโบลิค (Symbolic Mode) เป็นวิธีที่ผู้เรียนใช้สัญลักษณ์เพื่อให้
เกิดการเรียนรู้ สามารถเข้าใจสิ่งที่เป็นนามธรรม หรือความคิดรวบยอดที่
ซับซ้อน จึงสามารถที่จะสร้างสมมติฐาน และพิสูจน์สมมติฐานได้
1) กระบวนการความคิดของเด็กแตกต่างจากผู้ใหญ่ ผู้สอนควรมี
ความเข้าใจกระบวนการคิดของผู้เรียนแต่ละวัย
2) เน้นความสาคัญของผู้เรียน ถือว่าผู้เรียนจะสามารถควบคุม
กิจกรรมการเรียนรู้ของตนเองได้(SelfRegulation) และเป็นผู้ที่จะริเริ่มลง
มือกระทา ผู้สอนมีหน้าที่จัดสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้โดยการค้นพบ
ให้ผู้เรียนได้มีโอกาสมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
3) ในการสอนควรเริ่มจากประสบการณ์ที่ผู้เรียนคุ้นเคย หรือ
ประสบการณ์ใกล้ตัว ไปหาประสบการณ์ไกลตัว
การประยุกต์ใช้ในด้านการเรียนการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม
นักคิดกลุ่มมนุษยนิยมให้ความสาคัญของความเป็นมนุษย์และมอง
มนุษย์ว่ามีคุณค่า มีความดีงาม มีความสามารถ มีความต้องการ และมี
แรงจูงใจภายในที่จะพัฒนาศักยภาพของตน หากบุคคลมีอิสรภาพและ
เสรีภาพ มนุษย์จะพยายามพัฒนาตนเองไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
ทฤษฏีและแนวคิดที่สาคัญๆ ในกลุ่มนี้มี 2 ทฤษฏี คือ
1. ทฤษฎีการเรียนรู้ของมาสโลว์
2. ทฤษฎีการเรียนรู้ของคาร์ล โรเจอร์ส
แนวความคิดของมาสโลว์ มนุษย์แต่ละคนทีศักยภาพพอสาหรับที่
จะชี้นาตัวเอง มนุษย์ไม่อยู่นิ่งแต่จะเปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณ์ต่างๆ
ที่แวดล้อมและแสวงหาความต้องการที่จะเข้าใจตนเอง ยอมรับตนเองทั้งใน
ส่วนดีส่วนบกพร่อง รู้จักจุดอ่อน และความสามารถของตนเอง เขาได้
อธิบายว่า มนุษย์ทุกคนมีความต้องการที่จะสนองความต้องการให้กับ
ตนเองทั้งสิ้น และความต้องการของมนุษย์มีมากมายหลายอย่างด้วยกัน ซึ่ง
ต้องได้รับความพึงพอใจจากความต้องการพื้นฐานหรือต่าสุดเสียก่อนจึงจะ
ผ่านขึ้นไปยังความต้องการขั้นสูงตามลาดับ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของมาสโลว์ (Maslow)
ทฤษฎีการเรียนรู้ของมาสโลว์ (Maslow)
ทฤษฎีการเรียนรู้ของคาร์ล โรเจอร์ส
(Carl Rogers)
คาร์ล โรเจอร์ส (Carl Rogers) มีความเห็นว่า ธรรมชาติของมนุษย์
เป็นสิ่งที่ดีและมีความสาคัญมาก โดยมีความพยายามที่จะพัฒนาร่างกายให้มี
ความเจริญเติบโตอย่างมีศักยภาพ
ทฤษฏีของโรเจอร์ เน้นถึงเกียรติของบุคคล ซึ่งบุคคลมี
ความสามารถที่จะทาการปรับปรุงชีวิตของตนเองเมื่อมีโอกาสเข้ามิใช่จะ
เป็นเพียงแต่เหยื่อในขณะที่มีประสบการณ์ในสมัยที่เป็นเด็ก หรือจากแรงขับ
ของจิตใต้สานึก แต่ละบุคคลจะรู้จักการสังเกตสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัวเรา
โดยมีแนวทางเฉพาะของบุคคล กล่าวได้ว่า เป็นการับรู้สภาพสิ่งแวดล้อมซึ่ง
มีความสาคัญมาก
โรเจอร์ส เชื่อว่า มนุษย์ทุกคนมีตัวตน 3 แบบ
• ตนที่ตนมองเห็น (Self Concept) ภาพที่ตนเห็นเองว่าตนเป็นอย่างไร มี
ความรู้ความสามารถ ลักษณะเพราะตนอย่างไร เช่น สวย รวย เก่ง ต่าต้อย
ขี้อายฯลฯ การมองเห็นอาจจะไม่ตรงกับข้อเท็จจริงหรือภาพที่คนอื่นเห็น
• ตนตามที่เป็นจริง (Real Self) ตัวตนตามข้อเท็จจริง แต่บ่อยครั้งที่ตนมอง
ไม่เห็นข้อเท็จจริง เพราะอาจเป็นสิ่งที่ทา ให้รู้สึกเสียใจ ไม่เท่าเทียมกับ
บุคคลอื่น เป็นต้น
• ตนตามอุดมคติ (Ideal Self) ตัวตนที่อยากมีอยากเป็น แต่ยังไม่มีไม่เป็นใน
สภาวะปัจจุบัน เช่น ชอบเก็บตัว แต่อยากเก่งเข้าสังคม เป็นต้น
ทฤษฎีการเรียนรู้ของคาร์ล โรเจอร์ส(Carl Rogers)
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้
• ปัจจัยทีมีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ ประกอบด้วย
1. เชาวน์ปัญญา
2. การรับรู้
3. ความถนัด และรูปแบบการเรียนรู้
4. ความสนใจ และเจตคติ
5. การจา การลืม
6. การถ่ายโยงการเรียนรู้
เชาวน์ปัญญา
เชาวน์ปัญญา หมายถึง ความสามารถของบุคคลในการเรียนรู้ การ
ปรับตัวต่อปัญหาอย่างเหมาะสมและความสามารถในอันที่จะทากิจกรรม
ต่างๆได้อย่างมีจุดมุ่งหมายและมีคุณค่าทางสังคม สามารถคิดอย่างมีเหตุผล
สามารถปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมและสังคมอย่างมีประสิทธิภาพ
• 1. พันธุ์กรรม พันธุ์กรรมที่ได้รับการถ่ายทอดสืบต่อมาจากพ่อแม่ คนเรา
จะมีเชาวน์ปัญญาดีหรือไม่ดีขึ้นอยู่กับพันธุ์กรรม80% สิ่งแวดล้อม 20%
• 2. ความสมบูรณ์ของสมองและระบบประสาท
• 3. สิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมที่ช่วยกระตุ้น และส่งเสริมให้บุคคลได้มี
โอกาสเรียนรู้
• 4. อายุ ระดับอายุที่พัฒนาการของเชาวน์ปัญญาถึงขั้นสูงสุดคือระหว่าง
อายุ 15-25 ปี
องค์ประกอบของเชาวน์ปัญญา
• 5. เพศ เพศชายมักมีความสามารถทางด้านการคานวณ ถนัดทางกลไก
การกระทาที่ใช้ไหวพริบ และความรวดเร็วดีกว่าหญิง ส่วนเพศหญิงมักมี
ความคล่องแคล่วในการใช้มือ งานที่ต้องใช้ฝีมือ ลายละเอียด การใช้
ภาษาความสามารถทางภาษา ความจา
• 6. เชื้อชาติ เด็กลูกผสมมักจะมีเชาวน์ปัญญาสูงกว่าเด็กที่ไม่ใช่ลูกผสม
• 7. ความผิดปกติทางสมอง ความผิดปกติทางสมองอาจมีผลต่อการเสื่อม
ลงของเชาวน์ปัญญา ก่อนเวลาอันสมควร เช่นเนื้องอกในสมอง ลมชัก
สมองได้รับการกระทบกระเทือนอย่างรุนแรง
องค์ประกอบของเชาวน์ปัญญา
การรับรู้ (Perception)
• การรับรู้ หมายถึง การแปลความหมายจากการสัมผัส โดยเริ่มตั้งแต่ การ
มีสิ่งเร้ามา กระทบกับอวัยวะรับสัมผัสทั้งห้า และส่งกระแสประสาท ไป
ยังสมอง เพื่อการแปลความ
กระบวนการรับรู้
กระบวนการรับรู้ จะเกิดได้จะต้องมีองค์ประกอบดังต่อไปนี้
• 1. สิ่งเร้า ( Stimulus ) ที่จะทาให้เกิด การรับรู้ เช่น สถานการณ์ เหตุการณ์
สิ่งแวดล้อมรอบกาย ที่เป็น คน สัตว์และ สิ่งของ
• 2. ประสาทสัมผัส ( Sense Organs ) ที่ทาให้เกิดความรู้สึก สัมผัส เช่น ตา
ดู หูฟัง จมูกได้กลิ่น ลิ้นรู้รส และผิวหนังรู้ร้อนหนาว
• 3. ประสบการณ์ หรือความรู้เดิมที่เกี่ยวข้องกับสิ่งเร้าที่เรา สัมผัส
• 4. การแปลความหมายของสิ่งที่เราสัมผัส สิ่งที่เคยพบเห็น มาแล้วย่อมจะ
อยู่ในความทรงจาของสมอง เมื่อบุคคลได้รับสิ่งเร้า สมองก็จะทาหน้าที่
ทบทวนกับความรู้ที่มีอยู่เดิมว่า สิ่งเร้านั้นคืออะไร
ความถนัด และ รูปแบบการเรียนรู้
ความถนัด หมายถึง สมรรถภาพ หรือความสามารถที่มีอยู่ในตัว
บุคคล อันเป็นผลมาจากการฝึกฝน และได้รับความรู้จากประสบการณ์ เป็น
สมรรถภาพที่ทาให้บุคคลมีแนวโน้มอันเหมาะแก่การทางานชนิดหนึ่งๆ ได้
เป็นอย่างดีมีประสิทธิภาพ ความถนัดจึงเปรียบเสมือนเครื่องพยากรณ์
ความสาเร็จในการกระทาสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
ความถนัดแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ (Quinn. 1984 : 111)
• 1. ความถนัดทางการเรียน (Scholastic Aptitude) เป็นความสามารถของ
บุคคลในการเรียนรู้สิ่งหนึ่งสิ่งใดได้สาเร็จ
• 2. ความถนัดจาเพาะ (Specific Aptitude) เป็นความสามารถเฉพาะด้าน
ของบุคคลซึ่งจะทาให้แต่ละบุคคลมีความถนัดที่จะทางานด้านหนึ่งๆ ได้
ดีกว่าบุคคลอื่น บุคคลที่มีความถนัดเฉพาะด้านนี้ หากได้รับการฝึกฝน
อบรมก็ย่อมประสบความสาเร็จในกิจการด้านนั้นๆ ได้
ประเภทของความถนัด
รูปแบบการเรียนรู้ (Learning style) หมายถึง ลักษณะทางกายภาพ
ความคิด และความรู้สึก ที่บุคคลใช้ในการรับรู้ ตอบสนอง และมีปฎิสัมพันธ์
กับสภาพแวดล้อมทางการเรียนอย่างค่อนข้างคงที่ (Keefe, 1979 อ้างใน Hong
& Suh, 1995)
รูปแบการเรียนรู้
กราชา และริเอชแมนน์ (Grasha & Riechmann, 1974) ได้เสนอรูปแบบของ
การเรียนรู้ในลักษณะของความชอบ และทัศนคติของบุคคล ในการมี
ปฏิสัมพันธ์กับผู้สอน และเพื่อนในการเรียนทางวิชาการ เป็น 6 แบบ ดังนี้
1. แบบมีส่วนร่วม (participant)
2. แบบหลีกหนี (Avoidant)
3. แบบร่วมมือ (Collaborative)
4. แบบแข่งขัน (Competitive)
5. แบบอิสระ(Independent)
6. แบบพึ่งพา (Dependent)
รูปแบบการเรียนรู้ตามแนวคิดของ กราชา และริเอชแมนน์
ความสนใจ และ เจตคติ
• ความสนใจ หมายถึง ความรู้สึกอยากรู้อยากเห็นต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งทั้งที่
เป็นบุคคล สิ่งของ กิจกรรม ซึ่งแสดงออกโดยการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
การติดตามความเปลี่ยนแปลงของสิ่งที่สนใจนั้น
• เจตคติ คือ สภาพความรู้สึกทางด้านจิตใจที่เกิดจากประสบการณ์และการ
เรียนรู้ของบุคคลอันเป็นผลทาให้เกิดมีท่าทีหรือมีความคิด เห็นรู้สึกต่อ
สิ่งใดสิ่งหนึ่งในลักษณะที่ชอบหรือไม่ชอบ เห็นหรือไม่เห็นด้วย เจตคติ
มี 2 ประเภทคือ เจตคติทั่วไป เจตคติเฉพาะอย่าง
สุโท เจริญสุข ( 2522 : 72 ) ให้แนวการจัดการเรียนตามความสนใจของ
ผู้เรียนไว้ดังนี้
• 1. คานึงถึงสัญชาติญาณความอยากรู้อยากเห็นของผู้เรียนโดยนาเอาเรื่องราวหรือสิ่ง
แปลกใหม่มาเล่าหรือแสดงให้นักเรียนดู
• 2. ทาบทเรียนให้สนุกโดยใช้อุปกรณ์การสอนหรือเทคนิควิธีการสอนหลาย ๆ รูปแบบ
• 3. ทาให้บทเรียนกระจ่าง โดยใช้ถ้อยคาที่ง่าย ๆ หรือ เน้นรูปธรรมมากกว่านามธรรม
• 4. ให้นักเรียนมีโอกาสแสดงความคิดเห็น หรือกระตุ้นให้ผู้เรียนร่วมกิจกรรมการเรียน
อยู่เสมอ ด้วยการใช้คาถาม ใช้กิจกรรม หรืออุปกรณ์ต่าง ๆ เข้ามาช่วยสอน
• 5. จัดสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัวให้ผู้เรียนน่าสนใจ เช่น จัดนิทรรศการ การอภิปรายจัด
ชุมนุม จัดการแสดงหนังสือ ฯลฯ
การจัดการเรียนตามความสนใจของผู้เรียน
องค์ประกอบของเจตคติที่สาคัญ 3 ประการ คือ
• 1. การรู้ (Cognition) ประกอบด้วยความเชื่อของบุคคลที่มีต่อเป้าหมาย
เจตคติ
• 2. ความรู้สึก (Feeling) หมายถึง อารมณ์ที่มีต่อเป้าหมาย ส่วนประกอบ
ด้านอารมณ์ ความรู้สึกนี้เองที่ทาให้บุคคลเกิดความดื้อดึงยึดมั่น
• 3. แนวโน้มพฤติกรรม (Action tendency ) หมายถึง ความพร้อมที่จะมี
พฤติกรรมที่สอดคล้องกับเจตคติ
องค์ประกอบของเจตคติ
สุชา จันเอม และสุรางค์ จันเอม (2520:110-111) กล่าวว่า เจตคติของบุคคล
สามารถเปลี่ยนแปลงได้เนื่องมาจาก
1. การชักชวน (Persuasion) ทัศนคติจะเปลี่ยนแปลงหรือปรับปรุงใหม่ได้
หลังจากที่ได้รับคาแนะนา บอกเล่า หรือได้รับความรู้เพิ่มพูนขึ้น
2. การเปลี่ยนแปลงกลุ่ม (Group change) ช่วยเปลี่ยนทัศนคติของบุคคล
ได้
3. การโฆษณาชวนเชื่อ (Propaganda) เป็นการชักชวนให้บุคคลหันมา
สนใจหรือรับรู้โดยการสร้างสิ่งแปลกๆใหม่ๆขึ้น
การเปลี่ยนแปลงเจตคติ ของเจตคติ
การแก้ไขเจตคติหรือวิธีสร้างเจตคติ เจตคติเป็นเรื่องที่แก้ไขได้
อยากถ้าจาเป็นจะต้องช่วยแก้ไขเปลี่ยนเจตคติของคนอาจใช้วิธีเหล่านั้น คือ
1. การค่อย ๆ ชื้นลงให้เข้าใจ
2. หาสิ่งเร้าและสิ่งจูงใจอย่างเข้มข้นมายั่วยุ
3. คบหาสมาคมกับเพื่อนดีดี
4. ให้อ่านหนังสือดีมีประโยชน์
5. ให้ลองทาจนเห็นชอบแล้วกลับตัวดีเอง
การเปลี่ยนแปลงเจตคติ ของเจตคติ
การจา และการลืม
นักจิตวิทยาได้แบ่งความจา เป็น 3 ระบบ การจัดเก็บข้อมูลใด ๆ
ต้องผ่านขั้นตอนทั้ง 3 นี้ ดังแผ่นภาพต่อไปนี้
(1) ความจาจากการรับสัมผัส (sensory memory)
(2) ความจาระยะสั้น (shot-term memory - STM)
(3) ความจาระยะยาว (long-term memory - LTM)
สาเหตุของการลืม การลืมมีสาเหตุหลายประการ คือ
1. การไม่ได้ลงรหัส (Encoding Failure) การลืมอาจเกิดขึ้นเพราะ
ไม่ได้มีการจาตั้งแต่แรก
2. เสื่อมสลาย (Decay)
3. การลืมเพราะขึ้นอยู่กับสิ่งชี้แนะ (Cue-Dependent Forgetting)
4. การรบกวน (Interfere) การเรียนรู้ใหม่สามารถรบกวนการเรียนรู้
เก่า ทาให้เกิดการลืมได้เกิดขึ้นทั้งในความจาระยะสั้น และระยะยาว
5. การเก็บกด (Repression)
การลืม
การถ่ายโยงการเรียนรู้
การถ่ายโยงการเรียนรู้ (Transfer Learning) คือการที่ผู้เรียนสามารถ
นาความรู้ที่ได้เรียนไปแล้วมาใช้กับความรู้ที่เรียนใหม่ ซึ่งมี 2 ลักษณะ คือ
1.การถ่ายโยงการเรียนรู้ทางบวก หมายถึง การเรียนรู้เดิมที่เคย
เรียนรู้แล้วช่วยทาให้การเรียนรู้สิ่งใหม่เร็วขึ้น เช่น ขี่จักรยานเป็นแล้ว ทาให้
ขี่มอเตอร์ไซด์ได้เร็วขึ้น
2.การถ่ายโยงการเรียนรู้ทางลบ หมายถึง การเรียนรู้เดิมทาให้การ
เรียนรู้สิ่งใหม่ช้าลง หรือความรู้เดิมไปขัดกับความรู้ใหม่นั่นเอง เช่น เคยเปิด
ประตูด้วยการผลักพอเจอประตูที่ต้องดึง เรามักจะใช้ทักษะเดิมทาให้เปิด
ประตูได้ช้าลง
จบการนาเสนอ
น.ส.สราวีย์ รัตนจงเกียรติ น.ส.ณัฏฐวี พงษ์สมบูรณ์ น.ส.อรัญญา ศิริรักษ์
น.ส.ภัสราภรณ์ สิงห์ลอ นายภูณัฐโชค ธงภักดิ์ น.ส.จารุวรรณ ชื่นใจชน
คณะผู้จัดทา
การค้นคว้าข้อมูล
น.ส.สราวีย์ รัตนจงเกียรติ
หัวข้อที่ค้นคว้าประกอบด้วย
1.ทฤษฎีการเรียนรู้ ความหมายการเรียนรู้ จุดมุ่งหมายการ
เรียนรู้ องค์ประกอบการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้
2. ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้ เชาว์ปัญญา
น.ส.ณัฏฐวี พงษ์สมบูรณ์
หัวข้อที่ค้นคว้าประกอบด้วย
1.ทฤษฎีการเรียนรู้พฤติกรรมนิยม และการนาไประยุกต์ใช้ใน
การจัดการเรียนการสอน
2. ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้ ความสนใจ เจตติ
การค้นคว้าข้อมูล
น.ส.อรัญญา ศิริรักษ์
หัวข้อที่ค้นคว้าประกอบด้วย
1.ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม และการประยุกต์ใช้ในการ
จัดการเรียนกาสอน
2. ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้ การจาการลืม
น.ส. ภัสราภรณ์ สิงห์ลอ
หัวข้อที่ค้นคว้าประกอบด้วย
1.ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม และการนาไประยุกต์ใช้ใน
การจัดการเรียนการสอน
2. ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้ การรับรู้
การค้นคว้าข้อมูล
นายภูณัฐโชค ธงภักดิ์
หัวข้อที่ค้นคว้าประกอบด้วย
1. ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้ การถ่ายโยงความรู้
น.ส. จารุวรณ ชื่นใจชน
หัวข้อที่ค้นคว้าประกอบด้วย
1. ทฤษฎีพัฒนาการเชาว์ปัญญาของเพียเจท์และการนาไประ
ยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน
2. ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้ ความถนัดและรูปแบการเรียนรู้
เอกสารอ้างอิง
 จิตวิทยาการเรีนรู้ . [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
http://www.banjomyut.com/library_2/psychology_of_learning/01.html. (วันที่ค้น
ข้อมูล : 26 มีนาคม 2559)
 ประดินันท์ อุปรมัย . (2540) . ชุดวิชาพื้นฐานการศึกษา (มนุษย์กับการเรียนรู้) : นนทบุรี,
พิมพ์ครั้งที่ 15, หน้า 121.
 มัณฑรา ธรรมบุศย์. (2558) . เอกสารประกอบการสอนวิชาจิตวิทยาสาหรับครู
หลักสูตร ป.บัณฑิต สาขาวิชาชีพครู, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
 ทิศนา แขมมณี. ศาสตร์การสอน. กรุงเทพฯ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2545) - สุรางค์
โค้วตระกูล.(2544). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เอกสารอ้างอิง
 การรับรู้. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
http://blog.devtrainer.net/wp-content/uploads/2012/02/perception.pdf. (วันที่ค้นข้อมูล
: 20 มีนาคม 2559).
 ความถนัด. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.gotoknow.org/posts/282194.
(วันที่ค้นข้อมูล : 20 มีนาคม 2559).
 อิทธิพลต่างๆ ที่มีต่อการรับรู้. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
http://kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6722/9/Chapter2.pdf. (วันที่ค้นข้อมูล : 20
มีนาคม 2559).
 รูปแบบการเรียนรู้และรูปแบบการคิด. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
http://www.blendedlearning.in.th/pluginfile.php/415/mod_page/content/3/LearningSty
le-CognitiveStyle-final.pdf . (วันที่ค้นข้อมูล : 21 มีนาคม 2559).
เอกสารอ้างอิง
 ประทุม อังกูรโรหิต. (2543) . ปรัชญาปฏิบัตินิยม รากฐานปรัชญาการศึกษาในสังคม
ประชาธิปไตย.กรุงเทพ ฯ : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
 การสร้างแนวคิดและเจตคติ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
http://socialscience.igetweb.com/articles/41920929. (วันที่ค้นข้อมูล : 21 มีนาคม
2559).
 การจา การลืม. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
http://www.novabizz.com/NovaAce/Intelligence/Memory.htm. (วันที่ค้นข้อมูล : 21
มีนาคม 2559).
 การถ่ายโยงการเรียนรู้. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
http://toey53540381.blogspot.com/2010/09/blog-post_21.html. (วันที่ค้นข้อมูล : 22
มีนาคม 2559).
เอกสารอ้างอิง
 ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์ . [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
http://sohedu.blogspot.com/2012/09/blog-post_5312.html. (วันที่ค้นข้อมูล : 27
มีนาคม 2559).
 ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของสกินเนอร์. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://eman-
yusoh.blogspot.com/2012/09/skinner.html. (วันที่ค้นข้อมูล : 27 มีนาคม 2559).
 ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของพาฟลอฟ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
http://konniana.blogspot.com/2012/08/ivan-petrovich-pavlov.html. (วันที่ค้นข้อมูล :
27 มีนาคม 2559).
 ทฤษฎีการเรียนรู้. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
https://www.gotoknow.org/posts/341272. (วันที่ค้นข้อมูล : 27 มีนาคม 2559).
เอกสารอ้างอิง
 ทฤษฎีพัฒนาการเชาว์ปัญญาของเพียเจต์ . [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
http://www.baanjomyut.com/library_2/intellectual_development_theory. (วันที่ค้น
ข้อมูล : 28 มีนาคม 2559).
 ทฤษฎีการเรียนรู้ในพื้นที่รอยต่อพัฒนาการของไวก็อตสกี้ . [ออนไลน์] . เข้าถึงได้จาก :
pirun.ku.ac.th/~g521460093./ทฤษฎีการเรียนรู้ของไวก๊อตสกี้.doc. (วันที่ค้นข้อมูล : 28
มีนาคม 2559).
 ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบของบรูนเนอร์. [ออนไลน์] . เข้าถึงได้จาก :
https://www.gotoknow.org/posts/106985. (วันที่ค้นข้อมูล : 29 มีนาคม 2559).
 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
https://www.l3nr.org/posts/427957. (วันที่ค้นข้อมูล : 27 มีนาคม 2559).

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Aoun หมูอ้วน
 
4แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย
4แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย4แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย
4แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วยkaimmikar123
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยPaew Tongpanya
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)kroofon fon
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตรความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตรtanongsak
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันสะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันSiratcha Wongkom
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาธนกร ทองแก้ว
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงานTanyarad Chansawang
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21Anucha Somabut
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Thunyalak Thumphila
 
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงานใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงานsarawut saoklieo
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการProud N. Boonrak
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ
 

Mais procurados (20)

จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
4แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย
4แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย4แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย
4แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตรความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันสะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงานใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
 
ปก
ปกปก
ปก
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
 

Semelhante a จิตวิทยาการเรียนรู้

จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้ซิกส์ zaza
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้yuapawan
 
จิตวิทยาการเรียนรู้G9 jk
จิตวิทยาการเรียนรู้G9 jkจิตวิทยาการเรียนรู้G9 jk
จิตวิทยาการเรียนรู้G9 jkyuapawan
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้ซิกส์ zaza
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้ซิกส์ zaza
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้ซิกส์ zaza
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้ซิกส์ zaza
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้ซิกส์ zaza
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้yuapawan
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้honeylamon
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้yuapawan
 
จิตรวิทยาการเรียนรู้
จิตรวิทยาการเรียนรู้จิตรวิทยาการเรียนรู้
จิตรวิทยาการเรียนรู้maymymay
 
จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231Anny Hotelier
 
จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231Anny Hotelier
 
จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231Anny Hotelier
 
จิตวิทยา
จิตวิทยาจิตวิทยา
จิตวิทยาhadesza
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2hadesza
 
การเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learningการเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learningunyaparn
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้team00428
 

Semelhante a จิตวิทยาการเรียนรู้ (20)

จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้G9 jk
จิตวิทยาการเรียนรู้G9 jkจิตวิทยาการเรียนรู้G9 jk
จิตวิทยาการเรียนรู้G9 jk
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
 
จิตรวิทยาการเรียนรู้
จิตรวิทยาการเรียนรู้จิตรวิทยาการเรียนรู้
จิตรวิทยาการเรียนรู้
 
จิต
จิตจิต
จิต
 
จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231
 
จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231
 
จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231
 
จิตวิทยา
จิตวิทยาจิตวิทยา
จิตวิทยา
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
 
การเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learningการเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learning
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 

จิตวิทยาการเรียนรู้

  • 1.
  • 2. ความหมายของการเรียนรู้ นักจิตวิทยาหลายท่านให้ความหมายของการเรียนรู้ไว้เช่น  คิมเบิล (Kimble , 1964) ให้ความหมายของการเรียนรู้ไว้ว่า การเรียนรู้ เป็นการเปลี่ยนแปลงค่อนข้างถาวรในพฤติกรรม อันเป็นผลมาจากการฝึกที่ ได้รับการเสริมแรง  ฮิลการ์ด และ เบาเวอร์ (Hilgard & Bower, 1981) ให้ความหมายของ การเรียนรู้ไว้ว่า การเรียนรู้ เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม อัน เป็นผลมาจากประสบการณ์และการฝึก ทั้งนี้ไม่รวมถึงการเปลี่ยนแปลง ของพฤติกรรมที่เกิดจากการตอบสนองตามสัญชาตญาณ ฤทธิ์ของยา หรือ สารเคมี หรือปฏิกิริยาสะท้อนตามธรรมชาติของมนุษย์
  • 3.  ประดินันท์อุปรมัย [2] ให้ความหมายของการเรียนรู้ไว้ว่า การเรียนรู้ คือ การเปลี่ยนแปลงของบุคคลอันมีผลเนื่องมาจากการได้รับประสบการณ์ โดยการเปลี่ยนแปลงนั้นเป็นเหตุทาให้บุคคลเผชิญสถานการณ์เดิมแตกต่าง ไปจากเดิม ประสบการณ์ที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมหมายถึง ทั้งประสบการณ์ทางตรงและประสบการณ์ทางอ้อม  มัณฑรา ธรรมบุศย์[3] ให้ความหมายของการเรียนรู้ไว้ว่า การ เรียนรู้ (Learning) คือ กระบวนการที่ทาให้คนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ทา ให้คนเรามีความรู้ ความเข้าใจ ในสาระต่างๆ มีทักษะและความสามารถ มากขึ้น รวมทั้งมีความรู้สึก เจตคติ อันเป็นผลที่เกิดขึ้นจากกระบวนการ เรียนรู้หรือการใช้วิธีการเรียนรู้ ความหมายของการเรียนรู้ (ต่อ)
  • 4. จุดมุ่งหมายของการเรียนรู้ พฤติกรรมการเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายของนักการศึกษาซึ่งกาหนดโดย บลูม และคณะ (Bloom and Others ) มุ่งพัฒนาผู้เรียนใน 3 ด้าน ดังนี้ 1. ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) คือ ผลของการเรียนรู้ที่เป็น ความสามารถทางสมอง ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท ความจา ความเข้าใจ การ นาไปใช้การวิเคราะห์ การสังเคราะห์และประเมินผล 2. ด้านเจตพิสัย (Affective Domain ) คือ ผลของการเรียนรู้ที่ เปลี่ยนแปลงด้านความรู้สึก ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท ความรู้สึก ความสนใจ ทัศนคติ การประเมินค่าและค่านิยม 3. ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) คือ ผลของการเรียนรู้ที่เป็น ความสามารถด้านการปฏิบัติ ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท การเคลื่อนไหว การ กระทา การปฏิบัติงาน การมีทักษะและความชานาญ
  • 5. องค์ประกอบสาคัญของการเรียนรู้ ดอลลาร์ด และมิลเลอร์ (Dallard and Miller) เสนอว่าการเรียนรู้ มีองค์ประกอบสาคัญ 4 ประการ คือ 1. แรงขับ (Drive) เป็นความต้องการที่เกิดขึ้นภายในตัวบุคคล เป็นความพร้อมที่จะเรียนรู้ของบุคคลทั้งสมอง ระบบประสาทสัมผัสและ กล้ามเนื้อ แรงขับและความพร้อมเหล่านี้จะก่อให้เกิดปฏิกิริยา หรือ พฤติกรรมที่จะชักนาไปสู่การเรียนรู้ต่อไป 2. สิ่งเร้า (Stimulus) เป็นสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในสถานการณ์ ต่างๆ ซึ่งเป็นตัวการที่ทาให้บุคคลมีปฏิกิริยา หรือพฤติกรรมตอบสนอง ออกมา ในสภาพการเรียนการสอน สิ่งเร้าจะหมายถึงครู กิจกรรมการ สอน และอุปกรณ์การสอนต่างๆ ที่ครูนามาใช้
  • 6. 3. การตอบสนอง (Response) เป็นปฏิกิริยา หรือพฤติกรรมต่างๆ ที่ แสดงออกมาเมื่อบุคคลได้รับการกระตุ้นจากสิ่งเร้า ทั้งส่วนที่สังเกตเห็นได้และ ส่วนที่ไม่สามารถสังเกตเห็นได้เช่น การเคลื่อนไหว ท่าทาง คาพูด การคิด การ รับรู้ ความสนใจ และความรู้สึก เป็นต้น 4. การเสริมแรง (Reinforcement) เป็นการให้สิ่งที่มีอิทธิพลต่อบุคคล อันมีผลในการเพิ่มพลังให้เกิดการเชื่อมโยง ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง เพิ่มขึ้น การเสริมแรงมีทั้งทางบวกและทางลบ ซึ่งมีผลต่อการเรียนรู้ของบุคคล เป็นอันมาก องค์ประกอบสาคัญของการเรียนรู้ (ต่อ)
  • 8. . ทฤษฎีการเรียนรู้ ( Learning theory ) นักจิตวิทยาได้พยายามทาการวิจัยเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทั้งสัตว์ และมนุษย์และได้ค้นพบหลักการที่ใช้ประยุกต์เพื่อการเรียนรู้ในโรงเรียน ได้ทฤษฎีของการเรียนรู้มีหลายทฤษฎีแต่จะขอนามากล่าวเพียง 3 ทฤษฎี คือ 1. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม 2. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม 3. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม
  • 9. ทฤษฎีการเรียนรู้พฤติกรรมนิยม • ความคิดพื้นฐานของทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม คือ 1. พฤติกรรมทุกอย่างเกิดขึ้นโดยการเรียนรู้และสามารถจะสังเกตได้ 2. พฤติกรรมแต่ละชนิดเป็นผลรวมของการเรียนที่เป็นอิสระหลายอย่าง 3. แรงเสริม (Reinforcement) ช่วยทาให้พฤติกรรมเกิดขึ้นได้
  • 10. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) มาลิณี จุโฑประมา (2554: 69-80) ได้กล่าวถึงทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่ม พฤติกรรมนิยมไว้ว่า กลุ่มทฤษฎีการเรียนรู้ที่ว่าด้วยเรื่องการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมภายนอกหรือกลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) มีดังนี้ 1. ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์ (Thorndike’s Connectionism Theory) 2. ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของสกินเนอร์ (Skinner’s Operant Conditioning Theory) 3. ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของพาฟลอฟ (Classical Conditioning)
  • 11. ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์ (Thorndike’s Connectionism Theory) ธอร์นไดค์(Edward L Thorndike) เป็นนักจิตวิทยาและนักการ ศึกษาชาวอเมริกัน ทฤษฎีของธอร์นไดค์ได้ชื่อว่า “ความสัมพันธ์เชื่อมโยง” (connectionism) เขาเชื่อว่าการเรียนรู้เกิดขึ้นได้ต้องสร้างสิ่งเชื่อมโยงหรือ พันธ์(Bond) ระหว่างสิ่งเร้า (S) กับการตอบสนอง(R)
  • 12. การทดลองของธอร์นไดค์ ธอร์นไดค์ได้นาแมวไปขังไว้ในกรง ที่สร้างขึ้น แล้วนาปลาไปวางล่อไว นอกกรงให้ห่างพอประมาณ โดยให้ แมวไม่สามารถยื่นเท้าไปเขี่ยได้จาก การสังเกต พบว่าแมวพยายามใช้ วิธีการต่าง ๆ เพื่อจะออกไปจากกรง จนกระทั่งเท้าของมันไปเหยียบถูก คานไม้โดยบังเอิญ ทาให้ประตูเปิด ออก หลังจากนั้นแมวก็ใช้เวลาใน การเปิดกรงได้เร็วขึ้น
  • 13. กฎการเรียนรู้ 1. กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness) การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ดี ถ้าผู้เรียนมี ความพร้อมทั้งทางร่างกายและจิตใจ กฎแห่งความพร้อม กฎข้อนี้มีใจความสรุปว่า - เมื่อบุคคลพร้อมที่จะทาแล้วได้ทา เขาย่อมเกิดความพอใจ - เมื่อบุคคลพร้อมที่จะทาแล้วไม่ได้ทา เขาย่อมเกิดความไม่พอใจ - เมื่อบุคคลไม่พร้อมที่จะทาแต่เขาต้องทา เขาย่อมเกิดความไม่พอใจ
  • 14. 2. กฎแห่งการฝึกหัด (Law of Exercise) การฝึกหัดหรือกระทาบ่อย ๆด้วย ความเข้าใจจะทาให้การเรียนรู้นั้นคงทนถาวร ถ้าไม่ได้กระทาซ้าบ่อย ๆ การ เรียนรู้นั้นจะไม่คงทนถาวร และในที่สุดอาจลืมได้ กฎแห่งการฝึกหัด แบ่งเป็น 2 กฎย่อย คือ - กฎแห่งการได้ใช้(Law of Use) มีใจความว่าพันธะหรือตัวเชื่อม ระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนองจะเข้มแข็งขึ้นเมื่อได้ทาบ่อย ๆ - กฎแห่งการไม่ได้ใช้(Law of Disuse) มีใจความว่าพันธะหรือ ตัวเชื่อมระหว่างสิ่งเร้า และการตอบสนองจะอ่อนกาลังลง เมื่อไม่ได้กระทา อย่างต่อเนื่องมีการขาดตอนหรือ ไม่ได้ทาบ่อย ๆ กฎการเรียนรู้
  • 15. 3. กฎแห่งผลที่พึงพอใจ (Law of Effect) เมื่อบุคคลได้รับผลที่พึงพอใจ ย่อมอยากจะเรียนรู้ต่อไป แต่ถ้าได้รับผลที่ไม่พึงพอใจ จะไม่อยากเรียนรู้ ดังนั้นการได้รับผลที่พึงพอใจ กฎข้อนี้นับว่าเป็นกฎที่สาคัญและได้รับความ สนใจจาก ธอร์นไดด์ มากที่สุด กฎนี้มีใจความว่า พันธะหรือตัวเชื่อม ระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนองจะเข้มแข็งหรืออ่อนกาลัง ย่อมขึ้นอยู่กับ ผลต่อเนื่องหลังจากที่ได้ตอบสนองไปแล้วรางวัล จะมีผลให้พันธะสิ่งเร้า และการตอบสนองเข้มแข็งขึ้น ส่วนการทาโทษนั้นจะไม่มีผลใด ๆ ต่อความ เข้มแข็งหรือการอ่อนกาลังของพันธะระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง กฎการเรียนรู้
  • 16. การประยุกต์ใช้ในด้านการเรียนการสอน • 1. การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ลองผิดลองถูกด้วยตนเองบาง จะเป็นการ ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในการแก้ไขปัญหา โดยสามารถจดจาผลจาก การเรียนรู้ได้ดี รวมทั้งเกิดความภาคภูมิใจในการทาสิ่งต่างๆ ด้วยตนเอง • 2. การสารวจความพร้อมหรือการสร้างความพร้อมทางการเรียนให้แก่ ผู้เรียนเป็นสิ่งจาเป็นที่ต้องดาเนินการก่อนการเรียนเสมอ
  • 17. • 3. หากต้องการให้ผู้เรียนเกิดทักษะในเรื่องใดแล้ว ต้องให้ผู้เรียนมีความรู้ และความเข้าใจในเรื่องนั้น ๆ อย่างถ่องแท้ และให้ผู้เรียนฝึกฝนอย่าง ต่อเนื่องและสม่าเสมอ • 4. เมื่อผู้เรียนเกิดการเรียนรู้แล้ว ควรให้ผู้เรียนฝึกนาการเรียนรู้นั้นไปใช้ • 5. การให้ผู้เรียนได้รับผลที่น่าพึงพอใจ จะช่วยให้การเรียนการสอน ประสบความสาเร็จ การประยุกต์ใช้ในด้านการเรียนการสอน
  • 18. ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของสกินเนอร์ (Skinner’s Operant Conditioning Theory) สกินเนอร์ (Skinner) เป็นนักจิตวิทยาชาวอเมริกัน ผู้คิดทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทา (Operant Conditioning theory) เขามีความคิดว่าทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคนั้น จากัดอยู่กับพฤติกรรม การเรียนรู้ที่เกิดขึ้นเป็นจานวนน้อยของมนุษย์พฤติกรรมส่วนใหญ่แล้วมนุษย์ จะเป็นผู้ลงมือปฏิบัติเอง ไม่ใช่เกิดจากการจับคู่ระหว่างสิ่งเร้าใหม่กับสิ่งเร้าเก่า ตามการอธิบายของ Pavlov Skinnerได้อธิบายคาว่า" พฤติกรรม " ว่า ประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ตัว คือ สิ่งที่เกิดขึ้น > พฤติกรรม > ผลที่ได้รับ
  • 19. การทดลองของสกินเนอร์ • การศึกษาในเรื่องนี้ Skinner ได้สร้าง กล่องขึ้นมา มีชื่อเรียนกว่า Skinner Box กล่องนี่เป็นกล่องสี่เหลี่ยมมีคาน หรือลิ้นบังคับให้อาหารตกลงมาใน จาน เหนือคานจะมีหลอดไฟติดอยู่เมื่อ กดคานไฟจะสว่างและอาหารจะหล่น ลงมา Skinner Box นานกไปใส่ไว้ใน กล่อง และโดยบังเอิญนกเคลื่อนไหว ไปถูกคานอาหารก็หล่นลงมา อาหารที่ นกได้นาไปสู่การกดคานซ้าและการกด คานแล้วได้อาหาร
  • 20. การเสริมแรง(Reinforcement ) การเสริมแรง(Reinforcement ) หมายถึงสิ่งเร้าใดที่ทาให้พฤติกรรมการ เรียนรู้เกิดขึ้นแล้วมีแนวโน้มจะเกิดขึ้นอีก มีความคงทนถาวรในการทดลอง Skinner ตัวเสริมแรง แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะคือ • 1. ตัวเสริมแรงทางบวก (Positive Reinforcement) หมายถึงสิ่งเร้าใดเมื่อ นามาใช้แล้วทาให้อัตราการตอบสนองมากขึ้น เช่น คาชมเชย รางวัล อาหาร เป็นต้น • 2. ตัวเสริมแรงทางลบ (Negasitive Reinforcement) หมายถึงสิ่งเร้าใดเมื่อนา ออกใช้แล้ว ทาให้อัตราการตอบสนองมากขึ้น เช่น เสียงดัง คาตาหนิ อากาศ ร้อน กลิ่นเหม็น เป็นตัวเสริมแรงทางลบ
  • 21. • 1. ครูควรจะให้แรงเสริมในพฤติกรรมที่แสดงว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ แล้วโดยตอนแรกๆควรจะให้แรงเสริมทุกครั้งที่ผู้เรียนแสดงพฤติกรรมที่ พึงปรารถนา ต่อมาจึงค่อยใช้แรงเสริมเป็นครั้งคราวและจะต้องระวังมา ให้แรงเสริมเมื่อผู้เรียนแสดงพฤติกรรมที่พึงประสงค์ • 2. การเพิ่มพฤติกรรมหรือคงพฤติกรรมเดิมที่เหมาะสมไว้ซึ่งจะมีเทคนิค ในการใช้เพิ่มพฤติกรรมหลายอย่างคือ การเสริมแรงในทางบวก เพื่อให้ เกิดพฤติกรรมที่พึงพอใจ การทาสัญญาเงื่อนไข การเสริมแรงในทางลบ เป็นต้น การประยุกต์ใช้ในด้านการเรียนการสอน
  • 22. • 3. การปลูกฝังพฤติกรรมบางอย่างโดยใช้วิธีที่เรียกว่า การดัดหรือการตบแต่ง พฤติกรรม (Behavior Shaping) ซึ่งเป็นการใช้วิธีให้แรงเสริมกับพฤติกรรมที่ ผู้เรียนทาได้ใกล้เคียงกับเป้าหมายที่กาหนดไว้ตามลาดับขั้นจนสามารถ แสดงออกได้เป็นนิสัย เช่น การกระทาให้เด็กที่ไม่กล้าพูดไม่กล้าแสดง ออกเป็นเด็กที่กล้าขึ้นมาได้ก็โดยการชมเชย และให้กาลังใจเมื่อเขากล้าพูด และกล้าแสดงออก ฯลฯ • 4. บทเรียนสาเร็จรูปหรือบทเรียนแบบโปรแกรม (Program Learning) จาก หลักการให้แรงเสริมของสกินเนอร์ที่ว่า เมื่อผู้เรียนทาถูกจะได้รางวัลทันที มี ผลให้เกิดบทเรียนสาเร็จรูปหรือบทเรียนแบบโปรแกรมและเครื่องช่วยสอน (Teaching Machine) ขึ้น ซึ่งเน้นให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเองโดยมีคาตอบที่ ถูกต้องไว้ให้ การประยุกต์ใช้ในด้านการเรียนการสอน
  • 23. ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของพาฟลอฟ (Classical Conditioning) พาฟลอฟ (Pavlov) นักสรีรวิทยาชาวรัสเซีย หลักการเรียนรู้ทฤษฎีของพาฟลอฟเชื่อว่าสิ่งเร้า (Stimulus) ที่เป็นกลางเกิดขึ้น พร้อมๆกับสิ่งเร้าที่ทาให้เกิดกริยาสะท้อนอย่างหนึ่งหลายๆครั้ง สิ่งเร้าที่เป็น กลางจะทาให้เกิดกริยาสะท้อนอย่างนั้นด้วย การเรียนรู้ของสิ่งมีชีวิตเกิดจาก การวางเงื่อนไข (Conditioning) กล่าวคือ การตอบสนองหรือการเรียนรู้ที่ เกิดขึ้นต่อสิ่งเร้านั้นๆต้องมีเงื่อนไขหรือมีการสร้างสถานการณ์ให้เกิดขึ้นที่เป็น ผลของการเรียนรู้ (กมลรัตน์ หล้าสุวงษ์. 2550)
  • 24. การทดลองของพาฟรอฟ การทดลองโดยสั่นกระดิ่งก่อนที่จะเอาอาหาร (ผงเนื้อ) ให้แก่สุนัข เวลา ระหว่างการสั่นกระดิ่งและการให้ผงเนื้อแก่สุนัขต้องเป็นเวลาที่กระชั้นชิดมาก ประมาณ .25 ถึง .50 วินาทีทาซ้าควบคู่กันหลายครั้ง และในที่สุดหยุดให้อาหาร เพียงแต่สั่นกระดิ่งก็ปรากฏว่าสุนัขก็ยังคงมีน้าลายไหลได้โดยที่ข้างแก้มของสุนัข ติดเครื่องมือวัดระดับการไหลของน้าลายไว้
  • 25. ทฤษฎีการเรียนรู้ 1. พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย์เกิดจากการวางเงื่อนไขที่ ตอบ สนองต่อความต้องการทางธรรมชาติ 2. พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย์สามารถเกิดขึ้นได้จากสิ่งเร้า ที่เชื่อมโยงกับสิ่งเร้าตามธรรมชาติ 3. พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย์ที่เกิดจากสิ่งเร้า 4. พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย์สิ่งเร้าที่เชื่อมโยงกับสิ่งเร้า ตามธรรมชาติ 5. มนุษย์มีแนวโน้มที่จะจาแนกลักษณะของสิ่งเร้าให้แตกต่างกัน และเลือกตอบสนองได้ถูกต้อง
  • 26. กฎแห่งการเรียนรู้ • 1. กฎแห่งการลดภาวะ (Law of extinction) คือ ความเข้มข้นของการ ตอบสนอง จะลดน้อยลงเรื่อย ๆ ถ้าอินทรีย์ได้รับสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข เพียงอย่างเดียว หรือความ มีสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขกับสิ่ง เร้าที่ไม่วางเงื่อนไขห่างออกไปมากขึ้น • 2. กฎแห่งการฟื้นคืนสภาพ (Law of spontaneous recovery) คือ การ ตอบสนองที่เกิดจากการวางเงื่อนไขที่ลดลงเพราะได้รับแต่สิ่งเร้าที่วาง เงื่อนไขเพียงอย่างเดียว จะกลับปรากฏขึ้นอีกและเพิ่มมากขึ้น ๆ ถ้า อินทรีย์มีการเรียนรู้อย่างแท้จริง โดยไม่ต้องมีสิ่งเร้าที่ไม่วางเงื่อนไขมา เข้าคู่ช่วย
  • 27. • 3. กฎแห่งสรุปกฎเกณฑ์โดยทั่วไป (Law of generalization) คือ ถ้าอินทรีย์ มีการเรียนรู้ โดยการแสดงอาการตอบสนองจากการวางเงื่อนไขต่อสิ่งเร้าที่ วางเงื่อนไขหนึ่งแล้ว ถ้ามีสิ่งเร้าอื่นที่มีคุณสมบัติคล้ายคลึงกับสิ่งเร้าที่วาง เงื่อนไขเดิม อินทรีย์จะตอบสนองเหมือนกับสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขนั้น • 4. กฎแห่งความแตกต่าง (Law of discrimination) คือ ถ้าอินทรีย์มีการ เรียนรู้ โดยการตอบสนองจากการวางเงื่อนไขต่อสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขแล้ว ถ้าสิ่งเร้าอื่นที่มีคุณสมบัติแตกต่างจากสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขเดิม อินทรีย์จะ ตอบสนองแตกต่างไปจาก สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข กฎแห่งการเรียนรู้
  • 28. 1.ในแง่ของความแตกต่างระหว่างบุคคล ความแตกต่างทางด้าน อารมณ์มีแบบแผน การตอบสนองได้ไม่เท่ากัน จาเป็นต้องคานึงถึงสภาพ ทางอารมณ์ผู้เรียนว่าเหมาะสมที่จะสอนเนื้อหาอะไร 2.การวางเงื่อนไข เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับพฤติกรรมทางด้านอารมณ์ ด้วย โดยปกติผู้สอนสามารถทาให้ผู้เรียนรู้สึกชอบหรือไม่ชอบเนื้อหาที่ เรียนหรือสิ่งแวดล้อมในการเรียน 3.การลบพฤติกรรมที่วางเงื่อนไข ผู้เรียนที่ถูกวางเงื่อนไขให้กลัว ผู้สอน เราอาจช่วยได้โดยป้องกันไม่ให้ผู้สอนทาโทษเขา การประยุกต์ใช้ในด้านการเรียนการสอน
  • 29. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม ทฤษฎีการเรียนรู้ในกลุ่มพุทธิปัญญานิยมนี้ให้ความสาคัญกับ ความสามารถในการตั้งวัตถุประสงค์ การวางแผน ความตั้งใจ ความคิด ความจา การคัดเลือก การให้ความหมายกับสิ่งเร้าต่าง ๆ ที่ได้จากประสบการณ์ • ความคิดพื้นฐานของทฤษฎีการเรียนรู้ปัญญานิยม 1. ผู้เรียนสร้างความเข้าใจในสิ่งที่เรียนรู้ด้วยตนเอง 2. การเรียนรู้สิ่งใหม่ขึ้นกับความรู้เดิมและความเข้าใจที่มีอยู่ในปัจจุบัน 3. การมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมมีความสาคัญต่อการเรียนรู้ 4. การจัดสิ่งแวดล้อม กิจกรรมที่คล้ายคลึงกับชีวิตจริง ทาให้ผู้เรียนเกิด การเรียนรู้อย่างมีความหมาย
  • 30. ทฤษฎีการเรียนรู้ในกลุ่มพุทธิปัญญานิยมนี้ให้ความสาคัญกับ ความสามารถในการตั้งวัตถุประสงค์ การวางแผน ความตั้งใจ ความคิด ความจา การคัดเลือก การให้ความหมายกับสิ่งเร้าต่าง ๆ ที่ได้จากประสบการณ์ นักจิตวิทยาที่อยู่ในกลุ่มนี้ เช่น 1. เพียเจท์ (Jean Piaget) ทฤษฎีพัฒนาการเชาว์ปัญญา 2.ไวก็อทสกี้ (Vygotsky) ทฤษฏีการเรียนรู้ในพื้นที่รอยต่อพัฒนาการ 3. บรุนเนอร์ (Bruner) ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบ ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม
  • 31. ความคิดพื้นฐานของทฤษฎีการเรียนรู้ปัญญานิยม • 1. ผู้เรียนสร้างความเข้าใจในสิ่งที่เรียนรู้ด้วยตนเอง • 2. การเรียนรู้สิ่งใหม่ขึ้นกับความรู้เดิมและความเข้าใจที่มีอยู่ในปัจจุบัน • 3. การมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมมีความสาคัญต่อการเรียนรู้ • 4. การจัดสิ่งแวดล้อม กิจกรรมที่คล้ายคลึงกับชีวิตจริง ทาให้ผู้เรียนเกิด การเรียนรู้อย่างมีความหมาย
  • 32. ทฤษฎีพัฒนาการเชาว์ปัญญาของเพียเจท์ Piaget’s Theory เพียเจท์(Jean Piaget) เจ้าของกิจการงานเกษตรกรรมแถบ เทือกเขาแอลฟ์ (Alps) สวิสเซอร์แลนด์ เชื่อว่าคนเราทุกคนตั้งแต่เกิดมาพร้อมที่จะมีปฏิสัมพันธ์กับ สิ่งแวดล้อมและโดยธรรมชาติของมนุษย์เป็นผู้พร้อมที่ จะมีกริยากรรมหรือ เริ่มกระทาก่อน (Active) นอกจากนี้ เพียเจท์ถือว่ามนุษย์เรามีแนวโน้มพื้นฐาน ที่ติดตัวมาตั้งแต่กาเนิด 2 ชนิด คือ การจัดและรวบรวม(Organization) และ การปรับตัว(Adaptation)
  • 33. • การจัดและรวบรวม (Oganization) หมายถึง การจัดและรวบรวม กระบวนการต่างๆภายใน เข้าเป็นระบบอย่างต่อเนื่อง เป็นระเบียบและมี การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาตราบที่ ยังมีปฏิสัมพันธ์กับ สิ่งแวดล้อม • การปรับตัว (Adaptation) หมายถึง การปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมเพื่อ อยู่ในสภาพสมดุล การปรับตัวประกอบด้วยกระบวนการ2 อย่าง คือ 1. การซึมซาบ หรือดูดซึม 2. การปรับโครงสร้างทางปัญญา ทฤษฎีพัฒนาการเชาว์ปัญญาของเพียเจท์ Piaget’s Theory
  • 34. • เพียเจท์แบ่งขั้นตอนพัฒนาชีวิตเป็น 4 ขั้นดังนี้ ขั้นที่ 1 Sensorimotor period (แรกเกิด - 2 ขวบ) ขั้นที่ 2 Preoperational period (อายุ 2- 7 ปี) ขั้นที่ 3 Concrete period (อายุ 7 - 11 ปี) ขั้นที่ 4 Formal Operations period (อายุ 12 ปีขึ้นไป) ทฤษฎีพัฒนาการเชาว์ปัญญาของเพียเจท์ Piaget’s Theory
  • 35. • ช่วงอายุตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุ 2 ขวบ โดยประมาณ • คาว่า Sensory หมายถึง การสัมผัสต่างๆ เช่นการเห็น การได้ยิน การรู้รส และการรู้สึกที่ผิวหนัง • คาว่า Motor เป็นกิริยาอาการเคลื่อนไหวต่างๆ เช่น การลูบคลา การคืบ คลาน การเอื้อมหยิบฉวยตลอดจนการเสาะแสวงหาทั้งหลาย • รวมความหมายว่าวัย Sensory-motor นี้เป็นระยะที่เด็กมีการซุกซน เคลื่อนไหวอยู่ไม่สุข ซึ่งเพียเจท์อธิบายว่าเป็นความพยายามเข้าใจ สิ่งแวดล้อมของเด็ก โดยอาศัยประสาทสัมผัสและอวัยวะมอเตอร์ ทั้งนี้ เป็นการเรียนรู้พื้นฐานในการสร้างสติปัญญาของเด็กและเป็นการเรียนรู้ ความแตกต่างระหว่างตนเองกับสิ่งแวดล้อม ขั้นที่ 1 Sensorimotor period
  • 36. • อายุในช่วง 2-7 ขวบ • เด็กก่อนเข้าโรงเรียนและวัยอนุบาล มีระดับเชาวน์ปัญญาอยู่ในขั้นนี้ เด็ก วัยนี้มีโครงสร้างของสติปัญญา(Structure) ที่จะใช้สัญลักษณ์แทนวัตถุ สิ่งของที่อยู่รอบๆตัว ได้หรือ มีพัฒนาการทางด้านภาษา เด็กวัยนี้จะเริ่ม ด้วยการพูดเป็นประโยคและเรียนรู้คาต่างๆเพิ่มขึ้น เด็กจะได้รู้จักคิด • ความคิดของของเด็กวัยนี้ยังมีข้อจากัดหลายอย่างเด็กก่อนเข้าโรงเรียน และวัยอนุบาล มีระดับเชาวน์ปัญญาอยู่ในขั้นนี้ เด็กวัยนี้มีโครงสร้างของ สติปัญญา (Structure) ที่จะใช้สัญลักษณ์แทนวัตถุสิ่งของที่อยู่รอบๆตัว ได้หรือมีพัฒนาการทางด้านภาษา เด็กวัยนี้จะเริ่มด้วยการ พูดเป็น ประโยคและเรียนรู้คาต่างๆเพิ่มขึ้น เด็กจะได้รู้จักคิด ขั้นที่ 2 Preoperational period
  • 37. • ช่วงอายุประมาณ 7-11 ขวบ • การเรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องคิดคานวณตัวเลขจะเริ่มจากการบวกลบจานวน ต่างๆ เด็กมีความคิดเข้าใจสิ่งแวดล้อมที่เป็นรูปธรรมได้ โดยสามารถ สร้างความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งหรือเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกันเช่น ความเย็น-น้า-เปียกเป็นต้น ขั้นที่ 3 Concrete period
  • 38. • อยู่ในช่วงอายุ11-15 ปี • ซึ่งเป็นวัยที่เด็กใช้เหตุผลเชิงตรรกและคิดทบทวนไปมาได้อย่างว่องไว เด็กจะมีความคิดสร้างสรรค์ โดยเริ่มตั้งแต่นาข้อมูลมาสร้างสมมติฐาน และสร้างข้อสรุปกฎเกณฑ์ต่างๆ จากการทดสอบข้อสันนิษฐานของตน กระบวนการคิดที่แตกฉานและการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมที่เป็นนามธรรมจะ ปรากฏเด่นชัดขึ้น ในวัยนี้จะมีการคาดคะเนปรากฏการณ์หรือเหตุการณ์ ต่างๆ อยู่เสมอ ทั้งนี้เป็นพื้นฐานการคิดหาคาตอบเมื่อเกิดปัญหาขึ้นใน ชีวิตของมนุษย์ ขั้นที่ 4 Formal Operations period
  • 39. การประยุกต์ใช้ในด้านการเรียนการสอน 1. นักเรียนที่มีอายุเท่ากันอาจมีขั้นพัฒนาการทางสติปัญญาที่ แตกต่างกัน 2. ประสบการณ์ทางกายภาพ 3. หลักสูตรที่สร้างขึ้นบนพื้นฐานทฤษฎีของพัฒนาการทาง สติปัญญา 4. การสอนที่ส่งเสริมพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียน 5. ในขั้นประเมินผล ควรดาเนินการสอนโดยมีการทดสอบแบบ การให้เหตุผล
  • 40. ทฤษฎีการเรียนรู้ของไวก็อตสกี้ ไวก็อตสกี้(Vygotsky)เป็นนักจิตวิทยาชาวรัสเซีย เชื้อสายยิว แนวคิดของไวก็อตสกี้เรื่องพื้นที่รอยต่อพัฒนาการ และการเสริมต่อ การเรียนรู้ พื้นที่รอยต่อพัฒนาการเป็นระยะห่างระหว่างระดับพัฒนาการที่เป็น จริงกับระดับพัฒนาการที่สามารถเป็นไปได้เด็กสามารถแก้ปัญหาที่ยากเกินกว่า ระดับพัฒนาการที่แท้จริงของเขาได้หากได้รับการแนะนาช่วยเหลือหรือได้รับ ความร่วมมือจากผู้ที่เชี่ยวชาญที่มีความสามารถมากกว่า
  • 41. • ไวก็อตสกี้ อธิบายว่า การจัดการเรียนรู้จะต้องคานึงถึงระดับ พัฒนาการ 2 ระดับ คือ ระดับพัฒนาการที่เป็นจริง (Actual Development Level) และระดับพัฒนาการที่สามารถจะเป็นไปได้ (Potential Development Level) ระยะห่างระหว่างระดับพัฒนาการที่เป็นจริงและ ระดับพัฒนาการที่สามารถจะเป็นไปได้ เรียกว่า พื้นที่รอยต่อพัฒนาการ (Zone of Proximal Development) ซึ่งไวก็อตสกี้เปรียบเทียบการเรียนรู้ กับพัฒนาการไว้ดังนี้ »Past Learning : Actual Development Level »Present Learning: Zone of Proximal Development »Future Learning: Potential Development Level (Wing & Putney. 2002:95) ทฤษฎีการเรียนรู้ของไวก็อตสกี้
  • 42. • ไวก๊อตสกี ได้กล่าวว่า มนุษย์ได้รับอิทธิพลจากสิ่งแวดล้อมตั้งแต่แรกเกิด ซึ่งนอกจากสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติแล้ว ยังมีสิ่งแวดล้อมทางสังคม คือ วัฒนธรรมที่สังคมสร้างขึ้น • ดังนั้น สถาบันสังคมต่างๆ เริ่มตั้งแต่สถาบันครอบครัวจะมีอิทธิพลต่อ พัฒนาการทางเชาว์ปัญญาของแต่ละบุคคลเด็กเรียนรู้สัญลักษณ์ต่าง ๆ และคาพูดเป็นครั้งแรกจากสังคม ซึ่งความฉลาดความสามารถ ในการ สื่อสารด้านภาษานี่เองเป็นพื้นฐานที่ทาให้เด็กแตกต่างจากสัตว์ นอกจากนั้นภาษายังเป็นเครื่องมือสาคัญของการคิดและพัฒนาเชาว์ ปัญญาขั้นสูง พัฒนาการทางภาษาและทางความคิดของเด็กเริ่มด้วยการ พัฒนาที่แยกจากกัน แต่เมื่ออายุมากขึ้นพัฒนาการทั้งสองด้านจะเป็นไป ร่วมกัน
  • 43. 1. ผู้สอนจะต้องเน้นตัวอย่างและฝึกฝนกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเห็น 2. การเรียนรู้ทักษะต่างๆ จะต้องมีประสิทธิภาพถึงขั้นทาได้และแก้ปัญหา ได้จริง 3. ในการเรียนการสอนผู้เรียนจะเป็นผู้มีบทบาทในการเรียนรู้อย่างตื่นตัว 4. ในการจัดการเรียนรู้ผู้สอนจะต้องพยายามสร้างบรรยากาศทางสังคม จริยธรรมให้เกิดขึ้น 5. ผู้เรียนควรมีบทบาทในการเรียนรู้อย่างเต็มที่ 6. ในการเรียนการสอนแบบสร้างความรู้ ผู้สอนจะมีบทบาทเป็นผู้ให้ความ ร่วมมืออานวยความสะดวก 7. การประเมิน ควรมีลักษณะที่ยืดหยุ่นในแต่ละบุคคล การประยุกต์ใช้ในด้านการเรียนการสอน
  • 44. ทฤษฎีการเรียนรู้ของบรูนเนอร์ (Bruner) บรูนเนอร์เป็นนักจิตวิทยาชาวอเมริกัน บรูนเนอร์ เชื่อว่าการเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้เมื่อผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับ สิ่งแวดล้อมซึ่งนาไปสู่การค้นพบการแก้ปัญหา โดยครูเป็นผู้จัดสิ่งแวดล้อม ด้านข้อมูล วัตถุประสงค์คาถามและตั้งความมุ่งหวังว่าผู้เรียนจะค้นพบ คาตอบด้วยตนเอง
  • 45. ขั้นพัฒนาการของบรูนเนอร์ วิธีการที่ผู้เรียนใช้เป็นเครื่องมือในการค้นพบความรู้จึงแบ่งเป็น 3 วิธี 1) เอ็นแอคทีป (Enactive Mode) เป็นวิธีที่ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับ สิ่งแวดล้อมโดยการสัมผัสจับต้องด้วยมือหรืออวัยวะของร่างกาย 2) ไอคอนนิค (Iconic Mode) เป็นวิธีที่ผู้เรียนสร้างจินตนาการ หรือสร้างมโนภาพ(Imagery) ขึ้นในใจได้โดยใช้รูปภาพแทนของจริงโดย ไม่จาเป็นต้องสัมผัสของจริง 3) ซิมโบลิค (Symbolic Mode) เป็นวิธีที่ผู้เรียนใช้สัญลักษณ์เพื่อให้ เกิดการเรียนรู้ สามารถเข้าใจสิ่งที่เป็นนามธรรม หรือความคิดรวบยอดที่ ซับซ้อน จึงสามารถที่จะสร้างสมมติฐาน และพิสูจน์สมมติฐานได้
  • 46. 1) กระบวนการความคิดของเด็กแตกต่างจากผู้ใหญ่ ผู้สอนควรมี ความเข้าใจกระบวนการคิดของผู้เรียนแต่ละวัย 2) เน้นความสาคัญของผู้เรียน ถือว่าผู้เรียนจะสามารถควบคุม กิจกรรมการเรียนรู้ของตนเองได้(SelfRegulation) และเป็นผู้ที่จะริเริ่มลง มือกระทา ผู้สอนมีหน้าที่จัดสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้โดยการค้นพบ ให้ผู้เรียนได้มีโอกาสมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม 3) ในการสอนควรเริ่มจากประสบการณ์ที่ผู้เรียนคุ้นเคย หรือ ประสบการณ์ใกล้ตัว ไปหาประสบการณ์ไกลตัว การประยุกต์ใช้ในด้านการเรียนการสอน
  • 47. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม นักคิดกลุ่มมนุษยนิยมให้ความสาคัญของความเป็นมนุษย์และมอง มนุษย์ว่ามีคุณค่า มีความดีงาม มีความสามารถ มีความต้องการ และมี แรงจูงใจภายในที่จะพัฒนาศักยภาพของตน หากบุคคลมีอิสรภาพและ เสรีภาพ มนุษย์จะพยายามพัฒนาตนเองไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทฤษฏีและแนวคิดที่สาคัญๆ ในกลุ่มนี้มี 2 ทฤษฏี คือ 1. ทฤษฎีการเรียนรู้ของมาสโลว์ 2. ทฤษฎีการเรียนรู้ของคาร์ล โรเจอร์ส
  • 48. แนวความคิดของมาสโลว์ มนุษย์แต่ละคนทีศักยภาพพอสาหรับที่ จะชี้นาตัวเอง มนุษย์ไม่อยู่นิ่งแต่จะเปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณ์ต่างๆ ที่แวดล้อมและแสวงหาความต้องการที่จะเข้าใจตนเอง ยอมรับตนเองทั้งใน ส่วนดีส่วนบกพร่อง รู้จักจุดอ่อน และความสามารถของตนเอง เขาได้ อธิบายว่า มนุษย์ทุกคนมีความต้องการที่จะสนองความต้องการให้กับ ตนเองทั้งสิ้น และความต้องการของมนุษย์มีมากมายหลายอย่างด้วยกัน ซึ่ง ต้องได้รับความพึงพอใจจากความต้องการพื้นฐานหรือต่าสุดเสียก่อนจึงจะ ผ่านขึ้นไปยังความต้องการขั้นสูงตามลาดับ ทฤษฎีการเรียนรู้ของมาสโลว์ (Maslow)
  • 50. ทฤษฎีการเรียนรู้ของคาร์ล โรเจอร์ส (Carl Rogers) คาร์ล โรเจอร์ส (Carl Rogers) มีความเห็นว่า ธรรมชาติของมนุษย์ เป็นสิ่งที่ดีและมีความสาคัญมาก โดยมีความพยายามที่จะพัฒนาร่างกายให้มี ความเจริญเติบโตอย่างมีศักยภาพ ทฤษฏีของโรเจอร์ เน้นถึงเกียรติของบุคคล ซึ่งบุคคลมี ความสามารถที่จะทาการปรับปรุงชีวิตของตนเองเมื่อมีโอกาสเข้ามิใช่จะ เป็นเพียงแต่เหยื่อในขณะที่มีประสบการณ์ในสมัยที่เป็นเด็ก หรือจากแรงขับ ของจิตใต้สานึก แต่ละบุคคลจะรู้จักการสังเกตสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัวเรา โดยมีแนวทางเฉพาะของบุคคล กล่าวได้ว่า เป็นการับรู้สภาพสิ่งแวดล้อมซึ่ง มีความสาคัญมาก
  • 51. โรเจอร์ส เชื่อว่า มนุษย์ทุกคนมีตัวตน 3 แบบ • ตนที่ตนมองเห็น (Self Concept) ภาพที่ตนเห็นเองว่าตนเป็นอย่างไร มี ความรู้ความสามารถ ลักษณะเพราะตนอย่างไร เช่น สวย รวย เก่ง ต่าต้อย ขี้อายฯลฯ การมองเห็นอาจจะไม่ตรงกับข้อเท็จจริงหรือภาพที่คนอื่นเห็น • ตนตามที่เป็นจริง (Real Self) ตัวตนตามข้อเท็จจริง แต่บ่อยครั้งที่ตนมอง ไม่เห็นข้อเท็จจริง เพราะอาจเป็นสิ่งที่ทา ให้รู้สึกเสียใจ ไม่เท่าเทียมกับ บุคคลอื่น เป็นต้น • ตนตามอุดมคติ (Ideal Self) ตัวตนที่อยากมีอยากเป็น แต่ยังไม่มีไม่เป็นใน สภาวะปัจจุบัน เช่น ชอบเก็บตัว แต่อยากเก่งเข้าสังคม เป็นต้น ทฤษฎีการเรียนรู้ของคาร์ล โรเจอร์ส(Carl Rogers)
  • 52. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ • ปัจจัยทีมีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ ประกอบด้วย 1. เชาวน์ปัญญา 2. การรับรู้ 3. ความถนัด และรูปแบบการเรียนรู้ 4. ความสนใจ และเจตคติ 5. การจา การลืม 6. การถ่ายโยงการเรียนรู้
  • 53. เชาวน์ปัญญา เชาวน์ปัญญา หมายถึง ความสามารถของบุคคลในการเรียนรู้ การ ปรับตัวต่อปัญหาอย่างเหมาะสมและความสามารถในอันที่จะทากิจกรรม ต่างๆได้อย่างมีจุดมุ่งหมายและมีคุณค่าทางสังคม สามารถคิดอย่างมีเหตุผล สามารถปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมและสังคมอย่างมีประสิทธิภาพ
  • 54. • 1. พันธุ์กรรม พันธุ์กรรมที่ได้รับการถ่ายทอดสืบต่อมาจากพ่อแม่ คนเรา จะมีเชาวน์ปัญญาดีหรือไม่ดีขึ้นอยู่กับพันธุ์กรรม80% สิ่งแวดล้อม 20% • 2. ความสมบูรณ์ของสมองและระบบประสาท • 3. สิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมที่ช่วยกระตุ้น และส่งเสริมให้บุคคลได้มี โอกาสเรียนรู้ • 4. อายุ ระดับอายุที่พัฒนาการของเชาวน์ปัญญาถึงขั้นสูงสุดคือระหว่าง อายุ 15-25 ปี องค์ประกอบของเชาวน์ปัญญา
  • 55. • 5. เพศ เพศชายมักมีความสามารถทางด้านการคานวณ ถนัดทางกลไก การกระทาที่ใช้ไหวพริบ และความรวดเร็วดีกว่าหญิง ส่วนเพศหญิงมักมี ความคล่องแคล่วในการใช้มือ งานที่ต้องใช้ฝีมือ ลายละเอียด การใช้ ภาษาความสามารถทางภาษา ความจา • 6. เชื้อชาติ เด็กลูกผสมมักจะมีเชาวน์ปัญญาสูงกว่าเด็กที่ไม่ใช่ลูกผสม • 7. ความผิดปกติทางสมอง ความผิดปกติทางสมองอาจมีผลต่อการเสื่อม ลงของเชาวน์ปัญญา ก่อนเวลาอันสมควร เช่นเนื้องอกในสมอง ลมชัก สมองได้รับการกระทบกระเทือนอย่างรุนแรง องค์ประกอบของเชาวน์ปัญญา
  • 56. การรับรู้ (Perception) • การรับรู้ หมายถึง การแปลความหมายจากการสัมผัส โดยเริ่มตั้งแต่ การ มีสิ่งเร้ามา กระทบกับอวัยวะรับสัมผัสทั้งห้า และส่งกระแสประสาท ไป ยังสมอง เพื่อการแปลความ
  • 57. กระบวนการรับรู้ กระบวนการรับรู้ จะเกิดได้จะต้องมีองค์ประกอบดังต่อไปนี้ • 1. สิ่งเร้า ( Stimulus ) ที่จะทาให้เกิด การรับรู้ เช่น สถานการณ์ เหตุการณ์ สิ่งแวดล้อมรอบกาย ที่เป็น คน สัตว์และ สิ่งของ • 2. ประสาทสัมผัส ( Sense Organs ) ที่ทาให้เกิดความรู้สึก สัมผัส เช่น ตา ดู หูฟัง จมูกได้กลิ่น ลิ้นรู้รส และผิวหนังรู้ร้อนหนาว • 3. ประสบการณ์ หรือความรู้เดิมที่เกี่ยวข้องกับสิ่งเร้าที่เรา สัมผัส • 4. การแปลความหมายของสิ่งที่เราสัมผัส สิ่งที่เคยพบเห็น มาแล้วย่อมจะ อยู่ในความทรงจาของสมอง เมื่อบุคคลได้รับสิ่งเร้า สมองก็จะทาหน้าที่ ทบทวนกับความรู้ที่มีอยู่เดิมว่า สิ่งเร้านั้นคืออะไร
  • 58. ความถนัด และ รูปแบบการเรียนรู้ ความถนัด หมายถึง สมรรถภาพ หรือความสามารถที่มีอยู่ในตัว บุคคล อันเป็นผลมาจากการฝึกฝน และได้รับความรู้จากประสบการณ์ เป็น สมรรถภาพที่ทาให้บุคคลมีแนวโน้มอันเหมาะแก่การทางานชนิดหนึ่งๆ ได้ เป็นอย่างดีมีประสิทธิภาพ ความถนัดจึงเปรียบเสมือนเครื่องพยากรณ์ ความสาเร็จในการกระทาสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
  • 59. ความถนัดแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ (Quinn. 1984 : 111) • 1. ความถนัดทางการเรียน (Scholastic Aptitude) เป็นความสามารถของ บุคคลในการเรียนรู้สิ่งหนึ่งสิ่งใดได้สาเร็จ • 2. ความถนัดจาเพาะ (Specific Aptitude) เป็นความสามารถเฉพาะด้าน ของบุคคลซึ่งจะทาให้แต่ละบุคคลมีความถนัดที่จะทางานด้านหนึ่งๆ ได้ ดีกว่าบุคคลอื่น บุคคลที่มีความถนัดเฉพาะด้านนี้ หากได้รับการฝึกฝน อบรมก็ย่อมประสบความสาเร็จในกิจการด้านนั้นๆ ได้ ประเภทของความถนัด
  • 60. รูปแบบการเรียนรู้ (Learning style) หมายถึง ลักษณะทางกายภาพ ความคิด และความรู้สึก ที่บุคคลใช้ในการรับรู้ ตอบสนอง และมีปฎิสัมพันธ์ กับสภาพแวดล้อมทางการเรียนอย่างค่อนข้างคงที่ (Keefe, 1979 อ้างใน Hong & Suh, 1995) รูปแบการเรียนรู้
  • 61. กราชา และริเอชแมนน์ (Grasha & Riechmann, 1974) ได้เสนอรูปแบบของ การเรียนรู้ในลักษณะของความชอบ และทัศนคติของบุคคล ในการมี ปฏิสัมพันธ์กับผู้สอน และเพื่อนในการเรียนทางวิชาการ เป็น 6 แบบ ดังนี้ 1. แบบมีส่วนร่วม (participant) 2. แบบหลีกหนี (Avoidant) 3. แบบร่วมมือ (Collaborative) 4. แบบแข่งขัน (Competitive) 5. แบบอิสระ(Independent) 6. แบบพึ่งพา (Dependent) รูปแบบการเรียนรู้ตามแนวคิดของ กราชา และริเอชแมนน์
  • 62. ความสนใจ และ เจตคติ • ความสนใจ หมายถึง ความรู้สึกอยากรู้อยากเห็นต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งทั้งที่ เป็นบุคคล สิ่งของ กิจกรรม ซึ่งแสดงออกโดยการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม การติดตามความเปลี่ยนแปลงของสิ่งที่สนใจนั้น • เจตคติ คือ สภาพความรู้สึกทางด้านจิตใจที่เกิดจากประสบการณ์และการ เรียนรู้ของบุคคลอันเป็นผลทาให้เกิดมีท่าทีหรือมีความคิด เห็นรู้สึกต่อ สิ่งใดสิ่งหนึ่งในลักษณะที่ชอบหรือไม่ชอบ เห็นหรือไม่เห็นด้วย เจตคติ มี 2 ประเภทคือ เจตคติทั่วไป เจตคติเฉพาะอย่าง
  • 63. สุโท เจริญสุข ( 2522 : 72 ) ให้แนวการจัดการเรียนตามความสนใจของ ผู้เรียนไว้ดังนี้ • 1. คานึงถึงสัญชาติญาณความอยากรู้อยากเห็นของผู้เรียนโดยนาเอาเรื่องราวหรือสิ่ง แปลกใหม่มาเล่าหรือแสดงให้นักเรียนดู • 2. ทาบทเรียนให้สนุกโดยใช้อุปกรณ์การสอนหรือเทคนิควิธีการสอนหลาย ๆ รูปแบบ • 3. ทาให้บทเรียนกระจ่าง โดยใช้ถ้อยคาที่ง่าย ๆ หรือ เน้นรูปธรรมมากกว่านามธรรม • 4. ให้นักเรียนมีโอกาสแสดงความคิดเห็น หรือกระตุ้นให้ผู้เรียนร่วมกิจกรรมการเรียน อยู่เสมอ ด้วยการใช้คาถาม ใช้กิจกรรม หรืออุปกรณ์ต่าง ๆ เข้ามาช่วยสอน • 5. จัดสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัวให้ผู้เรียนน่าสนใจ เช่น จัดนิทรรศการ การอภิปรายจัด ชุมนุม จัดการแสดงหนังสือ ฯลฯ การจัดการเรียนตามความสนใจของผู้เรียน
  • 64. องค์ประกอบของเจตคติที่สาคัญ 3 ประการ คือ • 1. การรู้ (Cognition) ประกอบด้วยความเชื่อของบุคคลที่มีต่อเป้าหมาย เจตคติ • 2. ความรู้สึก (Feeling) หมายถึง อารมณ์ที่มีต่อเป้าหมาย ส่วนประกอบ ด้านอารมณ์ ความรู้สึกนี้เองที่ทาให้บุคคลเกิดความดื้อดึงยึดมั่น • 3. แนวโน้มพฤติกรรม (Action tendency ) หมายถึง ความพร้อมที่จะมี พฤติกรรมที่สอดคล้องกับเจตคติ องค์ประกอบของเจตคติ
  • 65. สุชา จันเอม และสุรางค์ จันเอม (2520:110-111) กล่าวว่า เจตคติของบุคคล สามารถเปลี่ยนแปลงได้เนื่องมาจาก 1. การชักชวน (Persuasion) ทัศนคติจะเปลี่ยนแปลงหรือปรับปรุงใหม่ได้ หลังจากที่ได้รับคาแนะนา บอกเล่า หรือได้รับความรู้เพิ่มพูนขึ้น 2. การเปลี่ยนแปลงกลุ่ม (Group change) ช่วยเปลี่ยนทัศนคติของบุคคล ได้ 3. การโฆษณาชวนเชื่อ (Propaganda) เป็นการชักชวนให้บุคคลหันมา สนใจหรือรับรู้โดยการสร้างสิ่งแปลกๆใหม่ๆขึ้น การเปลี่ยนแปลงเจตคติ ของเจตคติ
  • 66. การแก้ไขเจตคติหรือวิธีสร้างเจตคติ เจตคติเป็นเรื่องที่แก้ไขได้ อยากถ้าจาเป็นจะต้องช่วยแก้ไขเปลี่ยนเจตคติของคนอาจใช้วิธีเหล่านั้น คือ 1. การค่อย ๆ ชื้นลงให้เข้าใจ 2. หาสิ่งเร้าและสิ่งจูงใจอย่างเข้มข้นมายั่วยุ 3. คบหาสมาคมกับเพื่อนดีดี 4. ให้อ่านหนังสือดีมีประโยชน์ 5. ให้ลองทาจนเห็นชอบแล้วกลับตัวดีเอง การเปลี่ยนแปลงเจตคติ ของเจตคติ
  • 67. การจา และการลืม นักจิตวิทยาได้แบ่งความจา เป็น 3 ระบบ การจัดเก็บข้อมูลใด ๆ ต้องผ่านขั้นตอนทั้ง 3 นี้ ดังแผ่นภาพต่อไปนี้ (1) ความจาจากการรับสัมผัส (sensory memory) (2) ความจาระยะสั้น (shot-term memory - STM) (3) ความจาระยะยาว (long-term memory - LTM)
  • 68. สาเหตุของการลืม การลืมมีสาเหตุหลายประการ คือ 1. การไม่ได้ลงรหัส (Encoding Failure) การลืมอาจเกิดขึ้นเพราะ ไม่ได้มีการจาตั้งแต่แรก 2. เสื่อมสลาย (Decay) 3. การลืมเพราะขึ้นอยู่กับสิ่งชี้แนะ (Cue-Dependent Forgetting) 4. การรบกวน (Interfere) การเรียนรู้ใหม่สามารถรบกวนการเรียนรู้ เก่า ทาให้เกิดการลืมได้เกิดขึ้นทั้งในความจาระยะสั้น และระยะยาว 5. การเก็บกด (Repression) การลืม
  • 69. การถ่ายโยงการเรียนรู้ การถ่ายโยงการเรียนรู้ (Transfer Learning) คือการที่ผู้เรียนสามารถ นาความรู้ที่ได้เรียนไปแล้วมาใช้กับความรู้ที่เรียนใหม่ ซึ่งมี 2 ลักษณะ คือ 1.การถ่ายโยงการเรียนรู้ทางบวก หมายถึง การเรียนรู้เดิมที่เคย เรียนรู้แล้วช่วยทาให้การเรียนรู้สิ่งใหม่เร็วขึ้น เช่น ขี่จักรยานเป็นแล้ว ทาให้ ขี่มอเตอร์ไซด์ได้เร็วขึ้น 2.การถ่ายโยงการเรียนรู้ทางลบ หมายถึง การเรียนรู้เดิมทาให้การ เรียนรู้สิ่งใหม่ช้าลง หรือความรู้เดิมไปขัดกับความรู้ใหม่นั่นเอง เช่น เคยเปิด ประตูด้วยการผลักพอเจอประตูที่ต้องดึง เรามักจะใช้ทักษะเดิมทาให้เปิด ประตูได้ช้าลง
  • 71. น.ส.สราวีย์ รัตนจงเกียรติ น.ส.ณัฏฐวี พงษ์สมบูรณ์ น.ส.อรัญญา ศิริรักษ์ น.ส.ภัสราภรณ์ สิงห์ลอ นายภูณัฐโชค ธงภักดิ์ น.ส.จารุวรรณ ชื่นใจชน คณะผู้จัดทา
  • 72. การค้นคว้าข้อมูล น.ส.สราวีย์ รัตนจงเกียรติ หัวข้อที่ค้นคว้าประกอบด้วย 1.ทฤษฎีการเรียนรู้ ความหมายการเรียนรู้ จุดมุ่งหมายการ เรียนรู้ องค์ประกอบการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ 2. ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้ เชาว์ปัญญา น.ส.ณัฏฐวี พงษ์สมบูรณ์ หัวข้อที่ค้นคว้าประกอบด้วย 1.ทฤษฎีการเรียนรู้พฤติกรรมนิยม และการนาไประยุกต์ใช้ใน การจัดการเรียนการสอน 2. ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้ ความสนใจ เจตติ
  • 73. การค้นคว้าข้อมูล น.ส.อรัญญา ศิริรักษ์ หัวข้อที่ค้นคว้าประกอบด้วย 1.ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม และการประยุกต์ใช้ในการ จัดการเรียนกาสอน 2. ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้ การจาการลืม น.ส. ภัสราภรณ์ สิงห์ลอ หัวข้อที่ค้นคว้าประกอบด้วย 1.ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม และการนาไประยุกต์ใช้ใน การจัดการเรียนการสอน 2. ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้ การรับรู้
  • 74. การค้นคว้าข้อมูล นายภูณัฐโชค ธงภักดิ์ หัวข้อที่ค้นคว้าประกอบด้วย 1. ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้ การถ่ายโยงความรู้ น.ส. จารุวรณ ชื่นใจชน หัวข้อที่ค้นคว้าประกอบด้วย 1. ทฤษฎีพัฒนาการเชาว์ปัญญาของเพียเจท์และการนาไประ ยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน 2. ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้ ความถนัดและรูปแบการเรียนรู้
  • 75. เอกสารอ้างอิง  จิตวิทยาการเรีนรู้ . [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.banjomyut.com/library_2/psychology_of_learning/01.html. (วันที่ค้น ข้อมูล : 26 มีนาคม 2559)  ประดินันท์ อุปรมัย . (2540) . ชุดวิชาพื้นฐานการศึกษา (มนุษย์กับการเรียนรู้) : นนทบุรี, พิมพ์ครั้งที่ 15, หน้า 121.  มัณฑรา ธรรมบุศย์. (2558) . เอกสารประกอบการสอนวิชาจิตวิทยาสาหรับครู หลักสูตร ป.บัณฑิต สาขาวิชาชีพครู, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.  ทิศนา แขมมณี. ศาสตร์การสอน. กรุงเทพฯ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2545) - สุรางค์ โค้วตระกูล.(2544). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  • 76. เอกสารอ้างอิง  การรับรู้. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://blog.devtrainer.net/wp-content/uploads/2012/02/perception.pdf. (วันที่ค้นข้อมูล : 20 มีนาคม 2559).  ความถนัด. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.gotoknow.org/posts/282194. (วันที่ค้นข้อมูล : 20 มีนาคม 2559).  อิทธิพลต่างๆ ที่มีต่อการรับรู้. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6722/9/Chapter2.pdf. (วันที่ค้นข้อมูล : 20 มีนาคม 2559).  รูปแบบการเรียนรู้และรูปแบบการคิด. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.blendedlearning.in.th/pluginfile.php/415/mod_page/content/3/LearningSty le-CognitiveStyle-final.pdf . (วันที่ค้นข้อมูล : 21 มีนาคม 2559).
  • 77. เอกสารอ้างอิง  ประทุม อังกูรโรหิต. (2543) . ปรัชญาปฏิบัตินิยม รากฐานปรัชญาการศึกษาในสังคม ประชาธิปไตย.กรุงเทพ ฯ : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.  การสร้างแนวคิดและเจตคติ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://socialscience.igetweb.com/articles/41920929. (วันที่ค้นข้อมูล : 21 มีนาคม 2559).  การจา การลืม. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.novabizz.com/NovaAce/Intelligence/Memory.htm. (วันที่ค้นข้อมูล : 21 มีนาคม 2559).  การถ่ายโยงการเรียนรู้. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://toey53540381.blogspot.com/2010/09/blog-post_21.html. (วันที่ค้นข้อมูล : 22 มีนาคม 2559).
  • 78. เอกสารอ้างอิง  ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์ . [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://sohedu.blogspot.com/2012/09/blog-post_5312.html. (วันที่ค้นข้อมูล : 27 มีนาคม 2559).  ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของสกินเนอร์. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://eman- yusoh.blogspot.com/2012/09/skinner.html. (วันที่ค้นข้อมูล : 27 มีนาคม 2559).  ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของพาฟลอฟ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://konniana.blogspot.com/2012/08/ivan-petrovich-pavlov.html. (วันที่ค้นข้อมูล : 27 มีนาคม 2559).  ทฤษฎีการเรียนรู้. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.gotoknow.org/posts/341272. (วันที่ค้นข้อมูล : 27 มีนาคม 2559).
  • 79. เอกสารอ้างอิง  ทฤษฎีพัฒนาการเชาว์ปัญญาของเพียเจต์ . [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.baanjomyut.com/library_2/intellectual_development_theory. (วันที่ค้น ข้อมูล : 28 มีนาคม 2559).  ทฤษฎีการเรียนรู้ในพื้นที่รอยต่อพัฒนาการของไวก็อตสกี้ . [ออนไลน์] . เข้าถึงได้จาก : pirun.ku.ac.th/~g521460093./ทฤษฎีการเรียนรู้ของไวก๊อตสกี้.doc. (วันที่ค้นข้อมูล : 28 มีนาคม 2559).  ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบของบรูนเนอร์. [ออนไลน์] . เข้าถึงได้จาก : https://www.gotoknow.org/posts/106985. (วันที่ค้นข้อมูล : 29 มีนาคม 2559).  ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.l3nr.org/posts/427957. (วันที่ค้นข้อมูล : 27 มีนาคม 2559).