SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 11
Baixar para ler offline
โรคมะเร็งปอดเป็ นโรคที่เกิดจากเซลล์ของปอด เช่น เนื้อปอด หลอดลมกลายเป็ นเซลล์มะเร็ งปอด
โรคมะเร็งปอดเป็ นมะเร็ งปอดที่พบบ่อย หากตรวจพบเร็ วสามารถรักษาให้หายขาดได้



                                                             สูบบุหรี่ สูบ cigars และ pipes จานวนปี ที่สูบ อายุที่เริ่ มสูบ จานวนบุหรี่ ที่สูบ
                                                        สูบแต่ละครั้งลึกแค่ไหน ทั้งหมดเป็ นปัจจัยที่จะทาให้มีโอกาสเกิดมะเร็ งปอด
                                                             เคยได้รับรังสี รักษาที่เต้านม หรื อทรวงอก
                                                             อาศัยในที่มีมลพิษทางอากาศ
                                                             ผูที่อยูในสิ่ งแวดล้อมของผูสูบบุหรี่
                                                                  ้ ่                      ้
                                                             สัมผัสสาร Randon เป็ นแก็สที่ไม่มีกลิ่น ซึ่งพบได้ตามดินและหิ น ผูป่วยที
                                                                                                                                   ้
                                                        ทางานเหมืองจะมีโอกาสเสี่ ยง
                                                             ใยหิ น Asbestos ผูที่ทางานเกี่ยวกับเหมืองใยหินมีโอกาสเสี่ ยงต่อมะเร็ งปอด
                                                                                   ้
                                                             สัมผัสกับโครเมียม สารหนู เขม่าควัน สารทาร์
                                                             ควันจากการเผาไหม้น้ ามัน และถ่านหิ น
                                                             โรคปอด โดยเฉพาะวัณโรคมะเร็งปอดจะเกิดบริ เวณที่เป็ นแผลเป็ นวัณโรค
                                                             ผูเ้ คยเป็ นมะเร็งปอดจะมีโอกาสเป็ นมะเร็ งปอดสูงกว่าคนปกติ



        ไอเป็ นมากขึ้นเรื่ อย
        เจ็บแน่นหน้าอก
        ไอเสมหะมีเลือดปน
        หายใจเหนื่อย เสี ยงแหบ
        เป็ นปอดบวมหรื อปอดอักเสบบ่อย
        หน้าและคอบวม
        อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ าหนักลด




    1.                                             พบบ่อย โตช้ามี 3 ชนิด การรักษา มะเร็ งปอดชนิด non-small cell lung cancer แพทย์จะเลือก
         การผ่าตัด และให้รังสี ร่วมกับเคมีบาบัดเพื่อหยุดการเจริ ญเติบโตของเซลล์มะเร็ งปอด โดยมะเร็ งปอดอาจกลับเป็ นซ้ าหลังจากได้รับการ
รักษาแล้ว ที่สมอง ปอด หรื อส่วนอื่น ๆ ของร่ างกายก็ได้ ซึ่งมะเร็ งปอดชนิด Non-Small Cell lung cancer มีหลายชนิดแต่ละชนิดของ
         มะเร็ งปอดชนิด non-small cell ต่างกันที่ชนิดของเซลล์มะเร็ งปอดที่เห็นจากกล้องจุลทรรศน์ ซึ่งแต่ละชนิดจะเติบโตและมีการกระจาย
         แตกต่างกัน

            Squamous cell carcinoma เซลล์มะเร็ งปอดเริ่ มจากเซลล์ squamous ซึ่งมีลกษณะบาง แบนคล้ายเกล็ดปลา อาจเรี ยกว่า epidermoid
                                                                                          ั
            Large cell carcinoma เซลล์มะเร็ งปอดเริ่ มจาก large cell หลากหลายชนิด
            Adenocarcinoma เซลล์มะเร็ งปอดเริ่ มจากเซลล์ในถุงลม และสร้างสารต่าง ๆ เช่น มูก เป็ นต้น
มะเร็ งปอดชนิดอื่น ๆ ที่พบได้ไม่บ่อย ได้แก่ pleomorphic, carcinoid tumor, salivary gland carcinoma และ unclassified carcinoma
    2.                                   หรื อที่เรี ยก                      พบน้อยแต่แพร่ กระจายเร็ ว แพทย์จะเลือกให้เคมีรักษาร่ วมกับ
                                           ่
         การผ่าตัด และอาจให้รังสี รักษาแม้วาจะตรวจไม่พบว่ามีการแพร่ กระจาย




ทรานสเฟอร์ แฟคเตอร์ มะเร็ งปอดเมื่อแพทย์สงสัยแพทย์จะซักประวัติครอบครัว ปัจจัยเสี่ ยงต่างๆและส่ง x-ray ปอด ส่งเสมหะตรวจหาเซลล์มะเร็ ง
ปอด
การวินิจฉัยที่แม่นยาที่สุดคือการได้ชิ้นเนื้อไปตรวจทางพยาธิโดยพยาธิแพทย์วธีการได้ชิ้นเนื้อมีหลายวิธีดงนี้
                                                                        ิ                           ั
     Brochoscopy คือการส่องกล้องเข้าทางปาก ลงหลอดลม และเข้าปอดเพื่อตัดชิ้นเนื้อ
     Needle aspiration คือใช้เข็มเจาะผ่านผนังทรวงอกเข้าปอด และเข้าเนื้อร้ายแล้วดูดเอาชิ้นเนื้อส่งตรวจ
     Thoracenthesis คือใช้เข็มเจาะน้ าในช่องเยือหุมปอดส่งตรวจหาเซลล์มะเร็ งปอด
                                                  ่ ้
     Thoracotomy คือผ่าเข้าในทรวงอกและตัดเนื้อร้ายออก

ทรานสเฟอร์ แฟคเตอร์ มะเร็ งปอดหลังจากทราบว่าเป็ นมะเร็งปอดแพทย์จะทาการตรวจเพิมเพื่อจะทราบว่ามะเร็ งปอดแพร่ กระจายหรื อยังโดยการ
                                                                                    ่
ตรวจดังนี้
     CAT [Computed tomography] เป็ นการ x-ray computer เพื่อดูวามะเร็ งปอดแพร่ กระจายหรื อยัง
                                                                  ่
     MRI [magnetic resonance imaging] ใช้คลื่นแม่เหล็กตรวจ
     Scan โดยใช้สารอาบรังสี ฉีดเข้ากระแสเลือดและวัดรังสี ที่อวัยวะนั้น เช่น ตับ กระดูก
     Mediastinoscopy เป็ นการส่องเข้าในช่องอกเพื่อดูวามะเร็ งปอดแพร่ กระจายไปต่อมน้ าเหลืองหรื อยัง
                                                      ่




    1. การรักษามะเร็ งปอดด้วยการผ่าตัด
    2. การรักษามะเร็ งปอดด้วยการฉายแสง
3. การรักษามะเร็ งปอดด้วยการใช้ยาเคมีบาบัด




แพทย์ หรื อผูช่วยแพทย์ที่เชี่ยวชาญในการรักษา จะอธิบายให้ทราบถึงอาการ หรื อความผิดปกติที่จะได้รับหรื อเกิดขึ้นระหว่าง การรักษา เพื่อให้
              ้
ผูป่วยได้เข้าใจ เตรี ยมร่ างกายเตรี ยมจิตใจให้พร้อม ก่อนที่ จะได้รับ หรื อเกิดขึ้นระหว่างการรักษา เพื่อที่ผป่วยจะได้ไม่หยุด หรื อหนี การรักษา
  ้                                                                                                        ู้
ระหว่างที่ทาการรักษาอยู่

                                                                                                                    ็
การรักษาแบบตามอาการหรื อการรักษาแบบประคับประคอง เป็ นการรักษา ตามอาการคือถ้าปวดก็ให้ยาระงับปวด รับประทานอาหารไม่ได้กให้
น้ าเกลือ หรื อหายใจไม่เพียงพอก็ให้ออกซิเจน ตามแต่อาการผูป่วย ทั้งนี้ก็เพื่อ ไม่ให้ ผูป่วยได้รับความทรมาน
                                                         ้                            ้




การผ่าตัดรักษามะเร็งปอด จะเป็ นการผ่าตัดเอาเนื้อปอดออกดูน่ากลัว แต่จริ ง ๆ แล้วไม่ได้ยงยาก จนเกินไป สามารถทาได้ดวยความปลอดภัย ถ้า
                                                                                      ุ่                        ้
ศัลยแพทย์น้ นมีความชานาญ เนื้อปอดมีถึง 2 ข้าง และแต่ละข้างยังมีหลายส่วน ถ้าบางส่วนถูกตัดออกไปหรื อ แม้แต่ตดออกไปทั้งข้าง อาจต้องตัด
            ั                                                                                             ั
                                                                                   ่
ปอดออกบางกลีบ lobectomy หรื อตัดทั้งปอด pneumectomy ผูป่วยก็สามารถดารงชีพอยูได้อย่างปกติหลังจาก ที่แผลผ่าตัดหายดีแล้ว และไม่ถือว่า
                                                           ้
เป็ นความพิการแต่อย่างใด




                                                               1) การตัดเป็ นรู ปลิ่ม (wedge resection) คือ การผ่าตัดเพื่อนาเอาก้อนมะเร็ งปอด
                                                           และเนื้อเยือปกติรอบ ๆ ออก
                                                                      ่
                                                               2) การตัดกลีบปอด (Lobectomy) คือ การตัดกลีบปอดออกทั้งกลีบ
                                                               3) การตัดปอดทั้งข้าง (Pneumonectomy)
                                                               4) Sleeve resection คือ การตัดส่วนของหลอดลมออก




     การวินิจฉัยมะเร็งปอด

              ้      ่      ่                                 ้ ่
ในกรณี ที่มีกอนไม่วาจะอยูที่ใดก่อนที่จะเริ่ มให้การรักษาแพทย์ตองรู ้วาก้อนนั้นเป็ นอะไร การผ่าเอาชิ้นเนื้อส่งตรวจจะทาให้แพทย์ทราบการวินิจฉัย
ว่าเป็ นมะเร็งปอดจริ งหรื อเปล่า และเป็ นมะเร็ งปอดชนิดไหน

     การรักษามะเร็งปอด
การผ่าตัดรักษามะเร็งปอด เพื่อผลทางการรักษาแพทย์จะผ่าเอามะเร็ งปอดหรื อสงสัยว่าจะเป็ นมะเร็ งปอดออกให้มากที่สุด รวมทั้งต่อมน้ าเหลือง
หรื อเนื้อเยือใกล้เคียง
             ่

     การผ่าเพือบอกระยะของโรคมะเร็งปอด
               ่

มะเร็ งปอดบางชนิดเราจะต้องรู ้ระยะของโรคเพื่อวางแผนการรักษามะเร็ งปอด การผ่าตัดมะเร็งปอดนี้ส่วนใหญ่จะกระทาพร้อมกับการผ่าตัดเพื่อ
                                                      รักษามะเร็ งปอด

                                                             การผ่าตัดเพือซ่ อมแซม
                                                                          ่

                                                        หลังจากที่เราตัดมะเร็ งปอดออกไปแล้วอาจจะทาให้อวัยวะบางอย่างถูกตัดไปด้วย หรื อ
                                                        อาจจะผ่าตัดตกแต่ง เช่น มะเร็ งปอดเต้านม

                                                                                                      ่
                                                        ดังนั้นหากท่านเป็ นมะเร็ งปอดและแพทย์แนะนาให้ผาตัด ท่านปรึ กษาว่าเป้ าหมายของ
                                                        การผ่าตัดคืออะไร

การผ่าตัดจะรักษามะเร็งปอดให้ หายขาดหรือไม่?

การผ่าตัดรักษามะเร็งปอดโดยเฉพาะมะเร็ งปอดในระยะเริ่ มต้นจะหายขาด แต่ในบางกรณี ที่มะเร็ งปอดมีขนาดใหญ่ หรื อมีบางเร็ งบางชนิดมีการ
แพร่ กระจาย มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า ดังนั้นอาจจะจาเป็ นต้องให้เคมีหรื อฉายแสงฆ่าเซลล์มะเร็ งปอดส่วนที่ตดออกไม่หมด
                                                                                                     ั




แพทย์จะผ่าตัดเอาเนื้องอกออกให้หมด บางครั้งอาจจะต้องผ่าเอาเนื้อดีรอบเนื้องอกออกไปด้วย เพื่อให้แน่ใจว่าได้ตดเนื้องอกออกหมดจึงต้องส่งชิ้น
                                                                                                         ั
เนื้อรอบๆ เนื้องอกเพื่อส่องกล้องว่ามีเซลล์มะเร็ งปอดหลงเหลือหรื อไม่

                                          ั              ่
นอกจากนั้นแพทย์จะผ่าเอาต่อมน้ าเหลืองใกล้กบที่เนื้องอกอยูออกไปด้วย และเพื่อให้แน่ใจว่าจะกาจัดเนื้องอกได้หมดแพทย์จะทาการฉายแสง หรื อ
ให้เคมีบาบัด หรื อให้ฮอร์โมน




รังสี พลังงานสูงมีคุณสมบัติทาลายเซลล์มะเร็ งปอดได้ดี มีผลต่อเซลล์ธรรมดาบ้าง นอกจากฉายแสงรักษามะเร็ งปอดแล้วยังสามารถใช้รักษาโรคอื่น
ๆ ที่ไม่ใช่มะเร็งปอดได้อีกด้วย อาจให้ ก่อนผ่าตัดเพื่อลดขนาดของมะเร็ งปอด แพทย์อาจให้ เคมีบาบัดร่วมกับรังสีรักษา เพราะ รังสี มีผลทาให้
ข้อมูลทางพันธุกรรมของเซลล์ หรื อ สิ่ งแวดล้อมทั้งภายในและ ภายนอกเซลล์เสี ยสมดุล เซลล์น้ นไมสามารถแบ่งตัวต่อไปได้และถูกทาลายในที่สุด
                                                                                        ั
รังสี รักษาสามารถใช้ในการรักษามะเร็ งปอดหลายชนิดในตาแหน่งต่างๆ ของร่ างกาย
สาหรับผูป่วยที่ตองทาการรักษามะเร็ งปอดจะใช้เวลาในการฉายรังสี ประมาณ 1 - 2 เดือน หรื อ ประมาณ 20 - 30 แสง ระหว่างการรักษาผูป่วยจะมี
          ้       ้                                                                                                                       ้
อาการไอบ้าง เพราะแสงจากรังสี ที่ฉายไปยังปอด ทาให้ปอดได้รับความระคายเคืองจึงทาให้ไอได้ แต่เรื่ องนี้ ไม่ตองกังวลเพราะแพทย์จะให้ยาระงับ
                                                                                                                    ้
อาการไอ เพียงให้บอกแพทย์ผรักษา ทราบ การรักษาด้วยรังสี น้ ีจะทาให้ร่างกายอ่อนเพลีย คอแห้ง เบื่ออาหาร โลหิ ตจาง เพราะรังสีที่ฉายไปทาลาย
                                   ู้
ไขกระดูกทาให้การสร้างเม็ดเลือดน้อยลง การพยายามรับประทานอาหารจะช่วยให้ร่างกายมีกาลังที่จะต่อสูกบโรค ขน หรื อผมบริ เวณที่ถูกแสงจะ
                                                                                                              ้ ั
ร่ วง แต่ถาไม่ได้ฉายรังสี ที่บริ เวณศีรษะ ก็จะไม่ทาให้ ศีรษะล้าน ซึ่งผูป่วยส่วนมากจะกังวลเรื่ องนี้ ผิวบริ เวณที่ถูกรังสี จะมีอาการปวดแสบ ปวดร้อน
            ้                                                          ้
เสมือนถูกแดดเผา หรื อตากแดดนาน ๆ อาการนี้พอหยุด ฉายรังสี ไม่นานก็จะเป็ นปกติ



    1) การฉายแสงจากภายนอก โดยใช้เครื่ องส่งรังสี จากภายนอกร่ างกาย
                                                      ั
    2) การฉายแสงภายใน โดยใช้สารรังสี วางใกล้กบตัวก้อนมะเร็ งปอด
การผ่าตัดโดยใช้รังสี เป็ นวิธีใช้รังสี โดยตรงต่อก้อนมะเร็ งปอดโดยมีผลเล็กน้อยต่อเนื้อเยือปกติ อาจใช้ในกรณี ที่ไม่สามารถผ่าตัดได้
                                                                                        ่



การฉายรังสี รักษามะเร็งปอด แบ่ งเป็ น 2 รู ปแบบ คือ
      การฉายรังสี ระยะไกล หรื อ การฉายแสงรักษามะเร็ งปอด
      การฉายรังสี ระยะใกล้ หรื อ การใส่แร่ รักษามะเร็ งปอด


         ผู้ป่วยมะเร็งปอดส่ วนใหญ่จะได้ รับการฉายรังสี ระยะไกล

การรักษามะเร็ งปอดส่วนใหญ่จะใช้การฉายรังสี ระยะไกล หรื อการฉายรังสี ภายนอก หรื อเรี ยกสั้นๆ ว่า “ฉายแสง” เป็ นหลัก เครื่ องมือที่ใช้รักษา
ได้แก่ เครื่ องโคบอลต์-60, เครื่ องเร่ งอนุภาคอิเล็กตรอน หรื อไลแนค (Linear Accelerator: LINAC) เป็ นต้น ผูป่วยมะเร็ งปอดแต่ละรายจะมี
                                                                                                           ้
                             ่ ั
ผลข้างเคียงแตกต่างกัน ขึ้นอยูกบบริ เวณที่ฉายรังสี , ปริ มาณรังสี ที่ได้รับ และเมื่อฉายรังสี ครบ อาการแทรกซ้อนจากการรักษามะเร็ งปอดด้วยรังสี
ต่างๆ เหล่านี้ จะค่อยๆ ลดน้อยลง หรื อกลับสู่สภาวะปกติได้

         การฉายรังสี ระยะใกล้ หรือ การใส่ แร่
เป็ นการรักษามะเร็ งปอดโดยใส่แร่ ปริ มาณสูงแบบชัวคราวหรื อถาวรเข้าไปที่เนื้อเยือ หรื อโพรงอวัยวะต่างๆ ของร่ างกาย แร่ ที่ใช้ในการรักษามะเร็ ง
                                                        ่                           ่
ปอด ได้แก่ แร่ อิริเดียม-192, แร่ ซีเซียม-137,เรเดียม, ไอโอดีน, อีร์เดียม, โคบอลล์, คาลิฟอร์เนียม เป็ นต้น เมื่อผูป่วยได้รับการฉายแสงหรื อใส่แร่ เสร็ จ
                                                                                                                  ้
แล้ว ผูป่วยสามารถกลับบ้านได้ ไม่จาเป็ นต้องนอนค้างที่โรงพยาบาล สามารถไปทางานและอยูร่วมกับผูอ่ืนได้เหมือนคนทัวไป รวมทั้งอยูใกล้ชิด
         ้                                                                                         ่         ้                 ่             ่
กับเด็ก, คนท้อง และญาติได้ เนื่ องจากการฉายแสงและการใส่แร่ เป็ นการรักษามะเร็ งปอดเฉพาะบริ เวณที่เป็ นโรค เมื่อรักษามะเร็งปอดเสร็ จ แสง
                                              ่
หรื อแร่ ที่ใช้รักษามะเร็ งปอดจะไม่ตกค้างอยูในตัวผูป่วย
                                                      ้

การใช้รังสี 2 ส่วนนี้ สามารถใช้เดี่ยว ๆ หรื อใช้ร่วมกันก็ได้ข้ ึนอยูกบดุลยพินิจของแพทย์ผเู ้ ชี่ยวชาญ ด้านรังสี รักษามะเร็ งปอด
                                                                    ่ั
 ใช้รังสี เพียงอย่างเดียว โดยมากเป็ นการรักษาเพื่อให้หายขาดสาหรับมะเร็งปอดระยะแรก ๆ เช่น มะเร็ งปอดบริ เวณศีรษะและคอ มะเร็ ง
      ปอดปากมดลูก เป็ นต้น
     ใช้รังสี ร่วมกับการผ่าตัดโดยอาจใช้ก่อนหรื อภายหลังผ่าตัด และปั จจุบนมีการใช้รังสี ในระหว่างการทาผ่าตัดได้ดวย ทาให้ผลการรักษา
                                                                             ั                                        ้
      มะเร็ งปอดของอวัยวะภายในได้ผลดีข้ ึน
     ใช้รังสี ร่วมกับเคมีบาบัด อาจให้รังสี ก่อนหรื อหลังหรื อให้พร้อม ๆ กับการใช้ยาเคมีบาบัดก็ได้ ขึ้นอยูกบดุลยพินิจของคณะแพทย์ที่รักษา
                                                                                                          ่ั
                                                   ใช้รังสี ร่วมกับการผ่าตัด เคมีบาบัดรวมถึงชีวบาบัดผสมผสานกัน




                                                    1. เพื่อผลการรักษามะเร็ งปอดให้หายขาด โดยมากเป็ นผูป่วยในระยะหนึ่งถึงสอง
                                                                                                       ้
                                                    2. เพื่อบรรเทาอาการ ในกลุ่มนี้ไม่สามารถรักษามะเร็ งปอดให้หายขาดได้โดยรังสี แต่เป็ น
                                                การบรรเทา อาการปวด อาการแน่นหน้าอก, หายใจลาบาก, อาการเลือดออกมาก เป็ นต้น

                                                 รังสี รักษามะเร็ งปอดเป็ นการรักษามะเร็ งปอดที่ไม่มีความเจ็บปวด ไม่เสี ยเลือด และการรักษามะเร็ ง
                                                 ปอดด้วยรังสี ส่วนใหญ่เป็ นการรักษาแบบผูป่วยนอก ไม่ตองนอนพักรักษาตัวที่โรงพยาบาล เผล
                                                                                            ้               ้
ทางด้านรังสี ยงไม่เกิดขึ้นทันที แต่เมื่อผูป่วยมะเร็ งปอดได้รับการฉายรังสี เป็ นระยะเวลาหนึ่ง จึงจะเริ่ มมีผลข้างเคียงหรื อผลแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นจาก
              ั                           ้
การฉายรังสี เช่น คลื่นไส้, อาเจียน, ผมร่ วง, ผิวหนังมีสีคล้ าขึ้น เป็ นต้น




เคมีบาบัด คือ การรักษามะเร็ งปอดด้วยยาเพื่อควบคุมหรื อทาลายเซลล์มะเร็ งปอด การออกฤทธิ์ยบยั้งการเจริ ญเติบโตและแบ่งตัวของเซลล์มะเร็ง
                                                                                          ั
ปอด และทาลายเซลล์มะเร็ งปอด การรักษามะเร็ งปอดด้วยเคมีบาบัดอาจมีผลข้างเคียง เช่น คลื่นไส้ อาเจียน ปากอักเสบ ผมร่ วง มากหรื อน้อยขึ้นอยู่
กับชนิดของยา สภาวะความแข็งแรงของร่ างกาย ความพร้อมทางด้านจิตใจของผูป่วยมะเร็งปอดด้วย
                                                                        ้




           ่                                   ่ ั
แพทย์จะสังใช้ยารักษามะเร็ งปอดชนิดใดขึ้นอยูกบชนิดและตาแหน่งของมะเร็ งปอด และสุขภาพของผูป่วยมะเร็ งปอด ปั จจุบนการใช้ยารักษา
                                                                                                      ้                      ั
โรคมะเร็งปอดร่ วมกันหลายชนิดจะให้ผลที่มีประสิ ทธิภาพมากกว่าการใช้ยาชนิดเดียว ยารักษามะเร็ งปอดมีท้ ง ชนิดน้ า ชนิดเม็ด ชนิดฉี ด ยารักษา
                                                                                                          ั
มะเร็ งปอดไม่ทาให้เกิดความเจ็บปวดมากไปกว่ายาที่ใช้รักษาโรคอื่นๆ การรักษาด้ วยวิธีนี ้ จะสิ ้นเปลืองค่าใช้ จายมาก เพราะยาเคมีเป็ นยาที่นาเข้ า
                                                                                                            ่
จากต่างประเทศ แต่ละชนิดมีราคาแพง การรักษา จะต้ องให้ ยาอยูหลาย ๆ ครัง หรื อ 3 ครังเป็ นอย่างน้ อย ส่วนมากจะให้ 6 ครัง โดยจะให้ เป็ นช่วง
                                                                  ่           ้          ้                                ้
ๆ เช่น 3 - 4 สัปดาห์ ให้ หนึงครังๆ ละ 4 - 5 วัน อาการ ข้ างเคียงก็มีมาก เช่น การอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร คลืนไส้ อาเจียน และผมร่วง อาการคลืนไส้
                            ่ ้                                                                         ่                               ่
อาเจียน สมัยก่อน ผู้ป่วยจะกลัวมาก ขนาดเห็นแพทย์และ ยังไม่ทน จะได้ รับยาก็มีอาการแล้ ว แต่ในปั จจุบนนี ้มียาระงับอาการคลืนไส้ อาเจียน ทีมี
                                                                 ั                                     ั                    ่             ่
ประสิทธิภาพสูง แพทย์จะให้ ก่อนที่จะได้ รับยาเคมีบาบัด ดังนันเรื่ อง การอาเจียนจึงไม่ต้องเป็ นห่วง สาหรับผมร่วง เมื่อหยุดการรักษาเพียง 1 - 2
                                                           ้
เดือน ผมก็จะขึ ้นและมักจะสวยกว่าเดิมอีก จึงไม่นาเป็ นห่วง แต่ในระหว่าง ที่ให้ การรักษาอยูสามารถแก้ ไขได้ โดยการใส่ผมปลอม
                                               ่                                         ่
    ยารักษามะเร็งปอดชนิดรับประทาน
เคมีบาบัดรักษามะเร็ งปอดชนิดรับประทานเป็ นวิธีให้ยาผูป่วยมะเร็ งปอดที่สะดวกที่สุด ยารักษามะเร็ งปอดจะถูกดูดซึม เข้าสู่กระแสเลือดทางเยือบุ
                                                     ้                                                                                ่
ผนังกระเพาะอาหาร และเยือบุผนังลาไส้เล็ก แต่ยารักษามะเร็ งปอดบางชนิดไม่สามารถทานได้โดยตรง เพราะอาจทาลายเยือบุผนังกระเพาะอาหาร
                          ่                                                                                        ่
จึงต้องให้ยารักษามะเร็ งปอดโดยวิธีฉีดเท่านั้น
    ยารักษามะเร็งปอดชนิดฉีดเข้ ากล้ามเนือ
                                         ้
ยารักษามะเร็ งปอดบางชนิด มีประสิ ทธิภาพดีที่สุดเมื่อถูกปล่อยอย่างช้าเข้าสู่กระแสเลือด แต่ยารักษามะเร็ งปอดจะนิยมฉีดเข้ากล้ามเนื้อมากกว่าฉี ด
เข้าหลอดเลือกโดยตรง
    ยารักษามะเร็งปอดชนิดฉีดเข้ าหลอดเลือดดาหรือผสมกับของเหลวอืนทีให้ ทางหลอดเลือดดา
                                                               ่ ่
ยารักษามะเร็ งปอดที่ก่อให้เกิดการระคายเคืองหรื อทาลายเนื้อเยือ จะถูกฉี ดเข้าหลอดเลือดดาและกระแสเลือดโดยตรง ดังนั้นกระแสเลือดจะทาให้ยา
                                                             ่
รักษามะเร็ งปอดเจือจางอย่างรวดเร็ วและเริ่ มทางานได้ทนที
                                                     ั




                                           ่ั
         ระยะเวลารักษามะเร็งปอดขึ้นอยูกบ ชนิดและระยะของมะเร็ งปอดที่ผป่วยเป็ น รวมทั้งผลการตอบสนองต่อยารักษามะเร็ งปอดของผูป่วย
                                                                          ู้                                                          ้
แต่ละราย โดยแพทย์ผเู ้ ชี่ยวชาญจะเป็ นผูวเิ คราะห์แนะนาและกาหนดเวลาตลอดจนเลือกยารักษามะเร็ งปอดที่ได้ผลดีที่สุดต่อผูป่วย ความถี่ของการ
                                        ้                                                                             ้
                               ่ั
ให้ยาเคมีบาบัดแตกต่างกันขึ้นอยูกบสูตรยารักษามะเร็ งปอดที่ใช้ และสภาพร่ างกายของผูป่วย เช่น ทุกวัน ทุกสัปดาห์ หรื อทุกเดือน บางครั้งอาจต้อง
                                                                                 ้
หยุดยารักษามะเร็ งปอดชัวคราว เพื่อให้ร่างกายมีเวลาพัก และซ่อมแซมเซลล์ปกติให้แข็งแรงพอที่จะให้ยารักษามะเร็ งปอดครั้งต่อไปได้
                        ่

        ผูป่วยมะเร็งปอดบางรายอาจท้อแท้ เนื่องจากระยะเวลารักษามะเร็งปอดยาวนาน หากกังวลใจ ควรปรึ กษาแพทย์ แพทย์อาจปรับปรุ ง
          ้
แผนการรักษามะเร็งปอดให้เหมาะสมขึ้น ควรติดตามผลการรักษามะเร็ งปอดเป็ นระยะ มาตรวจตรงตามแพทย์นด ทานยารักษามะเร็ งปอดตรงตาม
                                                                                                     ั
แผนการรักษารักษามะเร็ งปอด การได้ยาไม่ครบหรื อระยะเวลาไม่ตรงกาหนด ก่อให้เกิดผลเสี ยต่อการรักษามะเร็ งปอด ถ้ามีเหตุจาเป็ นที่จะต้องเลื่อน
ระยะเวลาการให้ยารักษามะเร็งปอดควรปรึ กษาแพทย์ก่อนทุกครั้ง




เมื่อได้รับยาเคมีบาบัดรักษามะเร็งปอด ผูป่วยบางรายอาจมีผลข้างเคียงเกิดขึ้นได้ การบาบัดรักษามะเร็ งปอดตั้งแต่เริ่ มต้นจะได้ผลดีกว่าการรักษา
                                         ้
มะเร็ งปอดเมื่อเป็ นมากแล้ว ผลข้างเคียงการรักษามะเร็ งปอดบางประการถ้าไม่รักษาทันท่วงที อาจนาไปสู่ผลแทรกซ้อนที่รุนแรงได้ นาไปสู่อาการ
ช็อคจากการติดเชื้อในกระแสเลือดได้ อาการข้างเคียงสาคัญที่ควรปรึ กษาแพทย์ พอสรุ ปได้ดงนี้
                                                                                    ั
                ไอ มีเสมหะ
                มีการติดเชื้อ
                บวมผิดปกติ
                ผื่นขึ้นตามลาตัว
                ปวดท้องรุ นแรง
                ปั สสาวะเป็ นเลือด
                มีแผลในปากและคอ
   เหนื่อยหอบ แน่นหน้าอก
   คลื่นไส้อาเจียนอย่างรุ นแรง
   ท้องผูกหรื อท้องเดินอย่างรุ นแรง
   น้ าหนักลด หรื อเพิ่มอย่างรวดเร็ ว
   ซึมลง ชัก หรื อมีอาการเกร็ งผิดปกติ
   บริ เวณให้ยา ปวดแสบ ปวดร้อน บวมแดง
   ไข้สูงเกิน 38 องศาเซลเซียส (101 องศาฟาเรนไฮต์)
   เลือดออกง่าย หรื อไม่หยุด หรื อมีจุดเลือดออกตามผิวหนัง
การรักษามะเร็ งปอดระยะแอบแฝง (Hidden stage) สามารถรักษาให้หายได้โดยการผ่าตัด




     การผ่าตัดแบบลิ่ม (Wedge resection)

     การใช้ลาแสง (Photodynamic therapy) โดยใช้กล้องส่อง




     การผ่าตัดแบบลิ่ม หรื อตัดกลีบปอด

     การฉายแสงจากภายนอก สาหรับผูป่วยที่ไม่เหมาะที่จะผ่าตัด
                                 ้

     การผ่าตัดตามด้วยยาเคมีบาบัด




     การผ่าตัดแบบลิ่ม หรื อตัดกลีบปอด หรื อตัดปอดทั้งข้าง

     การฉายแสงจากภายนอก

     การผ่าตัดตามด้วยยาเคมีบาบัด ร่ วมกับการรักษาอื่น ๆ




     การผ่าตัดอย่างเดียว หรื อร่ วมกับการฉายแสง

     การฉายแสงจากภายนอกร่ วมกับให้ยาเคมีบาบัด

     การผ่าตัดตามด้วยยาเคมีบาบัด ร่ วมกับการรักษาอื่น ๆ
 การฉายแสงจากภายนอก

     การใช้ยาเคมีบาบัดร่ วมกับการฉายแสง

     การใช้ยาเคมีบาบัดร่ วมกับการฉายแสง ตามด้วยการผ่าตัด

     การใช้ยาเคมีบาบัดอย่างเดียว




     การติดตามอย่างใกล้ชิด

     การรักษาประคับประคอง โดยฉายแสงจากภายนอกเพื่อลดอาการปวด หรื อเพิ่มคุณภาพชีวต
                                                                                ิ

     การใช้ยาเคมีบาบัด

     การใช้เลเซอร์ หรื อร่ วมกับการฉายแสงจากในร่ างกาย




    1. การใช้ยาเคมีบาบัด

    2. การฉายแสงประคับประคองอาการ เพื่อลดอาการปวดและเพิ่มคุณภาพชีวต
                                                                  ิ

    3. การผ่าตัดในกรณี ที่มีมะเร็ งปอดแพร่ กระจายไปสมองในปริ มาณเล็กน้อย

    4. การใช้เลเซอร์ สารรังสี ในร่ างกาย การผ่าตัดโดยใช้รังสี



      ่
การอยูรอดเกิน 5 ปี ของโรคมะเร็งปอดในระยะต่าง ๆ ค่อนข้างต่า ยกเว้นระยะที่หนึ่ง และในระยะเดียวกันนี้โรคมะเร็ งปอดชนิด Non-small cell จะ
          ่
มีอาการอยูรอดที่ดีกว่า สาหรับการรักษานั้น การรักษาด้วยเคมีบาบัด จะได้ผลดีกว่าการรักษาด้วยรังสี

แต่เนื่องจากการรักษามะเร็ งปอดด้วยวิธีการหลักทั้ง 3 วิธีการ ยังไม่สามารถรักษามะเร็ งปอดให้หายขาดได้ทุกราย บางรายที่ดูเหมือนอาการดีข้ ึน แต่
ผ่านไปไม่กี่ปีโรคมะเร็งปอดก็กลับมาเป็ นอีก คราวนี้ส่วนใหญ่จะแพร่ กระจายไปทัวร่ างกายแม้การใช้ยาเคมีบาบัดรุ่ นใหม่มาทาการรักษา แต่ดู
                                                                                    ่
เหมือนผลการรักษาก็ยงไว้ใจไม่ได้ โดยที่การรักษามะเร็งปอดเหล่านี้มาพร้อมกับการทาลายภูมิคุมกันของผูป่วยมะเร็งปอด และไม่เพียงแต่จดการ
                      ั                                                                     ้        ้                                ั
กับเซลล์มะเร็ งปอดเท่านั้น แต่ยงทาลายเซลล์ปกติดวย นอกจากนี้ยงทาให้เกิดพิษต่ออวัยวะในร่ างกายอย่างสูง ส่งผลกระทบต่อสุขภาพมากยิงขึ้น
                               ั                 ้              ั                                                               ่
ศูนย์การรักษามะเร็งปอด หลักการแพทย์ทางเลือก Wholly Medical Center




  1. โปรแกรมการรักษามะเร็งปอด NATURAL KILLER CELL AND TARGET CELL THERAPY (เซลล์เพชฌมาต)
  2. โปรแกรมการรักษามะเร็งปอด TUMOR FIGHTER (เสริ มภูมิตานเซลล์มะเร็งปอด)
                                                        ้
  3. โปรแกรมการรักษามะเร็งปอด NEW REGENERIST TUMOR FIGHTER
  4. โปรแกรมการรักษามะเร็งปอด MEGA C PLUS
  4. การตรวจโรคมะเร็ งปอดด้วยการถอดรหัสพันธุกรรม GENE DIAGNOSTICS


      สอบถามเพิมเติมเกียวกับรายละเอียดการรักษามะเร็งปอดโดยตรงที่ Wholly Medical Center
               ่       ่
                                         ั้
                                ตึก 253 ชน 21 อโศก ซอยสุขมวิท 21
                                                           ุ
                      ตรงข ้าม มศว. ประสานมิตร ติดรถไฟฟ้ าใต ้ดินสถานีเพชรบุร ี

                      โทร.02-664-3027 9.00 - 19.00 น. ทุกวันไม่เว ้นวันหยุดราชการ
                           Email:crm@whollymedical.com ตลอด 24 ชวโมง    ั่


                           ข้ อมูลอ้ างอิง whollymedical.com , stopcancer.igetweb.com ,
         chulacancer.netbloggang.com/mainblog.php?id=rb515&month=08-11-2007&group=158&gblog=1

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

โรคหลอดลมอักเส
โรคหลอดลมอักเสโรคหลอดลมอักเส
โรคหลอดลมอักเสWan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
โรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบโรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบWan Ngamwongwan
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบWan Ngamwongwan
 
โรคไข้หวัด
โรคไข้หวัดโรคไข้หวัด
โรคไข้หวัดWan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1Wan Ngamwongwan
 
โรคหูชั้นกลางอักเสบเฉียบพลัน poster 7/125
โรคหูชั้นกลางอักเสบเฉียบพลัน poster 7/125โรคหูชั้นกลางอักเสบเฉียบพลัน poster 7/125
โรคหูชั้นกลางอักเสบเฉียบพลัน poster 7/125Orn Tongying
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)Wan Ngamwongwan
 

Mais procurados (11)

โรคหลอดลมอักเส
โรคหลอดลมอักเสโรคหลอดลมอักเส
โรคหลอดลมอักเส
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
 
โรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบโรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบ
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
 
โรคไข้หวัด
โรคไข้หวัดโรคไข้หวัด
โรคไข้หวัด
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
 
2010_PMC Respiatory Disease
2010_PMC Respiatory Disease2010_PMC Respiatory Disease
2010_PMC Respiatory Disease
 
โรคหูชั้นกลางอักเสบเฉียบพลัน poster 7/125
โรคหูชั้นกลางอักเสบเฉียบพลัน poster 7/125โรคหูชั้นกลางอักเสบเฉียบพลัน poster 7/125
โรคหูชั้นกลางอักเสบเฉียบพลัน poster 7/125
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 

Semelhante a การรักษามะเร็งปอด

มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอดWan Ngamwongwan
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอดWan Ngamwongwan
 
การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)
การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)
การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)นพ มีวงศ์ธรรม
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอดWan Ngamwongwan
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองWan Ngamwongwan
 
คุณหมอนาโน
 คุณหมอนาโน    คุณหมอนาโน
คุณหมอนาโน Ming Gub Yang
 
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย Sutthinee Sudchai
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน14LIFEYES
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationNarenthorn EMS Center
 
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)Wan Ngamwongwan
 
ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)joongka3332
 
บทความทางด้านสุขภาพและการแพทย์ (Health and Medicine)
บทความทางด้านสุขภาพและการแพทย์ (Health and Medicine)บทความทางด้านสุขภาพและการแพทย์ (Health and Medicine)
บทความทางด้านสุขภาพและการแพทย์ (Health and Medicine)LittleThing CalledLove
 
Gynecologic Malignancy
Gynecologic MalignancyGynecologic Malignancy
Gynecologic Malignancyanucha98
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองWan Ngamwongwan
 

Semelhante a การรักษามะเร็งปอด (20)

มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
 
การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)
การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)
การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
 
รักษามะเร็ง
รักษามะเร็งรักษามะเร็ง
รักษามะเร็ง
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพอง
 
คุณหมอนาโน
 คุณหมอนาโน    คุณหมอนาโน
คุณหมอนาโน
 
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
 
การรักษามะเร็ง
การรักษามะเร็งการรักษามะเร็ง
การรักษามะเร็ง
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and Resuscitation
 
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
 
มะเร็ง
มะเร็งมะเร็ง
มะเร็ง
 
ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)
 
Sheet bone scan
Sheet bone scanSheet bone scan
Sheet bone scan
 
การรักษามะเร็งเต้านม
การรักษามะเร็งเต้านมการรักษามะเร็งเต้านม
การรักษามะเร็งเต้านม
 
Hemorrhoid
HemorrhoidHemorrhoid
Hemorrhoid
 
บทความทางด้านสุขภาพและการแพทย์ (Health and Medicine)
บทความทางด้านสุขภาพและการแพทย์ (Health and Medicine)บทความทางด้านสุขภาพและการแพทย์ (Health and Medicine)
บทความทางด้านสุขภาพและการแพทย์ (Health and Medicine)
 
Gynecologic Malignancy
Gynecologic MalignancyGynecologic Malignancy
Gynecologic Malignancy
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพอง
 

การรักษามะเร็งปอด

  • 1. โรคมะเร็งปอดเป็ นโรคที่เกิดจากเซลล์ของปอด เช่น เนื้อปอด หลอดลมกลายเป็ นเซลล์มะเร็ งปอด โรคมะเร็งปอดเป็ นมะเร็ งปอดที่พบบ่อย หากตรวจพบเร็ วสามารถรักษาให้หายขาดได้  สูบบุหรี่ สูบ cigars และ pipes จานวนปี ที่สูบ อายุที่เริ่ มสูบ จานวนบุหรี่ ที่สูบ สูบแต่ละครั้งลึกแค่ไหน ทั้งหมดเป็ นปัจจัยที่จะทาให้มีโอกาสเกิดมะเร็ งปอด  เคยได้รับรังสี รักษาที่เต้านม หรื อทรวงอก  อาศัยในที่มีมลพิษทางอากาศ  ผูที่อยูในสิ่ งแวดล้อมของผูสูบบุหรี่ ้ ่ ้  สัมผัสสาร Randon เป็ นแก็สที่ไม่มีกลิ่น ซึ่งพบได้ตามดินและหิ น ผูป่วยที ้ ทางานเหมืองจะมีโอกาสเสี่ ยง  ใยหิ น Asbestos ผูที่ทางานเกี่ยวกับเหมืองใยหินมีโอกาสเสี่ ยงต่อมะเร็ งปอด ้  สัมผัสกับโครเมียม สารหนู เขม่าควัน สารทาร์  ควันจากการเผาไหม้น้ ามัน และถ่านหิ น  โรคปอด โดยเฉพาะวัณโรคมะเร็งปอดจะเกิดบริ เวณที่เป็ นแผลเป็ นวัณโรค  ผูเ้ คยเป็ นมะเร็งปอดจะมีโอกาสเป็ นมะเร็ งปอดสูงกว่าคนปกติ  ไอเป็ นมากขึ้นเรื่ อย  เจ็บแน่นหน้าอก  ไอเสมหะมีเลือดปน  หายใจเหนื่อย เสี ยงแหบ  เป็ นปอดบวมหรื อปอดอักเสบบ่อย  หน้าและคอบวม  อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ าหนักลด 1. พบบ่อย โตช้ามี 3 ชนิด การรักษา มะเร็ งปอดชนิด non-small cell lung cancer แพทย์จะเลือก การผ่าตัด และให้รังสี ร่วมกับเคมีบาบัดเพื่อหยุดการเจริ ญเติบโตของเซลล์มะเร็ งปอด โดยมะเร็ งปอดอาจกลับเป็ นซ้ าหลังจากได้รับการ
  • 2. รักษาแล้ว ที่สมอง ปอด หรื อส่วนอื่น ๆ ของร่ างกายก็ได้ ซึ่งมะเร็ งปอดชนิด Non-Small Cell lung cancer มีหลายชนิดแต่ละชนิดของ มะเร็ งปอดชนิด non-small cell ต่างกันที่ชนิดของเซลล์มะเร็ งปอดที่เห็นจากกล้องจุลทรรศน์ ซึ่งแต่ละชนิดจะเติบโตและมีการกระจาย แตกต่างกัน  Squamous cell carcinoma เซลล์มะเร็ งปอดเริ่ มจากเซลล์ squamous ซึ่งมีลกษณะบาง แบนคล้ายเกล็ดปลา อาจเรี ยกว่า epidermoid ั  Large cell carcinoma เซลล์มะเร็ งปอดเริ่ มจาก large cell หลากหลายชนิด  Adenocarcinoma เซลล์มะเร็ งปอดเริ่ มจากเซลล์ในถุงลม และสร้างสารต่าง ๆ เช่น มูก เป็ นต้น มะเร็ งปอดชนิดอื่น ๆ ที่พบได้ไม่บ่อย ได้แก่ pleomorphic, carcinoid tumor, salivary gland carcinoma และ unclassified carcinoma 2. หรื อที่เรี ยก พบน้อยแต่แพร่ กระจายเร็ ว แพทย์จะเลือกให้เคมีรักษาร่ วมกับ ่ การผ่าตัด และอาจให้รังสี รักษาแม้วาจะตรวจไม่พบว่ามีการแพร่ กระจาย ทรานสเฟอร์ แฟคเตอร์ มะเร็ งปอดเมื่อแพทย์สงสัยแพทย์จะซักประวัติครอบครัว ปัจจัยเสี่ ยงต่างๆและส่ง x-ray ปอด ส่งเสมหะตรวจหาเซลล์มะเร็ ง ปอด การวินิจฉัยที่แม่นยาที่สุดคือการได้ชิ้นเนื้อไปตรวจทางพยาธิโดยพยาธิแพทย์วธีการได้ชิ้นเนื้อมีหลายวิธีดงนี้ ิ ั  Brochoscopy คือการส่องกล้องเข้าทางปาก ลงหลอดลม และเข้าปอดเพื่อตัดชิ้นเนื้อ  Needle aspiration คือใช้เข็มเจาะผ่านผนังทรวงอกเข้าปอด และเข้าเนื้อร้ายแล้วดูดเอาชิ้นเนื้อส่งตรวจ  Thoracenthesis คือใช้เข็มเจาะน้ าในช่องเยือหุมปอดส่งตรวจหาเซลล์มะเร็ งปอด ่ ้  Thoracotomy คือผ่าเข้าในทรวงอกและตัดเนื้อร้ายออก ทรานสเฟอร์ แฟคเตอร์ มะเร็ งปอดหลังจากทราบว่าเป็ นมะเร็งปอดแพทย์จะทาการตรวจเพิมเพื่อจะทราบว่ามะเร็ งปอดแพร่ กระจายหรื อยังโดยการ ่ ตรวจดังนี้  CAT [Computed tomography] เป็ นการ x-ray computer เพื่อดูวามะเร็ งปอดแพร่ กระจายหรื อยัง ่  MRI [magnetic resonance imaging] ใช้คลื่นแม่เหล็กตรวจ  Scan โดยใช้สารอาบรังสี ฉีดเข้ากระแสเลือดและวัดรังสี ที่อวัยวะนั้น เช่น ตับ กระดูก  Mediastinoscopy เป็ นการส่องเข้าในช่องอกเพื่อดูวามะเร็ งปอดแพร่ กระจายไปต่อมน้ าเหลืองหรื อยัง ่ 1. การรักษามะเร็ งปอดด้วยการผ่าตัด 2. การรักษามะเร็ งปอดด้วยการฉายแสง
  • 3. 3. การรักษามะเร็ งปอดด้วยการใช้ยาเคมีบาบัด แพทย์ หรื อผูช่วยแพทย์ที่เชี่ยวชาญในการรักษา จะอธิบายให้ทราบถึงอาการ หรื อความผิดปกติที่จะได้รับหรื อเกิดขึ้นระหว่าง การรักษา เพื่อให้ ้ ผูป่วยได้เข้าใจ เตรี ยมร่ างกายเตรี ยมจิตใจให้พร้อม ก่อนที่ จะได้รับ หรื อเกิดขึ้นระหว่างการรักษา เพื่อที่ผป่วยจะได้ไม่หยุด หรื อหนี การรักษา ้ ู้ ระหว่างที่ทาการรักษาอยู่ ็ การรักษาแบบตามอาการหรื อการรักษาแบบประคับประคอง เป็ นการรักษา ตามอาการคือถ้าปวดก็ให้ยาระงับปวด รับประทานอาหารไม่ได้กให้ น้ าเกลือ หรื อหายใจไม่เพียงพอก็ให้ออกซิเจน ตามแต่อาการผูป่วย ทั้งนี้ก็เพื่อ ไม่ให้ ผูป่วยได้รับความทรมาน ้ ้ การผ่าตัดรักษามะเร็งปอด จะเป็ นการผ่าตัดเอาเนื้อปอดออกดูน่ากลัว แต่จริ ง ๆ แล้วไม่ได้ยงยาก จนเกินไป สามารถทาได้ดวยความปลอดภัย ถ้า ุ่ ้ ศัลยแพทย์น้ นมีความชานาญ เนื้อปอดมีถึง 2 ข้าง และแต่ละข้างยังมีหลายส่วน ถ้าบางส่วนถูกตัดออกไปหรื อ แม้แต่ตดออกไปทั้งข้าง อาจต้องตัด ั ั ่ ปอดออกบางกลีบ lobectomy หรื อตัดทั้งปอด pneumectomy ผูป่วยก็สามารถดารงชีพอยูได้อย่างปกติหลังจาก ที่แผลผ่าตัดหายดีแล้ว และไม่ถือว่า ้ เป็ นความพิการแต่อย่างใด 1) การตัดเป็ นรู ปลิ่ม (wedge resection) คือ การผ่าตัดเพื่อนาเอาก้อนมะเร็ งปอด และเนื้อเยือปกติรอบ ๆ ออก ่ 2) การตัดกลีบปอด (Lobectomy) คือ การตัดกลีบปอดออกทั้งกลีบ 3) การตัดปอดทั้งข้าง (Pneumonectomy) 4) Sleeve resection คือ การตัดส่วนของหลอดลมออก  การวินิจฉัยมะเร็งปอด ้ ่ ่ ้ ่ ในกรณี ที่มีกอนไม่วาจะอยูที่ใดก่อนที่จะเริ่ มให้การรักษาแพทย์ตองรู ้วาก้อนนั้นเป็ นอะไร การผ่าเอาชิ้นเนื้อส่งตรวจจะทาให้แพทย์ทราบการวินิจฉัย ว่าเป็ นมะเร็งปอดจริ งหรื อเปล่า และเป็ นมะเร็ งปอดชนิดไหน  การรักษามะเร็งปอด
  • 4. การผ่าตัดรักษามะเร็งปอด เพื่อผลทางการรักษาแพทย์จะผ่าเอามะเร็ งปอดหรื อสงสัยว่าจะเป็ นมะเร็ งปอดออกให้มากที่สุด รวมทั้งต่อมน้ าเหลือง หรื อเนื้อเยือใกล้เคียง ่  การผ่าเพือบอกระยะของโรคมะเร็งปอด ่ มะเร็ งปอดบางชนิดเราจะต้องรู ้ระยะของโรคเพื่อวางแผนการรักษามะเร็ งปอด การผ่าตัดมะเร็งปอดนี้ส่วนใหญ่จะกระทาพร้อมกับการผ่าตัดเพื่อ รักษามะเร็ งปอด  การผ่าตัดเพือซ่ อมแซม ่ หลังจากที่เราตัดมะเร็ งปอดออกไปแล้วอาจจะทาให้อวัยวะบางอย่างถูกตัดไปด้วย หรื อ อาจจะผ่าตัดตกแต่ง เช่น มะเร็ งปอดเต้านม ่ ดังนั้นหากท่านเป็ นมะเร็ งปอดและแพทย์แนะนาให้ผาตัด ท่านปรึ กษาว่าเป้ าหมายของ การผ่าตัดคืออะไร การผ่าตัดจะรักษามะเร็งปอดให้ หายขาดหรือไม่? การผ่าตัดรักษามะเร็งปอดโดยเฉพาะมะเร็ งปอดในระยะเริ่ มต้นจะหายขาด แต่ในบางกรณี ที่มะเร็ งปอดมีขนาดใหญ่ หรื อมีบางเร็ งบางชนิดมีการ แพร่ กระจาย มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า ดังนั้นอาจจะจาเป็ นต้องให้เคมีหรื อฉายแสงฆ่าเซลล์มะเร็ งปอดส่วนที่ตดออกไม่หมด ั แพทย์จะผ่าตัดเอาเนื้องอกออกให้หมด บางครั้งอาจจะต้องผ่าเอาเนื้อดีรอบเนื้องอกออกไปด้วย เพื่อให้แน่ใจว่าได้ตดเนื้องอกออกหมดจึงต้องส่งชิ้น ั เนื้อรอบๆ เนื้องอกเพื่อส่องกล้องว่ามีเซลล์มะเร็ งปอดหลงเหลือหรื อไม่ ั ่ นอกจากนั้นแพทย์จะผ่าเอาต่อมน้ าเหลืองใกล้กบที่เนื้องอกอยูออกไปด้วย และเพื่อให้แน่ใจว่าจะกาจัดเนื้องอกได้หมดแพทย์จะทาการฉายแสง หรื อ ให้เคมีบาบัด หรื อให้ฮอร์โมน รังสี พลังงานสูงมีคุณสมบัติทาลายเซลล์มะเร็ งปอดได้ดี มีผลต่อเซลล์ธรรมดาบ้าง นอกจากฉายแสงรักษามะเร็ งปอดแล้วยังสามารถใช้รักษาโรคอื่น ๆ ที่ไม่ใช่มะเร็งปอดได้อีกด้วย อาจให้ ก่อนผ่าตัดเพื่อลดขนาดของมะเร็ งปอด แพทย์อาจให้ เคมีบาบัดร่วมกับรังสีรักษา เพราะ รังสี มีผลทาให้ ข้อมูลทางพันธุกรรมของเซลล์ หรื อ สิ่ งแวดล้อมทั้งภายในและ ภายนอกเซลล์เสี ยสมดุล เซลล์น้ นไมสามารถแบ่งตัวต่อไปได้และถูกทาลายในที่สุด ั รังสี รักษาสามารถใช้ในการรักษามะเร็ งปอดหลายชนิดในตาแหน่งต่างๆ ของร่ างกาย
  • 5. สาหรับผูป่วยที่ตองทาการรักษามะเร็ งปอดจะใช้เวลาในการฉายรังสี ประมาณ 1 - 2 เดือน หรื อ ประมาณ 20 - 30 แสง ระหว่างการรักษาผูป่วยจะมี ้ ้ ้ อาการไอบ้าง เพราะแสงจากรังสี ที่ฉายไปยังปอด ทาให้ปอดได้รับความระคายเคืองจึงทาให้ไอได้ แต่เรื่ องนี้ ไม่ตองกังวลเพราะแพทย์จะให้ยาระงับ ้ อาการไอ เพียงให้บอกแพทย์ผรักษา ทราบ การรักษาด้วยรังสี น้ ีจะทาให้ร่างกายอ่อนเพลีย คอแห้ง เบื่ออาหาร โลหิ ตจาง เพราะรังสีที่ฉายไปทาลาย ู้ ไขกระดูกทาให้การสร้างเม็ดเลือดน้อยลง การพยายามรับประทานอาหารจะช่วยให้ร่างกายมีกาลังที่จะต่อสูกบโรค ขน หรื อผมบริ เวณที่ถูกแสงจะ ้ ั ร่ วง แต่ถาไม่ได้ฉายรังสี ที่บริ เวณศีรษะ ก็จะไม่ทาให้ ศีรษะล้าน ซึ่งผูป่วยส่วนมากจะกังวลเรื่ องนี้ ผิวบริ เวณที่ถูกรังสี จะมีอาการปวดแสบ ปวดร้อน ้ ้ เสมือนถูกแดดเผา หรื อตากแดดนาน ๆ อาการนี้พอหยุด ฉายรังสี ไม่นานก็จะเป็ นปกติ 1) การฉายแสงจากภายนอก โดยใช้เครื่ องส่งรังสี จากภายนอกร่ างกาย ั 2) การฉายแสงภายใน โดยใช้สารรังสี วางใกล้กบตัวก้อนมะเร็ งปอด การผ่าตัดโดยใช้รังสี เป็ นวิธีใช้รังสี โดยตรงต่อก้อนมะเร็ งปอดโดยมีผลเล็กน้อยต่อเนื้อเยือปกติ อาจใช้ในกรณี ที่ไม่สามารถผ่าตัดได้ ่ การฉายรังสี รักษามะเร็งปอด แบ่ งเป็ น 2 รู ปแบบ คือ  การฉายรังสี ระยะไกล หรื อ การฉายแสงรักษามะเร็ งปอด  การฉายรังสี ระยะใกล้ หรื อ การใส่แร่ รักษามะเร็ งปอด  ผู้ป่วยมะเร็งปอดส่ วนใหญ่จะได้ รับการฉายรังสี ระยะไกล การรักษามะเร็ งปอดส่วนใหญ่จะใช้การฉายรังสี ระยะไกล หรื อการฉายรังสี ภายนอก หรื อเรี ยกสั้นๆ ว่า “ฉายแสง” เป็ นหลัก เครื่ องมือที่ใช้รักษา ได้แก่ เครื่ องโคบอลต์-60, เครื่ องเร่ งอนุภาคอิเล็กตรอน หรื อไลแนค (Linear Accelerator: LINAC) เป็ นต้น ผูป่วยมะเร็ งปอดแต่ละรายจะมี ้ ่ ั ผลข้างเคียงแตกต่างกัน ขึ้นอยูกบบริ เวณที่ฉายรังสี , ปริ มาณรังสี ที่ได้รับ และเมื่อฉายรังสี ครบ อาการแทรกซ้อนจากการรักษามะเร็ งปอดด้วยรังสี ต่างๆ เหล่านี้ จะค่อยๆ ลดน้อยลง หรื อกลับสู่สภาวะปกติได้  การฉายรังสี ระยะใกล้ หรือ การใส่ แร่ เป็ นการรักษามะเร็ งปอดโดยใส่แร่ ปริ มาณสูงแบบชัวคราวหรื อถาวรเข้าไปที่เนื้อเยือ หรื อโพรงอวัยวะต่างๆ ของร่ างกาย แร่ ที่ใช้ในการรักษามะเร็ ง ่ ่ ปอด ได้แก่ แร่ อิริเดียม-192, แร่ ซีเซียม-137,เรเดียม, ไอโอดีน, อีร์เดียม, โคบอลล์, คาลิฟอร์เนียม เป็ นต้น เมื่อผูป่วยได้รับการฉายแสงหรื อใส่แร่ เสร็ จ ้ แล้ว ผูป่วยสามารถกลับบ้านได้ ไม่จาเป็ นต้องนอนค้างที่โรงพยาบาล สามารถไปทางานและอยูร่วมกับผูอ่ืนได้เหมือนคนทัวไป รวมทั้งอยูใกล้ชิด ้ ่ ้ ่ ่ กับเด็ก, คนท้อง และญาติได้ เนื่ องจากการฉายแสงและการใส่แร่ เป็ นการรักษามะเร็ งปอดเฉพาะบริ เวณที่เป็ นโรค เมื่อรักษามะเร็งปอดเสร็ จ แสง ่ หรื อแร่ ที่ใช้รักษามะเร็ งปอดจะไม่ตกค้างอยูในตัวผูป่วย ้ การใช้รังสี 2 ส่วนนี้ สามารถใช้เดี่ยว ๆ หรื อใช้ร่วมกันก็ได้ข้ ึนอยูกบดุลยพินิจของแพทย์ผเู ้ ชี่ยวชาญ ด้านรังสี รักษามะเร็ งปอด ่ั
  • 6.  ใช้รังสี เพียงอย่างเดียว โดยมากเป็ นการรักษาเพื่อให้หายขาดสาหรับมะเร็งปอดระยะแรก ๆ เช่น มะเร็ งปอดบริ เวณศีรษะและคอ มะเร็ ง ปอดปากมดลูก เป็ นต้น  ใช้รังสี ร่วมกับการผ่าตัดโดยอาจใช้ก่อนหรื อภายหลังผ่าตัด และปั จจุบนมีการใช้รังสี ในระหว่างการทาผ่าตัดได้ดวย ทาให้ผลการรักษา ั ้ มะเร็ งปอดของอวัยวะภายในได้ผลดีข้ ึน  ใช้รังสี ร่วมกับเคมีบาบัด อาจให้รังสี ก่อนหรื อหลังหรื อให้พร้อม ๆ กับการใช้ยาเคมีบาบัดก็ได้ ขึ้นอยูกบดุลยพินิจของคณะแพทย์ที่รักษา ่ั  ใช้รังสี ร่วมกับการผ่าตัด เคมีบาบัดรวมถึงชีวบาบัดผสมผสานกัน 1. เพื่อผลการรักษามะเร็ งปอดให้หายขาด โดยมากเป็ นผูป่วยในระยะหนึ่งถึงสอง ้ 2. เพื่อบรรเทาอาการ ในกลุ่มนี้ไม่สามารถรักษามะเร็ งปอดให้หายขาดได้โดยรังสี แต่เป็ น การบรรเทา อาการปวด อาการแน่นหน้าอก, หายใจลาบาก, อาการเลือดออกมาก เป็ นต้น รังสี รักษามะเร็ งปอดเป็ นการรักษามะเร็ งปอดที่ไม่มีความเจ็บปวด ไม่เสี ยเลือด และการรักษามะเร็ ง ปอดด้วยรังสี ส่วนใหญ่เป็ นการรักษาแบบผูป่วยนอก ไม่ตองนอนพักรักษาตัวที่โรงพยาบาล เผล ้ ้ ทางด้านรังสี ยงไม่เกิดขึ้นทันที แต่เมื่อผูป่วยมะเร็ งปอดได้รับการฉายรังสี เป็ นระยะเวลาหนึ่ง จึงจะเริ่ มมีผลข้างเคียงหรื อผลแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นจาก ั ้ การฉายรังสี เช่น คลื่นไส้, อาเจียน, ผมร่ วง, ผิวหนังมีสีคล้ าขึ้น เป็ นต้น เคมีบาบัด คือ การรักษามะเร็ งปอดด้วยยาเพื่อควบคุมหรื อทาลายเซลล์มะเร็ งปอด การออกฤทธิ์ยบยั้งการเจริ ญเติบโตและแบ่งตัวของเซลล์มะเร็ง ั ปอด และทาลายเซลล์มะเร็ งปอด การรักษามะเร็ งปอดด้วยเคมีบาบัดอาจมีผลข้างเคียง เช่น คลื่นไส้ อาเจียน ปากอักเสบ ผมร่ วง มากหรื อน้อยขึ้นอยู่ กับชนิดของยา สภาวะความแข็งแรงของร่ างกาย ความพร้อมทางด้านจิตใจของผูป่วยมะเร็งปอดด้วย ้ ่ ่ ั แพทย์จะสังใช้ยารักษามะเร็ งปอดชนิดใดขึ้นอยูกบชนิดและตาแหน่งของมะเร็ งปอด และสุขภาพของผูป่วยมะเร็ งปอด ปั จจุบนการใช้ยารักษา ้ ั โรคมะเร็งปอดร่ วมกันหลายชนิดจะให้ผลที่มีประสิ ทธิภาพมากกว่าการใช้ยาชนิดเดียว ยารักษามะเร็ งปอดมีท้ ง ชนิดน้ า ชนิดเม็ด ชนิดฉี ด ยารักษา ั มะเร็ งปอดไม่ทาให้เกิดความเจ็บปวดมากไปกว่ายาที่ใช้รักษาโรคอื่นๆ การรักษาด้ วยวิธีนี ้ จะสิ ้นเปลืองค่าใช้ จายมาก เพราะยาเคมีเป็ นยาที่นาเข้ า ่ จากต่างประเทศ แต่ละชนิดมีราคาแพง การรักษา จะต้ องให้ ยาอยูหลาย ๆ ครัง หรื อ 3 ครังเป็ นอย่างน้ อย ส่วนมากจะให้ 6 ครัง โดยจะให้ เป็ นช่วง ่ ้ ้ ้ ๆ เช่น 3 - 4 สัปดาห์ ให้ หนึงครังๆ ละ 4 - 5 วัน อาการ ข้ างเคียงก็มีมาก เช่น การอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร คลืนไส้ อาเจียน และผมร่วง อาการคลืนไส้ ่ ้ ่ ่
  • 7. อาเจียน สมัยก่อน ผู้ป่วยจะกลัวมาก ขนาดเห็นแพทย์และ ยังไม่ทน จะได้ รับยาก็มีอาการแล้ ว แต่ในปั จจุบนนี ้มียาระงับอาการคลืนไส้ อาเจียน ทีมี ั ั ่ ่ ประสิทธิภาพสูง แพทย์จะให้ ก่อนที่จะได้ รับยาเคมีบาบัด ดังนันเรื่ อง การอาเจียนจึงไม่ต้องเป็ นห่วง สาหรับผมร่วง เมื่อหยุดการรักษาเพียง 1 - 2 ้ เดือน ผมก็จะขึ ้นและมักจะสวยกว่าเดิมอีก จึงไม่นาเป็ นห่วง แต่ในระหว่าง ที่ให้ การรักษาอยูสามารถแก้ ไขได้ โดยการใส่ผมปลอม ่ ่  ยารักษามะเร็งปอดชนิดรับประทาน เคมีบาบัดรักษามะเร็ งปอดชนิดรับประทานเป็ นวิธีให้ยาผูป่วยมะเร็ งปอดที่สะดวกที่สุด ยารักษามะเร็ งปอดจะถูกดูดซึม เข้าสู่กระแสเลือดทางเยือบุ ้ ่ ผนังกระเพาะอาหาร และเยือบุผนังลาไส้เล็ก แต่ยารักษามะเร็ งปอดบางชนิดไม่สามารถทานได้โดยตรง เพราะอาจทาลายเยือบุผนังกระเพาะอาหาร ่ ่ จึงต้องให้ยารักษามะเร็ งปอดโดยวิธีฉีดเท่านั้น  ยารักษามะเร็งปอดชนิดฉีดเข้ ากล้ามเนือ ้ ยารักษามะเร็ งปอดบางชนิด มีประสิ ทธิภาพดีที่สุดเมื่อถูกปล่อยอย่างช้าเข้าสู่กระแสเลือด แต่ยารักษามะเร็ งปอดจะนิยมฉีดเข้ากล้ามเนื้อมากกว่าฉี ด เข้าหลอดเลือกโดยตรง  ยารักษามะเร็งปอดชนิดฉีดเข้ าหลอดเลือดดาหรือผสมกับของเหลวอืนทีให้ ทางหลอดเลือดดา ่ ่ ยารักษามะเร็ งปอดที่ก่อให้เกิดการระคายเคืองหรื อทาลายเนื้อเยือ จะถูกฉี ดเข้าหลอดเลือดดาและกระแสเลือดโดยตรง ดังนั้นกระแสเลือดจะทาให้ยา ่ รักษามะเร็ งปอดเจือจางอย่างรวดเร็ วและเริ่ มทางานได้ทนที ั ่ั ระยะเวลารักษามะเร็งปอดขึ้นอยูกบ ชนิดและระยะของมะเร็ งปอดที่ผป่วยเป็ น รวมทั้งผลการตอบสนองต่อยารักษามะเร็ งปอดของผูป่วย ู้ ้ แต่ละราย โดยแพทย์ผเู ้ ชี่ยวชาญจะเป็ นผูวเิ คราะห์แนะนาและกาหนดเวลาตลอดจนเลือกยารักษามะเร็ งปอดที่ได้ผลดีที่สุดต่อผูป่วย ความถี่ของการ ้ ้ ่ั ให้ยาเคมีบาบัดแตกต่างกันขึ้นอยูกบสูตรยารักษามะเร็ งปอดที่ใช้ และสภาพร่ างกายของผูป่วย เช่น ทุกวัน ทุกสัปดาห์ หรื อทุกเดือน บางครั้งอาจต้อง ้ หยุดยารักษามะเร็ งปอดชัวคราว เพื่อให้ร่างกายมีเวลาพัก และซ่อมแซมเซลล์ปกติให้แข็งแรงพอที่จะให้ยารักษามะเร็ งปอดครั้งต่อไปได้ ่ ผูป่วยมะเร็งปอดบางรายอาจท้อแท้ เนื่องจากระยะเวลารักษามะเร็งปอดยาวนาน หากกังวลใจ ควรปรึ กษาแพทย์ แพทย์อาจปรับปรุ ง ้ แผนการรักษามะเร็งปอดให้เหมาะสมขึ้น ควรติดตามผลการรักษามะเร็ งปอดเป็ นระยะ มาตรวจตรงตามแพทย์นด ทานยารักษามะเร็ งปอดตรงตาม ั แผนการรักษารักษามะเร็ งปอด การได้ยาไม่ครบหรื อระยะเวลาไม่ตรงกาหนด ก่อให้เกิดผลเสี ยต่อการรักษามะเร็ งปอด ถ้ามีเหตุจาเป็ นที่จะต้องเลื่อน ระยะเวลาการให้ยารักษามะเร็งปอดควรปรึ กษาแพทย์ก่อนทุกครั้ง เมื่อได้รับยาเคมีบาบัดรักษามะเร็งปอด ผูป่วยบางรายอาจมีผลข้างเคียงเกิดขึ้นได้ การบาบัดรักษามะเร็ งปอดตั้งแต่เริ่ มต้นจะได้ผลดีกว่าการรักษา ้ มะเร็ งปอดเมื่อเป็ นมากแล้ว ผลข้างเคียงการรักษามะเร็ งปอดบางประการถ้าไม่รักษาทันท่วงที อาจนาไปสู่ผลแทรกซ้อนที่รุนแรงได้ นาไปสู่อาการ ช็อคจากการติดเชื้อในกระแสเลือดได้ อาการข้างเคียงสาคัญที่ควรปรึ กษาแพทย์ พอสรุ ปได้ดงนี้ ั  ไอ มีเสมหะ  มีการติดเชื้อ  บวมผิดปกติ  ผื่นขึ้นตามลาตัว  ปวดท้องรุ นแรง  ปั สสาวะเป็ นเลือด  มีแผลในปากและคอ
  • 8. เหนื่อยหอบ แน่นหน้าอก  คลื่นไส้อาเจียนอย่างรุ นแรง  ท้องผูกหรื อท้องเดินอย่างรุ นแรง  น้ าหนักลด หรื อเพิ่มอย่างรวดเร็ ว  ซึมลง ชัก หรื อมีอาการเกร็ งผิดปกติ  บริ เวณให้ยา ปวดแสบ ปวดร้อน บวมแดง  ไข้สูงเกิน 38 องศาเซลเซียส (101 องศาฟาเรนไฮต์)  เลือดออกง่าย หรื อไม่หยุด หรื อมีจุดเลือดออกตามผิวหนัง
  • 9. การรักษามะเร็ งปอดระยะแอบแฝง (Hidden stage) สามารถรักษาให้หายได้โดยการผ่าตัด  การผ่าตัดแบบลิ่ม (Wedge resection)  การใช้ลาแสง (Photodynamic therapy) โดยใช้กล้องส่อง  การผ่าตัดแบบลิ่ม หรื อตัดกลีบปอด  การฉายแสงจากภายนอก สาหรับผูป่วยที่ไม่เหมาะที่จะผ่าตัด ้  การผ่าตัดตามด้วยยาเคมีบาบัด  การผ่าตัดแบบลิ่ม หรื อตัดกลีบปอด หรื อตัดปอดทั้งข้าง  การฉายแสงจากภายนอก  การผ่าตัดตามด้วยยาเคมีบาบัด ร่ วมกับการรักษาอื่น ๆ  การผ่าตัดอย่างเดียว หรื อร่ วมกับการฉายแสง  การฉายแสงจากภายนอกร่ วมกับให้ยาเคมีบาบัด  การผ่าตัดตามด้วยยาเคมีบาบัด ร่ วมกับการรักษาอื่น ๆ
  • 10.  การฉายแสงจากภายนอก  การใช้ยาเคมีบาบัดร่ วมกับการฉายแสง  การใช้ยาเคมีบาบัดร่ วมกับการฉายแสง ตามด้วยการผ่าตัด  การใช้ยาเคมีบาบัดอย่างเดียว  การติดตามอย่างใกล้ชิด  การรักษาประคับประคอง โดยฉายแสงจากภายนอกเพื่อลดอาการปวด หรื อเพิ่มคุณภาพชีวต ิ  การใช้ยาเคมีบาบัด  การใช้เลเซอร์ หรื อร่ วมกับการฉายแสงจากในร่ างกาย 1. การใช้ยาเคมีบาบัด 2. การฉายแสงประคับประคองอาการ เพื่อลดอาการปวดและเพิ่มคุณภาพชีวต ิ 3. การผ่าตัดในกรณี ที่มีมะเร็ งปอดแพร่ กระจายไปสมองในปริ มาณเล็กน้อย 4. การใช้เลเซอร์ สารรังสี ในร่ างกาย การผ่าตัดโดยใช้รังสี ่ การอยูรอดเกิน 5 ปี ของโรคมะเร็งปอดในระยะต่าง ๆ ค่อนข้างต่า ยกเว้นระยะที่หนึ่ง และในระยะเดียวกันนี้โรคมะเร็ งปอดชนิด Non-small cell จะ ่ มีอาการอยูรอดที่ดีกว่า สาหรับการรักษานั้น การรักษาด้วยเคมีบาบัด จะได้ผลดีกว่าการรักษาด้วยรังสี แต่เนื่องจากการรักษามะเร็ งปอดด้วยวิธีการหลักทั้ง 3 วิธีการ ยังไม่สามารถรักษามะเร็ งปอดให้หายขาดได้ทุกราย บางรายที่ดูเหมือนอาการดีข้ ึน แต่ ผ่านไปไม่กี่ปีโรคมะเร็งปอดก็กลับมาเป็ นอีก คราวนี้ส่วนใหญ่จะแพร่ กระจายไปทัวร่ างกายแม้การใช้ยาเคมีบาบัดรุ่ นใหม่มาทาการรักษา แต่ดู ่ เหมือนผลการรักษาก็ยงไว้ใจไม่ได้ โดยที่การรักษามะเร็งปอดเหล่านี้มาพร้อมกับการทาลายภูมิคุมกันของผูป่วยมะเร็งปอด และไม่เพียงแต่จดการ ั ้ ้ ั กับเซลล์มะเร็ งปอดเท่านั้น แต่ยงทาลายเซลล์ปกติดวย นอกจากนี้ยงทาให้เกิดพิษต่ออวัยวะในร่ างกายอย่างสูง ส่งผลกระทบต่อสุขภาพมากยิงขึ้น ั ้ ั ่
  • 11. ศูนย์การรักษามะเร็งปอด หลักการแพทย์ทางเลือก Wholly Medical Center 1. โปรแกรมการรักษามะเร็งปอด NATURAL KILLER CELL AND TARGET CELL THERAPY (เซลล์เพชฌมาต) 2. โปรแกรมการรักษามะเร็งปอด TUMOR FIGHTER (เสริ มภูมิตานเซลล์มะเร็งปอด) ้ 3. โปรแกรมการรักษามะเร็งปอด NEW REGENERIST TUMOR FIGHTER 4. โปรแกรมการรักษามะเร็งปอด MEGA C PLUS 4. การตรวจโรคมะเร็ งปอดด้วยการถอดรหัสพันธุกรรม GENE DIAGNOSTICS สอบถามเพิมเติมเกียวกับรายละเอียดการรักษามะเร็งปอดโดยตรงที่ Wholly Medical Center ่ ่ ั้ ตึก 253 ชน 21 อโศก ซอยสุขมวิท 21 ุ ตรงข ้าม มศว. ประสานมิตร ติดรถไฟฟ้ าใต ้ดินสถานีเพชรบุร ี โทร.02-664-3027 9.00 - 19.00 น. ทุกวันไม่เว ้นวันหยุดราชการ Email:crm@whollymedical.com ตลอด 24 ชวโมง ั่ ข้ อมูลอ้ างอิง whollymedical.com , stopcancer.igetweb.com , chulacancer.netbloggang.com/mainblog.php?id=rb515&month=08-11-2007&group=158&gblog=1