SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 6
Baixar para ler offline
การรักษามะเร็ง ถือเป็ นการท้าทายวงการแพทย์มากที่สุด เนื่องจากมะเร็งเป็ นโรคที่รักษายาก และมะเร็งเป็ นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งของคน
ไทย มากกว่าโรคหัวใจและอุบติเหตุ การรักษามะเร็ งมีหลายวิธี ศึกษาวิธีการรักษามะเร็ ง ทางเลือกที่เหมาะที่สุดสาหรับคุณก่อนตัดสิ นใจรักษามะเร็ ง
                          ั
หลักการรักษามะเร็งโดยทัวไปประกอบด้ วย
                       ่

    1. รักษามะเร็ งด้วยการผ่าตัด
    2. รักษามะเร็ งด้วยการฉายแสง
    3. รักษามะเร็ งด้วยการใช้ยาเคมีบาบัด




                                                         การผ่าตัดรักษามะเร็ง คือ การผ่าเอาเนื้อมะเร็งออกจากร่ างกาย บางคนคาดหวังว่าหลังการ
                                                         ผ่าตัดรักษามะเร็ งแล้วจะหายขาด แต่การผ่าตัดในผูป่วยมะเร็งมีจุดมุ่งหมายหลายประการ
                                                                                                            ้
                                                         ก่อนผ่าตัดผูป่วยมะเร็ งต้องปรึ กษากับแพทย์ถึงเป้ าหมายในการผ่าตัดรักษามะเร็ง
                                                                     ้




     การวินิจฉัยมะเร็ง

              ้        ่      ่                               ้ ่
ในกรณี ที่มีกอนไม่วาจะอยูที่ใดก่อนที่จะเริ่ มให้การรักษาแพทย์ตองรู ้วาก้อนนั้นเป็ นอะไร การผ่าเอาชิ้นเนื้อส่งตรวจจะทาให้แพทย์ทราบการวินิจฉัย
ว่าเป็ นมะเร็งจริ งหรื อเปล่า และเป็ นมะเร็ งชนิดไหน

     การรักษามะเร็ง

การผ่าตัดรักษามะเร็ง เพื่อผลทางการรักษาแพทย์จะผ่าเอามะเร็ งหรื อสงสัยว่าจะเป็ นมะเร็ งออกให้มากที่สุด รวมทั้งต่อมน้ าเหลือง หรื อเนื้ อเยือ
                                                                                                                                          ่
ใกล้เคียง

     การผ่าเพือบอกระยะของโรคมะเร็ง
               ่

มะเร็ งบางชนิดเราจะต้องรู ้ระยะของโรคเพื่อวางแผนการรักษามะเร็ ง การผ่าตัดมะเร็ งนี้ส่วนใหญ่จะกระทาพร้อมกับการผ่าตัดเพื่อรักษามะเร็ ง
 การผ่าตัดเพือซ่ อมแซม
                  ่

หลังจากที่เราตัดมะเร็ งออกไปแล้วอาจจะทาให้อวัยวะบางอย่างถูกตัดไปด้วย หรื ออาจจะผ่าตัดตกแต่ง เช่น มะเร็ งเต้านม

                                           ่
ดังนั้นหากท่านเป็ นมะเร็ งและแพทย์แนะนาให้ผาตัด ท่านปรึ กษาว่าเป้ าหมายของการผ่าตัดคืออะไร

การผ่าตัดจะรักษามะเร็งให้ หายขาดหรือไม่ ?

การผ่าตัดรักษามะเร็งโดยเฉพาะมะเร็ งในระยะเริ่ มต้นจะหายขาด แต่ในบางกรณี ที่มะเร็ งมีขนาดใหญ่ หรื อมีบางเร็งบางชนิดมีการแพร่ กระจาย มอง
ไม่เห็นด้วยตาเปล่า ดังนั้นอาจจะจาเป็ นต้องให้เคมีหรื อฉายแสงฆ่าเซลล์มะเร็ งส่วนที่ตดออกไม่หมด
                                                                                   ั




แพทย์จะผ่าตัดเอาเนื้องอกออกให้หมด บางครั้งอาจจะต้องผ่าเอาเนื้อดีรอบเนื้องอกออกไปด้วย เพื่อให้แน่ใจว่าได้ตดเนื้องอกออกหมดจึงต้องส่งชิ้น
                                                                                                         ั
เนื้อรอบๆ เนื้องอกเพื่อส่องกล้องว่ามีเซลล์มะเร็ งหลงเหลือหรื อไม่

                                                                                                 ั              ่
                                                       นอกจากนั้นแพทย์จะผ่าเอาต่อมน้ าเหลืองใกล้กบที่เนื้องอกอยูออกไปด้วย และเพื่อให้
                                                       แน่ใจว่าจะกาจัดเนื้องอกได้หมดแพทย์จะทาการฉายแสง หรื อให้เคมีบาบัด หรื อให้
                                                       ฮอร์โมน




รังสี พลังงานสูงมีคุณสมบัติทาลายเซลล์มะเร็ งได้ดี มีผลต่อเซลล์ธรรมดาบ้าง นอกจากฉายแสงรักษามะเร็ งแล้วยังสามารถใช้รักษาโรคอื่น ๆ ที่ไม่ใช่
มะเร็ งได้อีกด้วย รังสี มีผลทาให้ขอมูลทางพันธุกรรมของเซลล์ หรื อ สิ่ งแวดล้อมทั้งภายในและ ภายนอกเซลล์เสี ยสมดุล เซลล์น้ นไมสามารถแบ่งตัว
                                  ้                                                                                     ั
ต่อไปได้และถูกทาลายในที่สุด รังสี รักษาสามารถใช้ในการรักษามะเร็ งหลายชนิดในตาแหน่งต่างๆ ของร่ างกาย

สาหรับผูป่วยที่ตองทาการรักษามะเร็ งโดยการฉายรังสี แพทย์รังสี รักษาจะเข้ามามีบทบาทในการรักษาโดยเป็ นผูวางแผนการฉายรังสี กาหนด
          ้     ้                                                                                         ้
                                                                                                                               ่ ั
ตาแหน่งเป้ าหมาย การใช้รังสี รักษามะเร็ งในผูป่วยแต่ละราย ตลอดจนระยะเวลารักษามะเร็ ง และขนาดของรังสี ที่ได้จะไม่เท่ากัน ขึ้นอยูกบชนิดของ
                                             ้
มะเร็ ง การตอบสนอง และระยะมะเร็ งของแต่ละคนที่มาพบแพทย์ การฉายรังสี น้ นต้องอาศัยประสบการณ์และ ความชานาญ เพื่อให้การรักษามะเร็ ง
                                                                         ั
มีประสิ ทธิผลสูงสุด และให้ผป่วยได้รับผลข้างเคียงจากการฉายรังสี นอยที่สุด
                           ู้                                   ้




การฉายรังสี รักษามะเร็ง แบ่ งเป็ น 2 รู ปแบบ คือ
     การฉายรังสี ระยะไกล หรื อ การฉายแสงรักษามะเร็ ง
     การฉายรังสี ระยะใกล้ หรื อ การใส่แร่ รักษามะเร็ ง
    ผู้ป่วยมะเร็งส่ วนใหญ่ จะได้ รับการฉายรังสี ระยะไกล

การรักษามะเร็ งส่วนใหญ่จะใช้การฉายรังสี ระยะไกล หรื อการฉายรังสี ภายนอก หรื อเรี ยกสั้นๆ ว่า “ฉายแสง” เป็ นหลัก เครื่ องมือที่ใช้รักษา ได้แก่
เครื่ องโคบอลต์-60, เครื่ องเร่ งอนุภาคอิเล็กตรอน หรื อไลแนค (Linear Accelerator: LINAC) เป็ นต้น ผูป่วยมะเร็ งแต่ละรายจะมีผลข้างเคียงแตกต่าง
                                                                                                    ้
กัน ขึ้นอยูกบบริ เวณที่ฉายรังสี , ปริ มาณรังสี ที่ได้รับ และเมื่อฉายรังสี ครบ อาการแทรกซ้อนจากการรักษามะเร็ งด้วยรังสี ต่างๆ เหล่านี้ จะค่อยๆ ลด
           ่ ั
น้อยลง หรื อกลับสู่สภาวะปกติได้


         การฉายรังสี ระยะใกล้ หรือ การใส่ แร่
เป็ นการรักษามะเร็ งโดยใส่แร่ ปริ มาณสูงแบบชัวคราวหรื อถาวรเข้าไปที่เนื้อเยือ หรื อโพรงอวัยวะต่างๆ ของร่ างกาย แร่ ที่ใช้ในการรักษามะเร็ ง ได้แก่
                                                 ่                             ่
แร่ อิริเดียม-192, แร่ ซีเซียม-137,เรเดียม, ไอโอดีน, อีร์เดียม, โคบอลล์, คาลิฟอร์เนียม เป็ นต้น เมื่อผูป่วยได้รับการฉายแสงหรื อใส่แร่ เสร็ จแล้ว ผูป่วย
                                                                                                       ้                                           ้
สามารถกลับบ้านได้ ไม่จาเป็ นต้องนอนค้างที่โรงพยาบาล สามารถไปทางานและอยูร่วมกับผูอ่ืนได้เหมือนคนทัวไป รวมทั้งอยูใกล้ชิดกับเด็ก, คน
                                                                                       ่         ้                  ่            ่
ท้อง และญาติได้ เนื่ องจากการฉายแสงและการใส่แร่ เป็ นการรักษามะเร็ งเฉพาะบริ เวณที่เป็ นโรค เมื่อรักษามะเร็ งเสร็ จ แสงหรื อแร่ ที่ใช้รักษามะเร็ง
                 ่
จะไม่ตกค้างอยูในตัวผูป่วย  ้

การใช้รังสี 2 ส่วนนี้ สามารถใช้เดี่ยว ๆ หรื อใช้ร่วมกันก็ได้ข้ ึนอยูกบดุลยพินิจของแพทย์ผเู ้ ชี่ยวชาญ ด้านรังสี รักษามะเร็ ง
                                                                    ่ั




      ใช้รังสี เพียงอย่างเดียว โดยมากเป็ นการรักษาเพื่อให้หายขาดสาหรับมะเร็งระยะแรก ๆ เช่น มะเร็งบริ เวณศีรษะและคอ มะเร็ งปากมดลูก
       เป็ นต้น
      ใช้รังสี ร่วมกับการผ่าตัดโดยอาจใช้ก่อนหรื อภายหลังผ่าตัด และปั จจุบนมีการใช้รังสี ในระหว่างการทาผ่าตัดได้ดวย ทาให้ผลการรักษา
                                                                              ั                                        ้
       มะเร็ งของอวัยวะภายในได้ผลดีข้ ึน
      ใช้รังสี ร่วมกับเคมีบาบัด อาจให้รังสี ก่อนหรื อหลังหรื อให้พร้อม ๆ กับการใช้ยาเคมีบาบัดก็ได้ ขึ้นอยูกบดุลยพินิจของคณะแพทย์ที่รักษา
                                                                                                           ่ั
      ใช้รังสี ร่วมกับการผ่าตัด เคมีบาบัดรวมถึงชีวบาบัดผสมผสานกัน




     1. เพื่อผลการรักษามะเร็ งให้หายขาด โดยมากเป็ นผูป่วยในระยะหนึ่งถึงสอง
                                                     ้
     2. เพื่อบรรเทาอาการ ในกลุ่มนี้ไม่สามารถรักษามะเร็ งให้หายขาดได้โดยรังสี แต่เป็ นการบรรเทา อาการปวด อาการแน่นหน้าอก, หายใจ
        ลาบาก, อาการเลือดออกมาก เป็ นต้น

รังสี รักษามะเร็ งเป็ นการรักษามะเร็ งที่ไม่มีความเจ็บปวด ไม่เสี ยเลือด และการรักษามะเร็ งด้วยรังสี ส่วนใหญ่เป็ นการรักษาแบบผูป่วยนอก ไม่ตอง
                                                                                                                              ้              ้
นอนพักรักษาตัวที่โรงพยาบาล เผลทางด้านรังสี ยงไม่เกิดขึ้นทันที แต่เมื่อผูป่วยมะเร็ งได้รับการฉายรังสี เป็ นระยะเวลาหนึ่ง จึงจะเริ่ มมีผลข้างเคียง
                                                     ั                      ้
หรื อผลแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นจากการฉายรังสี เช่น คลื่นไส้, อาเจียน, ผมร่ วง, ผิวหนังมีสีคล้ าขึ้น เป็ นต้น
เคมีบาบัด คือ การรักษามะเร็ งด้วยยาเพื่อควบคุมหรื อทาลายเซลล์มะเร็ ง การออกฤทธิ์ยบยั้งการ
                                                                                                                              ั
                                          เจริ ญเติบโตและแบ่งตัวของเซลล์มะเร็ ง และทาลายเซลล์มะเร็ ง การรักษามะเร็ งด้วยเคมีบาบัดอาจ
                                                                                                                   ่ ั
                                          มีผลข้างเคียง เช่น คลื่นไส้ อาเจียน ปากอักเสบ ผมร่ วง มากหรื อน้อยขึ้นอยูกบชนิดของยา สภาวะ
ความแข็งแรงของร่ างกาย ความพร้อมทางด้านจิตใจของผูป่วยมะเร็งด้วย
                                                    ้




         ่                              ่ ั
แพทย์จะสังใช้ยารักษามะเร็ งชนิดใดขึ้นอยูกบชนิดและตาแหน่งของมะเร็ ง และสุขภาพของผูป่วยมะเร็ ง ปั จจุบนการใช้ยารักษาโรคมะเร็งร่ วมกัน
                                                                                       ้                ั
หลายชนิดจะให้ผลที่มีประสิ ทธิภาพมากกว่าการใช้ยาชนิดเดียว ยารักษามะเร็ งมีท้ ง ชนิดน้ า ชนิดเม็ด ชนิดฉี ด ยารักษามะเร็ งไม่ทาให้เกิดความ
                                                                            ั
เจ็บปวดมากไปกว่ายาที่ใช้รักษาโรคอื่นๆ
    ยารักษามะเร็งชนิดรับประทาน
เคมีบาบัดรักษามะเร็ งชนิดรับประทานเป็ นวิธีให้ยาผูป่วยมะเร็งที่สะดวกที่สุด ยารักษามะเร็ งจะถูกดูดซึม เข้าสู่กระแสเลือดทางเยือบุผนังกระเพาะ
                                                  ้                                                                         ่
อาหาร และเยือบุผนังลาไส้เล็ก แต่ยารักษามะเร็ งบางชนิดไม่สามารถทานได้โดยตรง เพราะอาจทาลายเยือบุผนังกระเพาะอาหาร จึงต้องให้ยารักษา
               ่                                                                                    ่
มะเร็ งโดยวิธีฉีดเท่านั้น
    ยารักษามะเร็งชนิดฉีดเข้ ากล้ ามเนือ
                                       ้
ยารักษามะเร็ งบางชนิด มีประสิ ทธิภาพดีที่สุดเมื่อถูกปล่อยอย่างช้าเข้าสู่กระแสเลือด แต่ยารักษามะเร็ งจะนิยมฉีดเข้ากล้ามเนื้อมากกว่าฉี ดเข้าหลอด
เลือกโดยตรง
    ยารักษามะเร็งชนิดฉีดเข้ าหลอดเลือดดาหรือผสมกับของเหลวอืนทีให้ ทางหลอดเลือดดา
                                                            ่ ่
ยารักษามะเร็ งที่ก่อให้เกิดการระคายเคืองหรื อทาลายเนื้อเยือ จะถูกฉี ดเข้าหลอดเลือดดาและกระแสเลือดโดยตรง ดังนั้นกระแสเลือดจะทาให้ยา
                                                          ่
รักษามะเร็ งเจือจางอย่างรวดเร็ วและเริ่ มทางานได้ทนที
                                                  ั




                                        ่ ั
            ระยะเวลารักษามะเร็งขึ้นอยูกบ ชนิดและระยะของมะเร็ งที่ผป่วยเป็ น รวมทั้งผลการตอบสนองต่อยารักษามะเร็ งของผูป่วยแต่ละราย โดย
                                                                   ู้                                                    ้
แพทย์ผเู ้ ชี่ยวชาญจะเป็ นผูวเิ คราะห์แนะนาและกาหนดเวลาตลอดจนเลือกยารักษามะเร็ งที่ได้ผลดีที่สุดต่อผูป่วย
                            ้                                                                        ้       ความถี่ของการให้ยาเคมีบาบัด
                   ่ ั
แตกต่างกันขึ้นอยูกบสูตรยารักษามะเร็ งที่ใช้ และสภาพร่ างกายของผูป่วย เช่น ทุกวัน ทุกสัปดาห์ หรื อทุกเดือน บางครั้งอาจต้องหยุดยารักษามะเร็ ง
                                                                 ้
ชัวคราว เพื่อให้ร่างกายมีเวลาพัก และซ่อมแซมเซลล์ปกติให้แข็งแรงพอที่จะให้ยารักษามะเร็ งครั้งต่อไปได้
  ่

           ผูป่วยมะเร็งบางรายอาจท้อแท้ เนื่องจากระยะเวลารักษามะเร็ งยาวนาน หากกังวลใจ ควรปรึ กษาแพทย์ แพทย์อาจปรับปรุ งแผนการรักษา
             ้
มะเร็ งให้เหมาะสมขึ้น ควรติดตามผลการรักษามะเร็ งเป็ นระยะ มาตรวจตรงตามแพทย์นด ทานยารักษามะเร็ งตรงตามแผนการรักษารักษามะเร็ง
                                                                                   ั
การได้ยาไม่ครบหรื อระยะเวลาไม่ตรงกาหนด ก่อให้เกิดผลเสี ยต่อการรักษามะเร็ ง ถ้ามีเหตุจาเป็ นที่จะต้องเลื่อนระยะเวลาการให้ยารักษามะเร็ งควร
ปรึ กษาแพทย์ก่อนทุกครั้ง




เมื่อได้รับยาเคมีบาบัดรักษามะเร็ง ผูป่วยบางรายอาจมีผลข้างเคียงเกิดขึ้นได้ การบาบัดรักษามะเร็ งตั้งแต่เริ่ มต้นจะได้ผลดีกว่าการรักษามะเร็ งเมื่อ
                                    ้
เป็ นมากแล้ว ผลข้างเคียงการรักษามะเร็ งบางประการถ้าไม่รักษาทันท่วงที อาจนาไปสู่ผลแทรกซ้อนที่รุนแรงได้ นาไปสู่อาการช็อคจากการติดเชื้อ
ในกระแสเลือดได้ อาการข้างเคียงสาคัญที่ควรปรึ กษาแพทย์ พอสรุ ปได้ดงนี้ั
                ไอ มีเสมหะ
                มีการติดเชื้อ
                บวมผิดปกติ
                ผื่นขึ้นตามลาตัว
                ปวดท้องรุ นแรง
                ปั สสาวะเป็ นเลือด
                มีแผลในปากและคอ
                เหนื่อยหอบ แน่นหน้าอก
                คลื่นไส้อาเจียนอย่างรุ นแรง
                ท้องผูกหรื อท้องเดินอย่างรุ นแรง
                น้ าหนักลด หรื อเพิ่มอย่างรวดเร็ ว
                ซึมลง ชัก หรื อมีอาการเกร็ งผิดปกติ
                บริ เวณให้ยา ปวดแสบ ปวดร้อน บวมแดง
                ไข้สูงเกิน 38 องศาเซลเซียส (101 องศาฟาเรนไฮต์)
                เลือดออกง่าย หรื อไม่หยุด หรื อมีจุดเลือดออกตามผิวหนัง

                                                                                                                                      ่
แต่เนื่องจากการรักษามะเร็ งด้วยวิธีการหลักทั้ง 3 วิธีการ ยังไม่สามารถรักษามะเร็ งให้หายขาดได้ทุกราย บางรายที่ดูเหมือนอาการดีข้ ึน แต่ผานไป
ไม่กี่ปีโรคมะเร็ งก็กลับมาเป็ นอีก     คราวนี้ส่วนใหญ่จะแพร่ กระจายไปทัวร่ างกายแม้การใช้ยาเคมีบาบัดรุ่ นใหม่มาทาการรักษา แต่ดูเหมือน
                                                                          ่
ผลการรักษาก็ยงไว้ใจไม่ได้ โดยที่การรักษามะเร็ งเหล่านี้มาพร้อมกับการทาลายภูมิคุมกันของผูป่วยมะเร็ ง และไม่เพียงแต่จดการกับเซลล์มะเร็ ง
                 ั                                                                 ้       ้                           ั
เท่านั้น แต่ยงทาลายเซลล์ปกติดวย นอกจากนี้ยงทาให้เกิดพิษต่ออวัยวะในร่ างกายอย่างสูง ส่งผลกระทบต่อสุขภาพมากยิงขึ้น
             ั                   ้            ั                                                                  ่


ศูนย์การรักษามะเร็ง ด้วยหลักการแพทย์ทางเลือก Wholly Medical Center
1. โปรแกรมการรักษามะเร็ง NATURAL KILLER CELL AND TARGET CELL THERAPY (เซลล์เพชฌมาต)
2. โปรแกรมการรักษามะเร็ง TUMOR FIGHTER (เสริ มภูมิตานเซลล์มะเร็ ง)
                                                   ้
3. โปรแกรมการรักษามะเร็ง NEW REGENERIST TUMOR FIGHTER
4. โปรแกรมการรักษามะเร็ง MEGA C PLUS
4. การตรวจโรคมะเร็ งด้วยการถอดรหัสพันธุกรรม GENE DIAGNOSTICS




      สอบถามเพิมเติมเกียวกับรายละเอียดการรักษามะเร็งโดยตรงที่ Wholly Medical Center
               ่       ่
                                       ั้
                              ตึก 253 ชน 21 อโศก ซอยสุขมวิท 21
                                                         ุ
                    ตรงข ้าม มศว. ประสานมิตร ติดรถไฟฟ้ าใต ้ดินสถานีเพชรบุร ี

                    โทร.02-664-3027 9.00 - 19.00 น. ทุกวันไม่เว ้นวันหยุดราชการ
                         Email:crm@whollymedical.com ตลอด 24 ชวโมง    ั่


                                                 ข้ อมูลอ้ างอิง
                                             whollymedical.com

                                    sites.google.com/site/plapakhos/ca1

                                            bangkokhospital.com

Mais conteúdo relacionado

Destaque

การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูงการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
techno UCH
 
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมีการจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
techno UCH
 
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมนการดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
techno UCH
 

Destaque (9)

มาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัด
มาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัดมาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัด
มาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัด
 
เภสัชกร ผู้เตรียมยาเคมีบำบัด2012
เภสัชกร ผู้เตรียมยาเคมีบำบัด2012เภสัชกร ผู้เตรียมยาเคมีบำบัด2012
เภสัชกร ผู้เตรียมยาเคมีบำบัด2012
 
Case study
Case studyCase study
Case study
 
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูงการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
 
การพยาบาลก่อนฉายรังสี
การพยาบาลก่อนฉายรังสีการพยาบาลก่อนฉายรังสี
การพยาบาลก่อนฉายรังสี
 
Doxorubicin
DoxorubicinDoxorubicin
Doxorubicin
 
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมีการจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
 
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมนการดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
 
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัด
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัดกลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัด
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัด
 

Semelhante a รักษามะเร็ง

คุณหมอนาโน
 คุณหมอนาโน    คุณหมอนาโน
คุณหมอนาโน
Ming Gub Yang
 
การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)
การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)
การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)
นพ มีวงศ์ธรรม
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง
โรคมะเร็งกล่องเสียงโรคมะเร็งกล่องเสียง
โรคมะเร็งกล่องเสียง
Wan Ngamwongwan
 
มะเร็งกล่องเสียง
มะเร็งกล่องเสียงมะเร็งกล่องเสียง
มะเร็งกล่องเสียง
Wan Ngamwongwan
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
60941
 
โรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปากโรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปาก
Wan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
Wan Ngamwongwan
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
Wan Ngamwongwan
 
การพยาบาลก่อนฉายรังสี
การพยาบาลก่อนฉายรังสีการพยาบาลก่อนฉายรังสี
การพยาบาลก่อนฉายรังสี
techno UCH
 
ธรรมชาติบำบัด
ธรรมชาติบำบัดธรรมชาติบำบัด
ธรรมชาติบำบัด
Vorramon1
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
vveerapong
 

Semelhante a รักษามะเร็ง (20)

มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
 
Gynecologic Malignancy
Gynecologic MalignancyGynecologic Malignancy
Gynecologic Malignancy
 
การรักษามะเร็งปอด
การรักษามะเร็งปอดการรักษามะเร็งปอด
การรักษามะเร็งปอด
 
คุณหมอนาโน
 คุณหมอนาโน    คุณหมอนาโน
คุณหมอนาโน
 
การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)
การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)
การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)
 
Cpg osteoarthritis of knee 2554
Cpg osteoarthritis of knee 2554Cpg osteoarthritis of knee 2554
Cpg osteoarthritis of knee 2554
 
Cpg osteoarthritis
Cpg osteoarthritisCpg osteoarthritis
Cpg osteoarthritis
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง
โรคมะเร็งกล่องเสียงโรคมะเร็งกล่องเสียง
โรคมะเร็งกล่องเสียง
 
มะเร็งกล่องเสียง
มะเร็งกล่องเสียงมะเร็งกล่องเสียง
มะเร็งกล่องเสียง
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
 
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
 
โรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปากโรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปาก
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
 
Epilepsy
EpilepsyEpilepsy
Epilepsy
 
General principle of radiotherapy and cervical cancer treatment
General principle of radiotherapy and cervical cancer treatmentGeneral principle of radiotherapy and cervical cancer treatment
General principle of radiotherapy and cervical cancer treatment
 
Sle guideline
Sle guidelineSle guideline
Sle guideline
 
การพยาบาลก่อนฉายรังสี
การพยาบาลก่อนฉายรังสีการพยาบาลก่อนฉายรังสี
การพยาบาลก่อนฉายรังสี
 
ธรรมชาติบำบัด
ธรรมชาติบำบัดธรรมชาติบำบัด
ธรรมชาติบำบัด
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
 

Mais de โฮลลี่ เมดิคอล

Liver detox ล้างพิษตับ
Liver detox ล้างพิษตับLiver detox ล้างพิษตับ
Liver detox ล้างพิษตับ
โฮลลี่ เมดิคอล
 
การรักษามะเร็งปากมดลูก
การรักษามะเร็งปากมดลูกการรักษามะเร็งปากมดลูก
การรักษามะเร็งปากมดลูก
โฮลลี่ เมดิคอล
 

Mais de โฮลลี่ เมดิคอล (6)

Stem cell คืออะไร
Stem cell คืออะไรStem cell คืออะไร
Stem cell คืออะไร
 
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาทโปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท
 
Liver detox ล้างพิษตับ
Liver detox ล้างพิษตับLiver detox ล้างพิษตับ
Liver detox ล้างพิษตับ
 
การรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับการรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับ
 
การรักษามะเร็งปากมดลูก
การรักษามะเร็งปากมดลูกการรักษามะเร็งปากมดลูก
การรักษามะเร็งปากมดลูก
 
การรักษามะเร็งเต้านม
การรักษามะเร็งเต้านมการรักษามะเร็งเต้านม
การรักษามะเร็งเต้านม
 

รักษามะเร็ง

  • 1. การรักษามะเร็ง ถือเป็ นการท้าทายวงการแพทย์มากที่สุด เนื่องจากมะเร็งเป็ นโรคที่รักษายาก และมะเร็งเป็ นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งของคน ไทย มากกว่าโรคหัวใจและอุบติเหตุ การรักษามะเร็ งมีหลายวิธี ศึกษาวิธีการรักษามะเร็ ง ทางเลือกที่เหมาะที่สุดสาหรับคุณก่อนตัดสิ นใจรักษามะเร็ ง ั หลักการรักษามะเร็งโดยทัวไปประกอบด้ วย ่ 1. รักษามะเร็ งด้วยการผ่าตัด 2. รักษามะเร็ งด้วยการฉายแสง 3. รักษามะเร็ งด้วยการใช้ยาเคมีบาบัด การผ่าตัดรักษามะเร็ง คือ การผ่าเอาเนื้อมะเร็งออกจากร่ างกาย บางคนคาดหวังว่าหลังการ ผ่าตัดรักษามะเร็ งแล้วจะหายขาด แต่การผ่าตัดในผูป่วยมะเร็งมีจุดมุ่งหมายหลายประการ ้ ก่อนผ่าตัดผูป่วยมะเร็ งต้องปรึ กษากับแพทย์ถึงเป้ าหมายในการผ่าตัดรักษามะเร็ง ้  การวินิจฉัยมะเร็ง ้ ่ ่ ้ ่ ในกรณี ที่มีกอนไม่วาจะอยูที่ใดก่อนที่จะเริ่ มให้การรักษาแพทย์ตองรู ้วาก้อนนั้นเป็ นอะไร การผ่าเอาชิ้นเนื้อส่งตรวจจะทาให้แพทย์ทราบการวินิจฉัย ว่าเป็ นมะเร็งจริ งหรื อเปล่า และเป็ นมะเร็ งชนิดไหน  การรักษามะเร็ง การผ่าตัดรักษามะเร็ง เพื่อผลทางการรักษาแพทย์จะผ่าเอามะเร็ งหรื อสงสัยว่าจะเป็ นมะเร็ งออกให้มากที่สุด รวมทั้งต่อมน้ าเหลือง หรื อเนื้ อเยือ ่ ใกล้เคียง  การผ่าเพือบอกระยะของโรคมะเร็ง ่ มะเร็ งบางชนิดเราจะต้องรู ้ระยะของโรคเพื่อวางแผนการรักษามะเร็ ง การผ่าตัดมะเร็ งนี้ส่วนใหญ่จะกระทาพร้อมกับการผ่าตัดเพื่อรักษามะเร็ ง
  • 2.  การผ่าตัดเพือซ่ อมแซม ่ หลังจากที่เราตัดมะเร็ งออกไปแล้วอาจจะทาให้อวัยวะบางอย่างถูกตัดไปด้วย หรื ออาจจะผ่าตัดตกแต่ง เช่น มะเร็ งเต้านม ่ ดังนั้นหากท่านเป็ นมะเร็ งและแพทย์แนะนาให้ผาตัด ท่านปรึ กษาว่าเป้ าหมายของการผ่าตัดคืออะไร การผ่าตัดจะรักษามะเร็งให้ หายขาดหรือไม่ ? การผ่าตัดรักษามะเร็งโดยเฉพาะมะเร็ งในระยะเริ่ มต้นจะหายขาด แต่ในบางกรณี ที่มะเร็ งมีขนาดใหญ่ หรื อมีบางเร็งบางชนิดมีการแพร่ กระจาย มอง ไม่เห็นด้วยตาเปล่า ดังนั้นอาจจะจาเป็ นต้องให้เคมีหรื อฉายแสงฆ่าเซลล์มะเร็ งส่วนที่ตดออกไม่หมด ั แพทย์จะผ่าตัดเอาเนื้องอกออกให้หมด บางครั้งอาจจะต้องผ่าเอาเนื้อดีรอบเนื้องอกออกไปด้วย เพื่อให้แน่ใจว่าได้ตดเนื้องอกออกหมดจึงต้องส่งชิ้น ั เนื้อรอบๆ เนื้องอกเพื่อส่องกล้องว่ามีเซลล์มะเร็ งหลงเหลือหรื อไม่ ั ่ นอกจากนั้นแพทย์จะผ่าเอาต่อมน้ าเหลืองใกล้กบที่เนื้องอกอยูออกไปด้วย และเพื่อให้ แน่ใจว่าจะกาจัดเนื้องอกได้หมดแพทย์จะทาการฉายแสง หรื อให้เคมีบาบัด หรื อให้ ฮอร์โมน รังสี พลังงานสูงมีคุณสมบัติทาลายเซลล์มะเร็ งได้ดี มีผลต่อเซลล์ธรรมดาบ้าง นอกจากฉายแสงรักษามะเร็ งแล้วยังสามารถใช้รักษาโรคอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ มะเร็ งได้อีกด้วย รังสี มีผลทาให้ขอมูลทางพันธุกรรมของเซลล์ หรื อ สิ่ งแวดล้อมทั้งภายในและ ภายนอกเซลล์เสี ยสมดุล เซลล์น้ นไมสามารถแบ่งตัว ้ ั ต่อไปได้และถูกทาลายในที่สุด รังสี รักษาสามารถใช้ในการรักษามะเร็ งหลายชนิดในตาแหน่งต่างๆ ของร่ างกาย สาหรับผูป่วยที่ตองทาการรักษามะเร็ งโดยการฉายรังสี แพทย์รังสี รักษาจะเข้ามามีบทบาทในการรักษาโดยเป็ นผูวางแผนการฉายรังสี กาหนด ้ ้ ้ ่ ั ตาแหน่งเป้ าหมาย การใช้รังสี รักษามะเร็ งในผูป่วยแต่ละราย ตลอดจนระยะเวลารักษามะเร็ ง และขนาดของรังสี ที่ได้จะไม่เท่ากัน ขึ้นอยูกบชนิดของ ้ มะเร็ ง การตอบสนอง และระยะมะเร็ งของแต่ละคนที่มาพบแพทย์ การฉายรังสี น้ นต้องอาศัยประสบการณ์และ ความชานาญ เพื่อให้การรักษามะเร็ ง ั มีประสิ ทธิผลสูงสุด และให้ผป่วยได้รับผลข้างเคียงจากการฉายรังสี นอยที่สุด ู้ ้ การฉายรังสี รักษามะเร็ง แบ่ งเป็ น 2 รู ปแบบ คือ  การฉายรังสี ระยะไกล หรื อ การฉายแสงรักษามะเร็ ง  การฉายรังสี ระยะใกล้ หรื อ การใส่แร่ รักษามะเร็ ง
  • 3. ผู้ป่วยมะเร็งส่ วนใหญ่ จะได้ รับการฉายรังสี ระยะไกล การรักษามะเร็ งส่วนใหญ่จะใช้การฉายรังสี ระยะไกล หรื อการฉายรังสี ภายนอก หรื อเรี ยกสั้นๆ ว่า “ฉายแสง” เป็ นหลัก เครื่ องมือที่ใช้รักษา ได้แก่ เครื่ องโคบอลต์-60, เครื่ องเร่ งอนุภาคอิเล็กตรอน หรื อไลแนค (Linear Accelerator: LINAC) เป็ นต้น ผูป่วยมะเร็ งแต่ละรายจะมีผลข้างเคียงแตกต่าง ้ กัน ขึ้นอยูกบบริ เวณที่ฉายรังสี , ปริ มาณรังสี ที่ได้รับ และเมื่อฉายรังสี ครบ อาการแทรกซ้อนจากการรักษามะเร็ งด้วยรังสี ต่างๆ เหล่านี้ จะค่อยๆ ลด ่ ั น้อยลง หรื อกลับสู่สภาวะปกติได้  การฉายรังสี ระยะใกล้ หรือ การใส่ แร่ เป็ นการรักษามะเร็ งโดยใส่แร่ ปริ มาณสูงแบบชัวคราวหรื อถาวรเข้าไปที่เนื้อเยือ หรื อโพรงอวัยวะต่างๆ ของร่ างกาย แร่ ที่ใช้ในการรักษามะเร็ ง ได้แก่ ่ ่ แร่ อิริเดียม-192, แร่ ซีเซียม-137,เรเดียม, ไอโอดีน, อีร์เดียม, โคบอลล์, คาลิฟอร์เนียม เป็ นต้น เมื่อผูป่วยได้รับการฉายแสงหรื อใส่แร่ เสร็ จแล้ว ผูป่วย ้ ้ สามารถกลับบ้านได้ ไม่จาเป็ นต้องนอนค้างที่โรงพยาบาล สามารถไปทางานและอยูร่วมกับผูอ่ืนได้เหมือนคนทัวไป รวมทั้งอยูใกล้ชิดกับเด็ก, คน ่ ้ ่ ่ ท้อง และญาติได้ เนื่ องจากการฉายแสงและการใส่แร่ เป็ นการรักษามะเร็ งเฉพาะบริ เวณที่เป็ นโรค เมื่อรักษามะเร็ งเสร็ จ แสงหรื อแร่ ที่ใช้รักษามะเร็ง ่ จะไม่ตกค้างอยูในตัวผูป่วย ้ การใช้รังสี 2 ส่วนนี้ สามารถใช้เดี่ยว ๆ หรื อใช้ร่วมกันก็ได้ข้ ึนอยูกบดุลยพินิจของแพทย์ผเู ้ ชี่ยวชาญ ด้านรังสี รักษามะเร็ ง ่ั  ใช้รังสี เพียงอย่างเดียว โดยมากเป็ นการรักษาเพื่อให้หายขาดสาหรับมะเร็งระยะแรก ๆ เช่น มะเร็งบริ เวณศีรษะและคอ มะเร็ งปากมดลูก เป็ นต้น  ใช้รังสี ร่วมกับการผ่าตัดโดยอาจใช้ก่อนหรื อภายหลังผ่าตัด และปั จจุบนมีการใช้รังสี ในระหว่างการทาผ่าตัดได้ดวย ทาให้ผลการรักษา ั ้ มะเร็ งของอวัยวะภายในได้ผลดีข้ ึน  ใช้รังสี ร่วมกับเคมีบาบัด อาจให้รังสี ก่อนหรื อหลังหรื อให้พร้อม ๆ กับการใช้ยาเคมีบาบัดก็ได้ ขึ้นอยูกบดุลยพินิจของคณะแพทย์ที่รักษา ่ั  ใช้รังสี ร่วมกับการผ่าตัด เคมีบาบัดรวมถึงชีวบาบัดผสมผสานกัน 1. เพื่อผลการรักษามะเร็ งให้หายขาด โดยมากเป็ นผูป่วยในระยะหนึ่งถึงสอง ้ 2. เพื่อบรรเทาอาการ ในกลุ่มนี้ไม่สามารถรักษามะเร็ งให้หายขาดได้โดยรังสี แต่เป็ นการบรรเทา อาการปวด อาการแน่นหน้าอก, หายใจ ลาบาก, อาการเลือดออกมาก เป็ นต้น รังสี รักษามะเร็ งเป็ นการรักษามะเร็ งที่ไม่มีความเจ็บปวด ไม่เสี ยเลือด และการรักษามะเร็ งด้วยรังสี ส่วนใหญ่เป็ นการรักษาแบบผูป่วยนอก ไม่ตอง ้ ้ นอนพักรักษาตัวที่โรงพยาบาล เผลทางด้านรังสี ยงไม่เกิดขึ้นทันที แต่เมื่อผูป่วยมะเร็ งได้รับการฉายรังสี เป็ นระยะเวลาหนึ่ง จึงจะเริ่ มมีผลข้างเคียง ั ้ หรื อผลแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นจากการฉายรังสี เช่น คลื่นไส้, อาเจียน, ผมร่ วง, ผิวหนังมีสีคล้ าขึ้น เป็ นต้น
  • 4. เคมีบาบัด คือ การรักษามะเร็ งด้วยยาเพื่อควบคุมหรื อทาลายเซลล์มะเร็ ง การออกฤทธิ์ยบยั้งการ ั เจริ ญเติบโตและแบ่งตัวของเซลล์มะเร็ ง และทาลายเซลล์มะเร็ ง การรักษามะเร็ งด้วยเคมีบาบัดอาจ ่ ั มีผลข้างเคียง เช่น คลื่นไส้ อาเจียน ปากอักเสบ ผมร่ วง มากหรื อน้อยขึ้นอยูกบชนิดของยา สภาวะ ความแข็งแรงของร่ างกาย ความพร้อมทางด้านจิตใจของผูป่วยมะเร็งด้วย ้ ่ ่ ั แพทย์จะสังใช้ยารักษามะเร็ งชนิดใดขึ้นอยูกบชนิดและตาแหน่งของมะเร็ ง และสุขภาพของผูป่วยมะเร็ ง ปั จจุบนการใช้ยารักษาโรคมะเร็งร่ วมกัน ้ ั หลายชนิดจะให้ผลที่มีประสิ ทธิภาพมากกว่าการใช้ยาชนิดเดียว ยารักษามะเร็ งมีท้ ง ชนิดน้ า ชนิดเม็ด ชนิดฉี ด ยารักษามะเร็ งไม่ทาให้เกิดความ ั เจ็บปวดมากไปกว่ายาที่ใช้รักษาโรคอื่นๆ  ยารักษามะเร็งชนิดรับประทาน เคมีบาบัดรักษามะเร็ งชนิดรับประทานเป็ นวิธีให้ยาผูป่วยมะเร็งที่สะดวกที่สุด ยารักษามะเร็ งจะถูกดูดซึม เข้าสู่กระแสเลือดทางเยือบุผนังกระเพาะ ้ ่ อาหาร และเยือบุผนังลาไส้เล็ก แต่ยารักษามะเร็ งบางชนิดไม่สามารถทานได้โดยตรง เพราะอาจทาลายเยือบุผนังกระเพาะอาหาร จึงต้องให้ยารักษา ่ ่ มะเร็ งโดยวิธีฉีดเท่านั้น  ยารักษามะเร็งชนิดฉีดเข้ ากล้ ามเนือ ้ ยารักษามะเร็ งบางชนิด มีประสิ ทธิภาพดีที่สุดเมื่อถูกปล่อยอย่างช้าเข้าสู่กระแสเลือด แต่ยารักษามะเร็ งจะนิยมฉีดเข้ากล้ามเนื้อมากกว่าฉี ดเข้าหลอด เลือกโดยตรง  ยารักษามะเร็งชนิดฉีดเข้ าหลอดเลือดดาหรือผสมกับของเหลวอืนทีให้ ทางหลอดเลือดดา ่ ่ ยารักษามะเร็ งที่ก่อให้เกิดการระคายเคืองหรื อทาลายเนื้อเยือ จะถูกฉี ดเข้าหลอดเลือดดาและกระแสเลือดโดยตรง ดังนั้นกระแสเลือดจะทาให้ยา ่ รักษามะเร็ งเจือจางอย่างรวดเร็ วและเริ่ มทางานได้ทนที ั ่ ั ระยะเวลารักษามะเร็งขึ้นอยูกบ ชนิดและระยะของมะเร็ งที่ผป่วยเป็ น รวมทั้งผลการตอบสนองต่อยารักษามะเร็ งของผูป่วยแต่ละราย โดย ู้ ้ แพทย์ผเู ้ ชี่ยวชาญจะเป็ นผูวเิ คราะห์แนะนาและกาหนดเวลาตลอดจนเลือกยารักษามะเร็ งที่ได้ผลดีที่สุดต่อผูป่วย ้ ้ ความถี่ของการให้ยาเคมีบาบัด ่ ั แตกต่างกันขึ้นอยูกบสูตรยารักษามะเร็ งที่ใช้ และสภาพร่ างกายของผูป่วย เช่น ทุกวัน ทุกสัปดาห์ หรื อทุกเดือน บางครั้งอาจต้องหยุดยารักษามะเร็ ง ้ ชัวคราว เพื่อให้ร่างกายมีเวลาพัก และซ่อมแซมเซลล์ปกติให้แข็งแรงพอที่จะให้ยารักษามะเร็ งครั้งต่อไปได้ ่ ผูป่วยมะเร็งบางรายอาจท้อแท้ เนื่องจากระยะเวลารักษามะเร็ งยาวนาน หากกังวลใจ ควรปรึ กษาแพทย์ แพทย์อาจปรับปรุ งแผนการรักษา ้ มะเร็ งให้เหมาะสมขึ้น ควรติดตามผลการรักษามะเร็ งเป็ นระยะ มาตรวจตรงตามแพทย์นด ทานยารักษามะเร็ งตรงตามแผนการรักษารักษามะเร็ง ั การได้ยาไม่ครบหรื อระยะเวลาไม่ตรงกาหนด ก่อให้เกิดผลเสี ยต่อการรักษามะเร็ ง ถ้ามีเหตุจาเป็ นที่จะต้องเลื่อนระยะเวลาการให้ยารักษามะเร็ งควร
  • 5. ปรึ กษาแพทย์ก่อนทุกครั้ง เมื่อได้รับยาเคมีบาบัดรักษามะเร็ง ผูป่วยบางรายอาจมีผลข้างเคียงเกิดขึ้นได้ การบาบัดรักษามะเร็ งตั้งแต่เริ่ มต้นจะได้ผลดีกว่าการรักษามะเร็ งเมื่อ ้ เป็ นมากแล้ว ผลข้างเคียงการรักษามะเร็ งบางประการถ้าไม่รักษาทันท่วงที อาจนาไปสู่ผลแทรกซ้อนที่รุนแรงได้ นาไปสู่อาการช็อคจากการติดเชื้อ ในกระแสเลือดได้ อาการข้างเคียงสาคัญที่ควรปรึ กษาแพทย์ พอสรุ ปได้ดงนี้ั  ไอ มีเสมหะ  มีการติดเชื้อ  บวมผิดปกติ  ผื่นขึ้นตามลาตัว  ปวดท้องรุ นแรง  ปั สสาวะเป็ นเลือด  มีแผลในปากและคอ  เหนื่อยหอบ แน่นหน้าอก  คลื่นไส้อาเจียนอย่างรุ นแรง  ท้องผูกหรื อท้องเดินอย่างรุ นแรง  น้ าหนักลด หรื อเพิ่มอย่างรวดเร็ ว  ซึมลง ชัก หรื อมีอาการเกร็ งผิดปกติ  บริ เวณให้ยา ปวดแสบ ปวดร้อน บวมแดง  ไข้สูงเกิน 38 องศาเซลเซียส (101 องศาฟาเรนไฮต์)  เลือดออกง่าย หรื อไม่หยุด หรื อมีจุดเลือดออกตามผิวหนัง ่ แต่เนื่องจากการรักษามะเร็ งด้วยวิธีการหลักทั้ง 3 วิธีการ ยังไม่สามารถรักษามะเร็ งให้หายขาดได้ทุกราย บางรายที่ดูเหมือนอาการดีข้ ึน แต่ผานไป ไม่กี่ปีโรคมะเร็ งก็กลับมาเป็ นอีก คราวนี้ส่วนใหญ่จะแพร่ กระจายไปทัวร่ างกายแม้การใช้ยาเคมีบาบัดรุ่ นใหม่มาทาการรักษา แต่ดูเหมือน ่ ผลการรักษาก็ยงไว้ใจไม่ได้ โดยที่การรักษามะเร็ งเหล่านี้มาพร้อมกับการทาลายภูมิคุมกันของผูป่วยมะเร็ ง และไม่เพียงแต่จดการกับเซลล์มะเร็ ง ั ้ ้ ั เท่านั้น แต่ยงทาลายเซลล์ปกติดวย นอกจากนี้ยงทาให้เกิดพิษต่ออวัยวะในร่ างกายอย่างสูง ส่งผลกระทบต่อสุขภาพมากยิงขึ้น ั ้ ั ่ ศูนย์การรักษามะเร็ง ด้วยหลักการแพทย์ทางเลือก Wholly Medical Center
  • 6. 1. โปรแกรมการรักษามะเร็ง NATURAL KILLER CELL AND TARGET CELL THERAPY (เซลล์เพชฌมาต) 2. โปรแกรมการรักษามะเร็ง TUMOR FIGHTER (เสริ มภูมิตานเซลล์มะเร็ ง) ้ 3. โปรแกรมการรักษามะเร็ง NEW REGENERIST TUMOR FIGHTER 4. โปรแกรมการรักษามะเร็ง MEGA C PLUS 4. การตรวจโรคมะเร็ งด้วยการถอดรหัสพันธุกรรม GENE DIAGNOSTICS สอบถามเพิมเติมเกียวกับรายละเอียดการรักษามะเร็งโดยตรงที่ Wholly Medical Center ่ ่ ั้ ตึก 253 ชน 21 อโศก ซอยสุขมวิท 21 ุ ตรงข ้าม มศว. ประสานมิตร ติดรถไฟฟ้ าใต ้ดินสถานีเพชรบุร ี โทร.02-664-3027 9.00 - 19.00 น. ทุกวันไม่เว ้นวันหยุดราชการ Email:crm@whollymedical.com ตลอด 24 ชวโมง ั่ ข้ อมูลอ้ างอิง whollymedical.com sites.google.com/site/plapakhos/ca1 bangkokhospital.com