SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 48
Baixar para ler offline
โครงงานภาษาไทย
คาไทยที่มักเขียนผิด
จัดทาโดย
นายพงศ์ภาณุ ด้วงไข่ เลขที่ 9
นายภูมินทร์ จันทานวน เลขที่ 11
นางสาวธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล เลขที่ 18
นางสาวอภิญญา ทศภานนท์ เลขที่ 24
นางสาวบัณฑิตา คมคาย เลขที่ 28
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4
ครูที่ปรึกษา
นางสาวณิศชญามณฑ์ แย้มนุช
โครงงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาภาษาไทย ท32102
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง
ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
โครงงานภาษาไทย
คาไทยที่มักเขียนผิด
จัดทาโดย
นายพงศ์ภาณุ ด้วงไข่ เลขที่ 9
นายภูมินทร์ จันทานวน เลขที่ 11
นางสาวธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล เลขที่ 18
นางสาวอภิญญา ทศภานนท์ เลขที่ 24
นางสาวบัณฑิตา คมคาย เลขที่ 28
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4
ครูที่ปรึกษา
นางสาวณิศชญามณฑ์ แย้มนุช
โครงงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาภาษาไทย ท32102
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง
ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ก
ชื่อ : นายพงศ์ภาณุ ด้วงไข่ เลขที่ 9
นายภูมินทร์ จันทานวน เลขที่ 11
นางสาวธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล เลขที่ 18
นางสาวอภิญญา ทศภานนท์ เลขที่ 24
นางสาวบัณฑิตา คมคาย เลขที่ 28
ชื่อโครงงาน : คาไทยที่มักเขียนผิด
กลุ่มสาระการเรียนรู้ : ภาษาไทย ท32102
สถานศึกษา : โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง
ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ครูที่ปรึกษาโครงงาน : นางสาวณิศชญามณฑ์ แย้มนุช
ปีการศึกษา : 2562
บทคัดย่อ
โครงงาน เรื่อง คาไทยที่มักเขียนผิด ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อรวบรวมคาที่มักเขียนผิดใน
ภาษาไทย แล้วค้นคว้าแก้ไขให้ถูกต้อง 2) เพื่อเขียนคาในภาษาไทยให้ถูกต้องตามแบบพจนานุกรม ฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 3) เพื่อเป็นศึกษาค้นคว้า รวบรวมการสะกดคาที่ถูกต้องให้กับคนรุ่นต่อ ๆ ไป
จากการค้นคว้าข้อมูล การเขียนสะกดคาในภาษาไทยให้ถูกต้องนั้นนับเป็นสิ่งที่สาคัญอย่างยิ่ง แสดงถึงความ
เข้าใจ และให้ความสาคัญกับภาษาซึ่งเป็นมรดกล้าค่าของไทย จาเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
หลักเกณฑ์การเขียน และต้องหมั่นฝึกฝนเขียนอยู่เสมอ แต่ปัจจุบันคาภาษาไทยสามารถเขียนไปได้หลากหลาย
แบบ ทั้งคาพ้องรูปพ้องเสียงต่าง ๆ ทาให้เกิดความสับสน และด้วยสังคมที่เปลี่ยนไปจากเมื่อก่อน คนไทย
โดยเฉพาะกลุ่มวัยรุ่นเริ่มตามกระแสการเขียนคาผิด ๆ เพื่อทาตัวให้เข้ากับสังคมปัจจุบันจนทาให้เกิดการเขียน
คาผิดไม่ตรงตามหลักพจนานุกรมไทย ทางคณะผู้จัดทาจึงมีความประสงค์ที่จะรวบรวมคาภาษาไทยที่มักเขียน
ผิด ซึ่งเป็นคาที่พวกเราคุ้นเคยจากการฟังและการพูด และทาตารางสรุปคาไทย โดยเรียงจากพยัญชนะ ก-ฮ
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ศึกษาในการทาโครงงาน คือ อินเตอร์เน็ต คือ เว็บไซต์ต่าง ๆ และสื่อสังคมออนไลน์
ได้แก่ เฟซบุ๊ก และทวิตเตอร์ โดยรวบรวมคาที่เขียนสะกดผิดจากแหล่งต่าง ๆ แล้วแก้ไขคาที่เขียนผิดให้ถูกต้อง
และทาตารางสรุปคาไทยที่มักเขียนผิดโดยจัดเรียงตามแบบพจนานุกรม พบว่า คาที่มักเขียนสะกดผิดส่วนมาก
จะอยู่ในหมวดตัวอักษร ป พ ส และ อ ส่วนหมวดตัวอักษรที่ทางคณะผู้จัดทายังไม่พบ หรือไม่มีการเขียนใช้บน
อินเตอร์เน็ตและสื่อสังคมออนไลน์เลย ได้แก่ตัวอักษร ฃ ฏ ฑ ฒ ฦ และ ฬ
(โครงงานมีจานวนทั้งสิ้น 45 หน้า)
ข
กิตติกรรมประกาศ
โครงงาน เรื่อง คาไทยที่มักเขียนผิด ฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท32102
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 โดยมีจุดประสงค์เพื่อ
เพื่อรวบรวมคาที่มักเขียนผิดในภาษาไทย แล้วค้นคว้าแก้ไขให้ถูกต้อง และเขียนคาในภาษาไทยให้ถูกต้องตาม
แบบพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554
ทางคณะผู้จัดทาต้องขอขอบคุณอาจารย์ณิศชญามณฑ์ แย้มนุชที่คอยให้คาปรึกษา แนะนาแนวทาง
และให้ความรู้ในการค้นคว้าข้อมูล และการจัดทารายงานฉบับนี้ และขอขอบคุณเพื่อน ๆ
ทุกคนที่ให้ความช่วยเหลือมาตลอด
สุดท้ายนี้ทางคณะผู้จัดทาหวังว่าโครงงาน เรื่อง คาไทยที่มักเขียนผิด ฉบับนี้จะสามารถให้ความรู้ และ
เป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านทุก ๆ ท่าน
คณะผู้จัดทา
ค
สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
บทที่ 1 บทนา
1.1 ที่มาและความสาคัญ 1
1.2 วัตถุประสงค์ 2
1.3 ขอบเขตการศึกษา 2
1.4 นิยามศัพท์เฉพาะ 2
1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 3
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
2.1 ความหมายของภาษา 4
2.2 ความสาคัญของภาษา 4
2.3 องค์ประกอบของภาษา 5
2.4 การเขียนสะกดคา 5
2.5 ความสาคัญของการเขียนสะกดคา 6
2.6 พจนานุกรมภาษาไทย 6
2.7 คาไทยที่มักเขียนผิด 6
2.8 การเรียงลาดับคาตามตัวอักษรในภาษาไทย 6
2.9 วิธีพิจารณาลาดับของคา 7
2.10 การเรียงลาดับคาและวิธีเก็บคา (ฉบับราชบัณฑิตยสถาน) 9
บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน
3.1 การรวบรวมคาไทยที่มักเขียนผิด 12
3.2 การสรุปเรียงคาตามแบบพจนานุกรม 12
บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน
4.1 ตารางคาไทยที่มักเขียนผิด 13
บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผล
5.1 สรุปผล 35
5.2 อภิปรายผล 35
5.3 ประโยชน์ที่ได้รับ 35
ง
สารบัญ (ต่อ)
หน้า
5.4 ข้อเสนอแนะ 36
บรรณานุกรม 37
บทที่ 1
บทนา
ที่มาและความสาคัญ
ภาษาไทยเป็นภาษาประจาชาติ ถือเป็นมรดกอันล้าค่าทางวัฒนธรรม อันก่อให้เกิดเป็นเอกภาพ
เสริมสร้างคุณภาพของคนในชาติให้มีความเป็นไทย ภาษาเป็นเครื่องมือติดต่อสื่อสารให้มีประสิทธิภาพ ปัจจุบัน
คนไทยใช้ภาษาไทยทั้งในภาษาพูดและภาษาเขียนในการแสวงหาความรู้และประสบการณ์ ส่งเสริมภูมิปัญญา
และเป็นหลักฐานในการค้นคว้า บันทึกเรื่องราวต่าง ๆ ภาษาไทยจึงเป็นสมบัติของชาติที่ควรค่าแก่การเรียนรู้
(สมพงษ์ ศรีพยาต. 2553 : 1) ดังที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงมีพระราชดารัสในที่
ประชุมของชุมนุมภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถึงความสาคัญของภาษาไทยไว้ดังนี้
(กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ. 2539 : 8)
ประเทศไทยนั้นมีภาษาของเราเอง ซึ่งต้องหวงแหน ประเทศใกล้เคียงของเราหลาย
ประเทศมีภาษาของตนเองแต่ว่าเขาไม่แข็งแรง เขาต้องพยายามหาหนทางที่จะสร้างภาษาของ
ตนเองไว้มั่นคง เราโชคดีที่มีภาษาของตนเองมาแต่โบราณกาล ซึ่งสมควรอย่างยิ่งที่ต้องรักษาไว้
ปัญหาเฉพาะด้านในการรักษาภาษานี้มีหลายประการ อย่างหนึ่งต้องรักษาให้บริสุทธิ์ในทางการ
เขียน คือเขียนให้ถูกต้องชัดเจน อีกอย่างหนึ่งต้องรักษาให้บริสุทธิ์ในวิธี หมายความว่าใช้คามา
เขียนให้ถูกต้องชัดเจน ซึ่งนับเป็นปัญหาที่สาคัญ ปัญหาที่สามคือ ความร่ารวยในคาของ
ภาษาไทยที่พวกเรานึกว่ารวยไม่พอ จึงต้องมีการบัญญัติคาศัพท์ใหม่มาใช้
ทักษะที่นับว่ามีความสาคัญต่อการเรียนรู้ภาษาไทยอย่างมาก ได้แก่ ทักษะการเขียนเพราะการเขียน
เป็นการถ่ายทอดการคิด เป็นเครื่องมือในการพัฒนาการคิด สติปัญญา และทัศนคติ สามารถนาไปใช้ใน
ชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในท่ามกลางสังคมยุคแห่งข้อมูลข้าวสารเช่นปัจจุบันนี้
บุคคลจาเป็นต้องติดต่อสื่อสารกันมากขึ้น ทักษะการเขียนจึงจาเป็นและทวีความสาคัญขึ้นเป็นลาดับ เพราะ
การเขียนถ่ายทอดความคิดความรู้สึกและความเข้าใจของตนเองออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อสื่อ
ความหมายให้คนอื่นเข้าใจได้อย่างกว้างขวางและสามารถเก็บไว้เป็นหลักฐานอ้างอิงได้ การเขียนที่ไม่สมบูรณ์
เพราะเขียนสะกดคาผิดหรือข้อความผิด ย่อมทาให้การสื่อสารขาดประสิทธิภาพ ทั้งยังอาจก่อให้เกิดความ
เสียหายร้ายแรงได้ เช่น กรณีเขียนหนังสือสัญญาต่าง ๆ ไม่ถูกต้อง (พวงเล็ก. 2533 : 174)
การเขียนสะกดคาในภาษาไทยให้ถูกต้องนั้นนับเป็นสิ่งที่สาคัญอย่างยิ่ง การเขียนคาภาษาไทยได้
ถูกต้องเป็นการแสดงถึงความเข้าใจ และให้ความสาคัญกับภาษาซึ่งเป็นมรดกล้าค่าของไทย จึงจาเป็นต้อง
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์การเขียนคานั้น ๆ และต้องหมั่นฝึกฝนเขียนอยู่เสมอ แต่ปัจจุบันคา
ภาษาไทยสามารถเขียนไปได้หลากหลายแบบ อีกทั้งคาพ้องรูปพ้องเสียงต่าง ๆ ทาให้เกิดความสับสน และ
ด้วยสังคมที่เปลี่ยนไปจากเมื่อก่อนอย่างเห็นได้ชัด คนไทยโดยเฉพาะกลุ่มวัยรุ่นเริ่มตามกระแสการเขียนคาผิด
ๆ เพื่อทาตัวให้เข้ากับสังคมปัจจุบันจนทาให้เกิดการเขียนคาผิดไม่ตรงตามหลักพจนานุกรมไทย ทางคณะ
2
ผู้จัดทาจึงมีความประสงค์ที่จะรวบรวมคาภาษาไทยที่มักเขียนผิด ซึ่งเป็นคาที่พวกเราคุ้นเคยจากการฟังและ
การพูด ทั้งนี้เพื่อให้ง่ายต่อการศึกษาและเกิดประโยชน์สูงสุด พวกเราจะขอนาเสนอคาไทยที่มักเขียนผิดพร้อม
ทั้งความหมาย โดยเรียงจากพยัญชนะ ก-ฮ
วัตถุประสงค์
1. เพื่อรวบรวมคาที่มักเขียนผิดในภาษาไทย แล้วค้นคว้าแก้ไขให้ถูกต้อง
2. เพื่อเขียนคาในภาษาไทยให้ถูกต้องตามแบบพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน
พ.ศ. 2554
3. เพื่อเป็นศึกษาค้นคว้า รวบรวมการสะกดคาที่ถูกต้องให้กับคนรุ่นต่อ ๆ ไป
ขอบเขตการศึกษา
ขอบเขตด้านระยะเวลา
ระยะเวลาในการทาโครงงานฉบับนี้ ดาเนินการในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562
ตั้งแต่วันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ.2562 ถึงวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ.2562
ขอบเขตด้านประชากร
ศึกษารวบรวมคาไทยจากอินเตอร์เน็ต คือ เว็บไซต์ต่าง ๆ และจากสื่อสังคมออนไลน์ ได้แก่
เฟซบุ๊ก และทวิตเตอร์ และนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4 (นักเรียนจานวน 28 คน)
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
นิยามศัพท์เฉพาะ
1. การเขียนสะกดคา หมายถึง การเขียนคาโดยใข้พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และตัวสะกดการันต์
เรียบเรียงให้ถูกต้องและได้ความหมาย ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2554
2. คาที่มักเขียนผิด หมายถึง คาไทยที่มักมีการเขียนสะกดคาผิด ๆ ทั้งจากคาพ้องรูปพ้องเสียงต่าง ๆ
ทาให้เกิดความสับสน และจากกระแสการเขียนคาผิด ๆ ในกลุ่มวัยรุ่น
3. พจนานุกรมไทย หมายถึง พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2554 ซึ่งถือเป็น
หนังสืออ้างอิงที่ได้ประมวลคาทั้งหมดที่มีอยู่ในภาษาไทย ให้คาอ่าน ความหมาย ตลอดจนที่มาของคา
3
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับคาที่มักเขียนผิดในภาษาไทยและแก้ไขให้ถูกต้อง
2. ผู้ศึกษาสามารถเขียนคาภาษาไทยได้ถูกต้องตามแบบพจนานุกรมไทย
3. โครงงานฉบับนี้สามารถนาไปเผยแพร่และเป็นประโยชน์ให้กับผู้ที่ศึกษาได้
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ในการศึกษาโครงงานเรื่อง คาไทยที่มักเขียนผิด ทางคณะผู้จัดทาได้ทาการศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูล
จากเอกสารที่เกี่ยวข้องและจากเว็บไซต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตโดยจะขอนาเสนอตามลาดับ ดังนี้
1. ความหมายของภาษา
2. ความสาคัญของภาษา
3. องค์ประกอบของภาษา
4. การเขียนสะกดคา
5. ความสาคัญของการเขียนสะกดคา
6. พจนานุกรมภาษาไทย
7. คาไทยที่มักเขียนผิด
8. การเรียงลาดับคาตามตัวอักษรในภาษาไทย
9. วิธีพิจารณาลาดับของคา
10. การเรียงลาดับคาและวิธีเก็บคา (ฉบับราชบัณฑิตยสถาน)
ความหมายของภาษา
กาชัย ทองหล่อ (2533: 12-16) ได้กล่าวถึงความหมายของภาษาว่า “ภาษา” เป็นคาภาษาสันสกฤต
แปลตามรูปศัพท์หมายถึงคาพูดหรือถ้อยคาภาษาเป็นเครื่องมือของมนุษย์ที่ใช้ในการสื่อความหมายให้สามารถ
สื่อสารติดต่อทาความเข้าใจกันโดยมีระเบียบของคาและเสียงเป็นเครื่องกาหนดในพจนานุกรมฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 ให้ความหมายของคาว่าภาษาคือเสียงหรือกิริยาอาการที่ทาความเข้าใจกันได้
คาพูดถ้อยคาที่ใช้พูดจากัน
ภาษาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. ภาษาที่เป็นถ้อยคา
2. ภาษาที่ไม่เป็นถ้อยคา
ความสาคัญของภาษา
ภาษาเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการสื่อสารของมนุษย์ มนุษย์ติดต่อกันได้เข้าใจก็ด้วยอาศัยภาษาเป็น
เครื่องมือช่วยที่ดีที่สุด ถือเป็นสิ่งช่วยยึดให้มนุษย์มีความผูกพันต่อกันเนื่องจากแต่ละภาษาต่างก็มีระเบียบแบบ
แผนของคนซึ่งเป็นที่ตกลงกันในแต่ละชาติแต่ละกลุ่มชนการพูดภาษาเดียวกันจึงเป็นสิ่งที่ทาให้คนรู้สึกว่าเป็น
พวกเดียวกันมีความผูกพันต่อกันในฐานะที่เป็นชาติเดียวกัน ซึ่งเป็นวัฒนธรรมอย่างหนึ่งของมนุษย์และเป็น
เครื่องแสดงให้เห็นวัฒนธรรมส่วนอื่น ๆ ของมนุษย์ด้วย เราจึงสามารถศึกษาวัฒนธรรมตลอดจนเอกลักษณ์ของ
ชนชาติต่าง ๆ ได้จากศึกษาภาษาของชนชาตินั้น ๆ
5
ภาษาศาสตร์มีระบบกฎเกณฑ์ ผู้ใช้ภาษาต้องรักษากฎเกณฑ์ในภาษาไว้ด้วยอย่างไรก็ตามกฏเกณฑ์ใน
ภาษานั้นไม่ตายตัวเหมือนกฏวิทยาศาสตร์แต่มีการเปลี่ยนแปลงไปตามธรรมชาติของภาษาเพราะเป็นสิ่งที่
มนุษย์ตั้งขึ้นจึงเปลี่ยนแปลงไปตามกาลสมัยตามความเห็นชอบของส่วนรวม และยังเป็นเป็นศิลปะที่มีความ
งดงามในกระบวนการใช้ภาษากระบวนการใช้ภาษานั้นมีระดับและลีลาขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ หลายด้านเช่น
บุคคลกาลเทศะประเภทของเรื่องฯลฯการที่จะเข้าใจภาษาและใช้ภาษาได้ดีจะต้องมีความสนใจศึกษาสังเกตให้
เข้าถึงรสของภาษาด้วย
องค์ประกอบของภาษา
องค์ประกอบของภาษาโดยทั่วไปจะมี 4 ประการ คือ
1. เสียง นักภาษาศาสตร์จะให้ความสาคัญของเสียงพูดมกกว่าตัวเขียนที่เป็นลายลักษณ์อักษรเพราะ
ภาษาย่อมเกิดจากเสียงที่ใช้พูดกันส่วนภาษาเขียนเป็นสัญลักษณ์ที่ใช้แทนเสียงพูดคาที่ใช้พูดจากันจะ
ประกอบด้วยเสียงสระเสียงพยัญชนะและเสียงวรรณยุกต์แต่บางภาษาก็ไม่มีเสียงวรรณยุกต์เช่นบาลีสันสกฤต
เขมรอังกฤษ
2. พยางค์และคา เป็นกลุ่มเสียงที่เปล่งออกมาแต่ละครั้งจะประกอบด้วยเสียงพยัญชนะเสียงสระและ
เสียงวรรณยุกต์จะมีความหมายหรือไม่มีความหมายก็ได้พยางค์แต่ละพยางค์จะมีเสียงพยัญชนะต้นซึ่งเป็นเสียง
ที่อยู่หน้าเสียงสระพยางค์ทุกพยางค์จะต้องมีเสียงพยัญชนะต้นเสียงสระและเสียงวรรณยุกต์บางพยางค์ก็อาจมี
เสียงพยัญชนะสะกดประกอบอยู่ด้วยเช่น
“ปา” พยัญชนะต้น ได้แก่ เสียงพยัญชนะ / ป /
เสียงสระ ได้แก่ เสียงสระอา
เสียงวรรณยุกต์ ได้แก่ เสียงสามัญ
3. คา เป็นการนาเสียงพยัญชนะ เสียงสระ และเสียงวรรณยุกต์มาประกอบกันทาให้เกิดเสียงและมี
ความหมาย คาจะประกอบด้วยคาพยางค์เดียวหรือหลายพยางค์ก็ได้
4. ประโยค เป็นการนาคามาเรียงกันตามลักษณะโครงสร้างของภาษาที่กาหนดเป็นกฎเกณฑ์หรือ
ระบบตามระบบทางไวยากรณ์ของแต่ละภาษาและทาให้ทราบหน้าที่ของคา
การเขียนสะกดคา
เว็บสเตอร์ (Webster. 1966) กล่าวว่า การเขียนสะกดคาคือศิลปะหรือเทคนิคในการสร้างคาโดยใช้
อักษรตามแบบที่สังคมยอมรับ
อดุลย์ ไทรเล็กพิม (2528 : 63) ได้ให้ความหมายของการสะกดคาว่า เป็นการเขียนโดยเรียงลาดับ
พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ รวมทั้งตัวสะกดการันต์ ภายในคาหนึ่ง ๆ ได้ถูกต้องตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิต
สถาน
6
อรพรรณ ภิญโญภาพ (2529 : 14) ได้อธิบายว่า การเขียนสะกดคา เป้นการฝึกทักษะการเขียนให้
ถูกต้องตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถานแก่ผู้เรียน และจะต้องให้ผู้เรียนเข้าใจการประสมคา รู้หลักเกณฑ์
ที่จะเรียบเรียงลาดับตัวอักษรในคาหนึ่ง ๆ ให้ได้ความหมายที่ต้องการ เพื่อจะนาประโยชน์ไปใช้ในการสื่อสาร
จากความหมายของการเขียนสะกดคาที่กล่าวมาข้างต้น สรุปได้ว่า การเขียนสะกดคา หมายถึง การ
เขียนโดยเรียงลาดับพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และตัวสะกดเป็นคาได้อย่างถูกหลักเกณฑ์ และถูกต้องตาม
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน เพื่อให้สามารถสื่อความหมายได้ถูกต้อง
ความสาคัญของการเขียนสะกดคา
การเขียนสะกดคาให้ถูกต้อง มีความสาคัญในเรื่องการสื่อความหมายหากเขียนสะกดผิดพลาด จะทา
ให้การสื่อความหมายผิดเพี้ยนไป เข้าใจไม่ตรงกัน
พจนานุกรมภาษาไทย
พจนานุกรมไทยเป็นหนังสือสาหรับค้นคว้าความหมายของคาให้ความรู้เกี่ยวกับคาในภาษา เช่นการ
เขียนสะกด การอ่านออกเสียง ชนิดของคาในไวยากรณ์ ที่มาของคาความหมาย ลักษณะของคาให้คาที่มี
ความหมายเหมือนกันหรือตรงกันข้าม ประวัติของตา ชื่อต่าง ๆ ที่สาคัญ เป็นต้น พจนานุกรมที่ใช้เป็นบรรทัด
ฐานในการเขียนสะกดการันต์ในภาษาไทยคือพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
คาไทยที่มักเขียนผิด
คาไทยที่มักเขียนผิด หมายถึง คาไทยที่มักมีการเขียนสะกดคาผิด จากการสะกด จากวรรณยุกต์ จาก
คาพ้องเสียงทาให้ตัวสะกดไม่ตรงตามในพจนานุกรมภาษาไทย ทาให้เกิดการเขียนผิด การสื่อความหมายผิดไป
จากตรงผู้เขียนต้องการสื่อ
การเรียงลาดับคาตามตัวอักษรในภาษาไทย
วิธีเรียงลาดับคาตามตัวอักษรในภาษาไทย คือ การจัดลาดับก่อนหลังของคาต่างๆ ในภาษาไทยอย่าง
เป็นระบบ เพื่อก่อให้เกิดความสะดวกและรวดเร็วในการค้นหาคา การเรียงลาดับคาอย่างเป็นระบบนี้ถูก
นาไปใช้ประโยชน์โดยทั่วไป เช่น การทาพจนานุกรม การทาดัชนีของหนังสือ การเรียงรายชื่อผู้ติดต่อใน
โทรศัพท์เคลื่อนที่ การเรียงข้อมูลตามตัวอักษรในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่างๆ เป็นต้น โดยการเรียงลาดับคาจะ
มีกฎต่าง ๆ ที่นามาใช้ในการพิจารณาเปรียบเทียบคา
กฎลาดับอักขระ คือ กฎในการจัดเรียงลาดับก่อนหลังของอักขระในภาษาไทย ซึ่งมีความจาเป็นที่ต้อง
ทราบเพื่อใช้ในขั้นตอนการเปรียบเทียบอักขระของคา
กฎลาดับพยัญชนะ
7
จะเรียงลาดับพยัญชนะดังนี้ ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง จ ฉ ช ซ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ
ฟ ภ ม ย ร ฤ ฤๅ ล ฦ ฦๅ ว ศ ษ ส ห ฬ อ ฮ
ข้อสังเกต ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ไม่ใช่พยัญชนะ แต่ถูกนามาพิจารณาร่วมกับพยัญชนะ
กฎลาดับสระ
จะเรียงลาดับรูปสระดังนี้ อะ อั อา อา อิ อี อึ อื อุ อู เอ แอ โอ ใอ ไอ
( ะ ัั า ัา ัิ ัี ัึ ัื ัุ ัู เ แ โ ใ ไ )
ข้อสังเกต การเรียงสระจะยึดตามรูปที่เขียนไม่ใช่เสียง สระผสมจะไม่นามาจัดเรียงโดยตรง (เช่น เ-
ัีย, เ- ัือ, เ-าะ, แ-ะ) แต่จะถูกแยกรูปพิจารณาเป็นอักขระเดี่ยว
กฎลาดับวรรณยุกต์
จะเรียงลาดับดังนี้ ไม้ไต่คู้, ไม้เอก, ไม้โท, ไม้ตรี, ไม้จัตวา, ทัณฑฆาต ( ั็ ั่ ั้ ั๊ ั ั์)
ข้อสังเกต ไม้ไต่คู้ ( ั็) กับทัณฑฆาต ( ั์) ไม่ใช่วรรณยุกต์แต่ถูกนามาพิจารณาร่วมกับวรรณยุกต์
วิธีพิจารณาลาดับของคา
ในแต่ละคาให้พิจารณาพยัญชนะต้นก่อนสระและวรรณยุกต์เสมอ แม้ว่าจะมีสระเขียนไว้ด้านหน้า
ด้านบน หรือด้านล่างของพยัญชนะต้น ก็ต้องพิจารณาดั่งสระนั้นถูกเขียนไว้หลังพยัญชนะต้นเสมอ จากนั้นจับคู่
คาแล้วแยกเปรียบเทียบอักขระทีละคู่ไปตามลาดับในคา จนกว่าจะพบตาแหน่งที่แตกต่าง แล้วจึงใช้กฎลาดับ
อักขระที่กล่าวไว้แล้วก่อนหน้านี้ในการเรียง
1. หากคาที่เปรียบเทียบ ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะต่างกัน ให้ใช้กฎลาดับพยัญชนะได้ทันที เช่น
กลอน จะมาก่อน คลอน เพราะต่างกันที่อักขระแรก ก มาก่อน ค
ศาลา จะมาก่อน สาระ เพราะต่างกันที่อักขระแรก ศ มาก่อน ส
2. หากคาที่เปรียบเทียบ ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะเดียวกัน ให้พิจารณาอักขระถัดไปเรื่อยๆ จนกว่าจะพบอักขระ
ที่ไม่เหมือนกัน เช่น
จักรพรรณ (จ- ัั-ก-ร-พ-ร-ร-ณ) จะมาก่อน จักรพรรดิ (จ- ัั-ก-ร-พ-ร-ร-ด- ัิ) เพราะต่างกันที่
อักขระคู่ที่ 8 โดย ณ มาก่อน ด
3. หากมีคาที่เปรียบเทียบ ขึ้นต้นด้วยสระหน้า (เ แ โ ใ ไ ) ไม่ว่าจะเป็นสระเดียวกันหรือไม่ก็ตาม จะต้องข้าม
ไปพิจารณาพยัญชนะต้นก่อนเสมอ และให้พิจารณาดั่งสระหน้านั้นถูกเขียนอยู่หลังพยัญชนะต้นหนึ่ง
ตาแหน่ง เช่น
แกลบ (ก-แ-ล-บ) จะมาก่อน ครอง (ค-ร-อ-ง) เพราะพยัญชนะต้นต่างกันคือ ก กับ ค
ไกล (ก-ไ-ล) จะมาก่อน เพลง (พ-เ-ล-ง) เพราะพยัญชนะต้นต่างกันคือ ก กับ พ
เกวียน (ก-เ-ว- ัี-ย-น) จะมาก่อน เกิน (ก-เ- ัิ-น) เพราะอักขระคู่ที่ 3 ต่างกัน คือ ว มาก่อนสระอิ
เกวียน (ก-เ-ว- ัี-ย-น) จะมาก่อน ไกล (ก-ไ-ล) เพราะอักขระคู่ที่ 2 ต่างกัน คือ เ มาก่อน ไ
8
เกม (ก-เ-ม) จะมาก่อน แกง(ก-แ-ง) เพราะพยัญชนะต้นเหมือนกันคือ ก จึงต้องเปรียบเทียบคู่ เ กับ แ
เกเร (ก-เ-ร-เ) จะมาก่อน เกลอ (ก-เ-ล-อ) เพราะอักขระคู่ที่ 3 ต่างกัน คือ ร มาก่อน ล
สีแดง (ส- ัี-ด-แ-ง) จะมาก่อน แสดง (ส-แ-ด-ง) มีพยัญชนะต้นเป็น ส เหมือนกัน แต่ สระอี มาก่อน
แ
4. ไม่พิจารณาวรรณยุกต์และเครื่องหมายในตอนแรก ยกเว้นกรณีคาที่เปรียบเทียบต่างกันเฉพาะที่
วรรณยุกต์หรือเครื่องหมาย ก็ให้ใช้กฎลาดับวรรณยุกต์ เช่น
เก็ง, เก่ง, เก้ง, เก๋ง (ก-เ-ง) โดยทั้ง 4 คานี้ต่างกันเฉพาะเครื่องหมายวรรณยุกต์โดยที่ตาแหน่งไม่
ต่างกัน จึงใช้กฎลาดับวรรณยุกต์ได้ทันที
แป้ง (ป-แ-ง) จะมาก่อน แปล๋น (ป-แ-ล-น) เพราะ ง มาก่อน ล โดยไม่ต้องพิจารณาวรรณยุกต์
เก็บ (ก-เ-บ) จะมาก่อน เกม (ก-เ-ม) เพราะ บ มาก่อน ม โดยไม่ต้องพิจารณาเครื่องหมายไม้ไต่คู้
เกร็ง (ก-เ-ร-ง) จะมาก่อน เกเร (ก-เ-ร-เ) เพราะอักขระคู่ที่ 4 คือ ง มาก่อน เ โดยไม่ต้องพิจารณา
เครื่องหมายไม้ไต่คู้
ไส้ไก่ (ส-ไ-ก-ไ) จะมาก่อน ไสยาสน์ (ส-ไ-ย-า-ส-น) เพราะอักขระคู่ที่ 3 คือ ก มาก่อน ย โดยไม่ต้อง
พิจารณาวรรณยุกต์
5. หากคาที่เปรียบเทียบต่างกันเฉพาะตาแหน่งของวรรณยุกต์เท่านั้น ถึงแม้ตัววรรณยุกต์จะต่างกัน ให้ถือ
ว่าพยัญชนะที่ไม่มีวรรณยุกต์กากับมาก่อนตัวที่มีวรรณยุกต์กากับเสมอ เช่น
แหง่ (ห-แ-ง่) จะมาก่อน แห่ง (ห่-แ-ง) เพราะจุดต่างแรกคือตัว ห โดยในคาว่า แหง่ ไม่มีวรรณยุกต์
แหง้ (ห-แ-ง้) จะมาก่อน แห่ง (ห่-แ-ง) เพราะแม้วรรณยุกต์ต่างกัน แต่จุดต่างแรกคือตัว ห โดยในคาว่า
แหง้ ไม่มีวรรณยุกต์กากับ (คาว่า แหง้ เป็นคาสมมติที่ไม่มีความหมาย ใช้เพื่อประกอบการอธิบายเท่านั้น)
9
การเรียงลาดับคาและวิธีเก็บคา (ฉบับราชบัณฑิตยสถาน)
1. ตัวพยัญชนะลาดับไว้ตามตัวอักษร คือ ก ข ฃ ค ฯลฯ จนถึง อ ฮ ไม่ได้ลาดับตามเสียง เช่น จะค้น
คา ทราบ ต้องไปหาในหมวดตัว ท จะค้นคา เหมา ต้องไปหาในหมวดตัว ห ส่วน ฤ ฤๅ ลาดับ ไว้หลังตัว ร และ
ฦ ฦๅ ลาดับไว้หลังตัว ล
2. สระไม่ได้ลาดับไว้ตามเสียง แต่ลาดับไว้ตามรูปดังนี้ ะ ัั า ัิ ัี ัึ ัื ัุ ัู เ แ โ ใ ไ รูปสระที่
ประสมกัน
หลายรูปจะจัดเรียงตามลาดับรูปสระที่อยู่ก่อนและหลังตามลาดับข้างต้นดังได้ลาดับให้ดูต่อไปนี้
1. ) ะ
2. ) ัั (กัน)
3. ) ัั ะ (ผัวะ)
4. ) า
5. ) ัา
6. ) ัิ
7. ) ัี
8. ) ัึ
9. ) ัื
10. ) ัุ
11. ) ัู
12. ) เ
13. ) เ ะ (เกะ)
14. ) เ า (เขา)
15. ) เ าะ (เจาะ)
16. ) เ ัิ(เกิน)
17. ) เ ัี (เสีย)
18. ) เ ัีะ (เดียะ)
19. ) เ ัื (เสือ)
20. ) เ ั ื ะ
(เกือะ)
21. ) แ
22. ) แ ะ (แพะ)
23. ) โ
24. ) โ ะ (โป๊ะ)
25. ) ใ
26. ) ไ
สาหรับตัว ย ว อ นับลาดับอยู่ในพยัญชนะเสมอ
3. การเรียงลาดับคา จะลาดับตามพยัญชนะก่อนเป็นสาคัญ แล้วจึงลาดับตามรูปสระ ดังนั้นคาที่ไม่มี
สระปรากฏเป็นรูปประสมอยู่ด้วย จึงอยู่ข้างหน้า เช่น กก อยู่หน้า กะ หรือ ขลา อยู่หน้า ขะข่า ส่วนคาที่มี
พยัญชนะกับสระปรากฏเป็นรูปประสมกันก็ใช้หลักการลาดับคาข้างต้นเช่นเดียวกัน เช่น จริก จริม จรี จรึง
จรุก และโดยปรกติจะไม่ลาดับตามวรรณยุกต์ เช่น ไต้กง ไต้ฝุ่น ไต่ไม้ แต่จะจัดวรรณยุกต์ เข้าในลาดับต่อเมื่อ
คานั้นเป็นคาที่มีตัวสะกดการันต์เหมือนกัน เช่น ไต ไต่ ไต้ ไต หรือ กระตุ่น กระตุ้น คาที่มี ั็ (ไม้ไต่คู้) จะ
ลาดับอยู่ก่อนวรรณยุกต์ เช่น เก็ง เก่ง เก้ง เกง
4. จาพวกคาที่นาด้วย กระ- บางพวกใช้แต่ กระ- อย่างเดียว บางพวกใช้เป็น กะ- ก็ได้ประเภทที่ใช้
เป็น กะ- ได้นั้น ได้เก็บมารวมพวกไว้ที่ กะ- อีกครั้งหนึ่ง แต่เก็บเฉพาะคาโดยไม่มีบทนิยาม ดังนั้น ถ้าพบคาที่
ขึ้นต้นด้วย กะ ในจาพวกนั้น ให้ดูบทนิยามที่ กระ- เช่น กระทะ กระเปาะ เว้นไว้แต่ที่ใช้ได้ทั้ง 2 อย่างโดย
ความหมายต่างกัน เช่น กระแจะ-กะแจะ กระด้าง-กะด้าง จึงจะมีบทนิยามไว้ทั้ง 2 แห่ง
5. คาที่เพิ่มพยางค์หน้าซึ่งใช้ในคาประพันธ์โบราณ เช่น มี่ เป็น มะมี่ ริก เป็น ระริก ครื้น เป็น คะครื้น
หรือ คระครื้น แย้ม เป็น ยะแย้ม ฯลฯ อันเป็นวิธีที่ภาษาบาลีเรียกว่า อัพภาส และภาษาสันสกฤตเรียกว่า อัภ
ยาส แปลว่า วิธีซ้อนตัวอักษร เช่น ททาติ ททามิ นั้น คาเหล่านี้มีจานวนมาก บางแห่งเก็บรวมไว้ที่คาขึ้นต้น
เช่น คะครื้น เก็บที่ คะ แล้วบอกว่า ใช้นาหน้าคาที่ตั้งต้นด้วยตัว ค มีความแปลอย่างเดียวกับคาเดิมนั้น บาง
10
แห่งเก็บกระจายเรียงไปตามลาดับคา เช่น มะมี่ แต่ก็คงจะเก็บไม่หมด ฉะนั้นถ้าคาใดค้นไม่พบที่ลาดับคา ให้ไป
ดูคาที่เป็นต้นเดิม เช่น ยะแย้ม ดูที่ แย้ม
6. ภาษาถิ่นบางถิ่นพูดสั้น ๆ เช่น กะดะ พูดแต่เพียง ดะ (ไม่มี กะ) กะง้อนกะแง้น พูดแต่เพียง ง้อน
แง้น (ไม่มี กะ) แต่ความหมายของคาเหมือนกันกับคาที่มี กะ นาหน้า คาเช่นนี้เก็บไว้ที่ กะ แห่งเดียว
7. คาที่มีเสียงกลับกัน เช่น ตะกรุด เป็น กะตรุด ตะกร้อ เป็น กะตร้อ ตะกรับ เป็น กะตรับ โดยปกติ
เก็บไว้ทั้งที่อักษร ก และ ต แต่ถ้าค้นไม่พบที่อักษร ก ก็ให้ค้นที่อักษณ ต
8. คาต่อไปนี้ซึ่งเป็นคาที่ใช้มากในบทกลอน คือ
ก. คาที่เติม อา อี หรือ อิน ข้างท้าย เช่น กายา กายี กายิน
ข. คาที่เติม เอศ ข้างท้าย (ตามภาษากวีเรียกว่า ศ เข้าลิลิต ทาคาที่เรียกว่าคาสุภาพให้เป็นคาเอกตามข้อบังคับ
โคลง) เช่น กมเลศ มยุเรศ
ค. คาที่เติม อาการ ข้างท้าย เช่น จินตนาการ คมนาการ ทัศนาการ
ฆ. คาที่เติม ชาติ ข้างท้าย เช่น กิมิชาติ คชาชาติ
คาเหล่านี้มักมีความหมายไม่ต่างไปจากเดิม ได้รวบรวมเก็บไว้ในพจนานุกรมนี้ด้วยแต่อาจไม่หมด
เพราะมีจานวนมาก ถ้าค้นไม่พบในรูปคานั้น ๆ ให้ดูที่คาเดิม เช่น กายา กายี เมื่อค้นที่คา กายา กายี ไม่พบ ให้
ดูที่คา กาย คา กาย มีความหมายอย่างไร กายา กายี ก็มีความหมายเช่นเดียวกันคาอื่น ๆ ให้ค้นดูในทานองนี้
9. ศัพท์ที่มีมูลรากอย่างเดียวกัน แต่แปลงรูปไปได้หลายอย่าง เช่น หิมวัต แปลงรูปเป็นหิมวันต์ หิมวา
หิมวาต หิมวาน หิมพาน โดยความหมายไม่เปลี่ยนไป ได้ให้บทนิยามไว้ที่ศัพท์เดิมคือที่หิมวัต แต่แห่งเดียว ส่วน
ศัพท์ที่แปลงรูปไปจากศัพท์เดิมก็เก็บไว้ต่างหาก แต่บ่งให้ไปดูที่ศัพท์เดิม เช่นหิมวันต์, หิมวา, หิมวาต, หิมวาน
[หิมมะ]- น. หิมวัต.
10. การเรียงลาดับคาที่เป็นนามย่อย เช่น ตะนอย ช่อน คา ไม่ได้เรียงรวมกับตัวสามายนามอย่างที่ใช้
พูด เป็น มดตะนอย ปลาช่อน หญ้าคา แต่ได้เรียงสามานยนาม มด ปลา หญ้า ไว้แห่งหนึ่งตามตัวอักษร และ
เรียงนามย่อย ตะนอย ช่อน คา ไว้ต่างหากตามตัวอักษรนั้น ๆ เว้นแต่คาซึ่งแยกออกไม่ได้เพราะเป็นชื่อของสิ่ง
ใดสิ่งหนึ่งทั้งคา เช่น แมลงภู่ ซึ่งเป็นชื่อของหอยหรือปลาบางชนิด จะเรียงรวมไว้ด้วยกันที่อักษร ม หรือ ปลา
กริม ซึ่งเป็นชื่อขนม ไม่ใช่ปลา จะเรียงรวมไว้ด้วยกันที่อักษร ป ถึงกระนั้นก็มีคาบางคาที่ไม่อาจเรียงตามหลักนี้
ได้ ฉะนั้น คาในทานองนี้เมื่อค้นไม่พบในที่ที่เป็นนามย่อยก็ให้ค้นต่อไปในที่ที่เป็นสามานยนาม เช่นคา น้าตาล
กรวด เมื่อค้นที่ กรวด ไม่พบ ก็ให้ไปค้นที่คา น้าตาล
11. คา 2 คาเมื่อประสมกันแล้ว โดยคาแรกเป็นคาเดียวกับแม่คาหรือคาตั้ง และมีความหมาย
เกี่ยวเนื่องกับคาตั้ง จะเก็บเป็นอนุพจน์ คือ ลูกคาของคาตั้งนั้น ๆ เช่น กดขี่ กดคอ กดหัว เก็บเป็นลูกคาของคา
กด เว้นแต่คาที่ประสมกันนั้นจะมีความหมายเป็นอิสระหรือต่างไปจากคาตั้ง จึงจะแยกเป็นคาตั้งต่างหาก เช่น
ขวัญอ่อน ที่หมายถึงผู้ตกใจง่าย คือ เด็กหรือหญิงซึ่งมักจะขวัญหายบ่อย ๆ เก็บเป็นลูกคาของคา ขวัญ ส่วน
ขวัญอ่อน ที่เป็นชื่อเพลงร้องราชนิดหนึ่ง จะแยกเป็นคาตั้งเพราะมีความหมายต่างออกไป คาลักษณะนี้จะใส่
11
เลขกากับไว้ด้วย เป็น ขวัญอ่อน 1 และ ขวัญอ่อน 2 ส่วนคาที่นามาประสมกันแล้ว มีความหมายไม่ต่างจากคา
เดิม แปลได้คาต่อคา จะไม่เก็บ เช่น ข้าวผัด ไม่เก็บเป็นลูกคาของ ข้าวเพราะมีความหมายเท่าคาเดิมแต่ละคา
12. คาคาเดียวกันซึ่งอาจประสมอยู่ข้างหน้าหรือข้างหลังคาอื่น ๆ เช่น น้า ประสมอยู่ในคาต่าง ๆ เป็น
แม่น้า ลูกน้า น้าใจ น้าต้อย ถ้าคาที่อยู่ข้างหน้าคา น้า เป็นอักษรตัวอื่น จะลาดับไว้ที่อักษรนั้น ๆ อย่างคา
แม่น้า ลาดับไว้ที่อักษร ม ลูกน้า ลาดับไว้ที่อักษร ล ไม่ลาดับไว้ที่อักษร น แต่ถ้าคา น้าอยู่ข้างหน้า ก็ลาดับไว้ที่
อักษร น โดยเป็นลูกคาของคา น้า เช่น น้ากรด น้าแข็ง น้าย่อย
บทที่ 3
วิธีการดาเนินงาน
โครงงานฉบับนี้เป็นการทาโครงงานเพื่อศึกษาเกี่ยวกับคาไทยที่มักเขียนผิด โดยวิธีการดาเนินงานของ
การทาโครงงานฉบับนี้ ทางคณะผู้จัดทาจะแบ่งเป็น 2 ส่วน ดังนี้
การรวบรวมคาไทยที่มักเขียนผิด
ขั้นตอนการดาเนินงาน
1. รวบรวมคาไทยที่มักเขียนผิดบนอินเตอร์เน็ตโดยการค้นคว้าจากเว็บไซต์ต่าง ๆ
2. รวบรวมคาไทยที่มักเขียนผิดจากสื่อสังคมออนไลน์ ได้แก่ เฟซบุ๊ก และทวิตเตอร์ โดยการรวบรวม
จากโพสต์ต่าง ๆ บนสื่อสังคมออนไลน์
3. เก็บรวบรวมคาต่าง ๆ ที่มีการเขียนสะกดคาผิดจัดแบ่งไว้ตามตัวอักษรและรวมคาเขียนสะกดผิดที่มี
ความหมายเดียวกันเข้าไว้กัน
4. แก้ไขคาที่เขียนผิดให้ถูกต้อง โดยเป็นคาที่เขียนถูก คาที่เขียนผิด แบ่งไปตามตัวอักษร
การสรุปเรียงคาตามแบบพจนานุกรม
ขั้นตอนการดาเนินงาน
1. ทาตารางสรุปคาไทยที่มักเขียนผิดโดยจัดเรียงตามแบบพจนานุกรม โดยเรียงลาดับดังนี้
1.1. พยัญชนะ เรียงลาดับตามตัวอักษร โดยยึดพยัญชนะตัวแรกเป็นหลักในการเรียง
(ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง……. ม ย ร ฤ ฤๅ ล ฦ ฦๅ ว………อ ฮ)
1.2. สระ เรียงลาดับตามรูปสระที่อยู่ก่อนหลัง
(อะ อัว อัะ อา อ า อิ อี อึ อื อุ อู เอ เอะ เอา เอาะ เอิ เอี เอีะ เอื เอืะ แอ แอะ โอ โอะ ใอ ไอ)
1.3. คาที่อยู่ในหมวดอักษรเดียวกัน ได้แก่ ตัวสะกด อักษรควบกล้า หรืออักษรนา
1.4. คาที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะและตามด้วยพยัญชนะ มาก่อนคาที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะและตาม
ด้วยสระ
1.5. คาที่ขึ้นไม่มีรูปวรรณยุกต์มาก่อนคาที่มีรูปวรรณยุกต์
2. บอกชนิดของคาและให้ความหมายคานั้น ๆ ลงในตารางสรุป
บทที่ 4
ผลการดาเนินงาน
ในการศึกษาโครงงานเรื่อง คาไทยที่มักเขียนผิด ทางคณะผู้จัดทาได้ทาการศึกษาค้นคว้ารวบรวมคาที่มักเขียน
ผิดจากเว็บไซต์บนอินเตอร์เน็ตและสื่อสังคมออนไลน์โดยจะขอนาเสนอผลการดาเนินงาน ดังนี้
ก
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
ก็ ก้อ
กงเกวียนกา
เกวียน
กงกากงเกวียน
กงสุล กงศุล
กฎ กฏ
กฐิน กฐิณ
กบฏ กบฎ, กบถ
กบาล,
กระบาล
กะบาล, -บาน
กรรมกร กรรมกรณ์
กรรมกรณ์ กรรมกร
กระเชอ กระเฌอ, กะเชอ, กะเฌอ
กระเพาะ กะเพาะ, กะเพราะ,
กระเพราะ
(พระ)
กระยาหาร
(พระ) กายาหาร
กริยา กิริยา
กรีฑา กรีธา, กรีทา
กรีธา กรีฑา
กลยุทธ์ กลยุทธ, กลยุทธิ, กลยุทธิ์
กลางคัน กลางครัน
กลิ่นอาย กลิ่นไอ
กสิณ กสิน
กเฬวราก กเลวราก
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
กอปร กอป, กอปร์
กอล์ฟ กลอฟ, กอลฟ์, ก็อลฟ์,
ก็อล์ฟ, ก๊อลฟ์, ก๊อล์ฟ
กะทันหัน กระทันหัน
กะเทย กระเทย
กะเทาะ กระเทาะ
กะบังลม กระบังลม
กะปิ กระปิ
กะพง กระพง
กะพริบ กระพริบ
กะพรุน กระพรุน
กะเพรา กะเพา, กระเพา, กระ
เพรา
กะล่อน กระล่อน
กะละมัง กาละมัง
กะลาสี กลาสี
กะละแม กาละแม, กาลาแม,
กาละแมร์
กะหรี่ กระหรี่
กะเหรี่ยง กระเหรี่ยง
กะหล่า กระหล่า
กะโหลก กระโหลก
14
กังวาน กังวาล
กันทรลักษ์ กันทรลักษณ์, กัณ-
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
กันแสง กรรแสง, กรรณแสง
กาลเทศะ กาละเทศะ
กาลเวลา กาฬเวลา
กาฬสินธุ์ กาฬสินธ์, กาล-
กาเหน็จ กาเน็จ, กาเหน็ด
กิจจะลักษณะ กิจลักษณะ, กิจจลักษณะ
กิตติมศักดิ์ กิติมศักดิ์, เกียรติมศักดิ์
กินรี กินนรี
กิริยา กริยา
กุฎี, กุฏิ กุฎ, กุฎิ
กู กรู
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
เกม เกมส์
เกล็ดเลือด เกร็ดเลือด
เกษียณ เกษียน, เกษียร
เกสร เกษร
เกาต์ เก๊าท์
เกียรติ เกียตร, เกียรต, เกียรต์,
เกียรติ์
แก๊ง แก๊งค์, แก๊งก์, แก๊งส์,
แกงค์, แกงส์
แกร็น แกน, แกรน
ข
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
ขบถ ขบฏ
ขโมย โขมย
ขริบ ขลิบ, ขริป, ขลิป
ขลิบ ขริบ, ขริป, ขลิป
ขวาน ขวาญ
ขะมักเขม้น ขมักเขม้น
ขัณฑสกร ขัณท-, ขันท-, ขันฑ-
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
ขาดดุล ขาดดุลย์
ข้าวเหนียวมูน ข้าวเหนียวมูล
ขี้เกียจ ขี้เกลียด, ขี้เกียด
ขึ้นฉ่าย คึ่น-, ขื้น-, คื่น-, -ช่าย, -
ไฉ่, -ไช่
เขยก ขเยก, ขะเหยก
ไข่มุก ไข่มุกข์, ไข่มุกด์, ไข่มุข
ฃ
ปัจจุบันไม่มีคาที่ใช้ "ฃ" โดยหันไปใช้ "ข" แทน เช่น "ฃวด" ก็ใช้เป็น "ขวด" เป็นต้น
ค
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
คณบดี คณะบดี
คทา คฑา, คธา
คน ฅน
15
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
ครรไล ครรลัย
ครองแครง คลองแคลง
ครองราชย์ ครองราช
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
ครอบคลุม คลอบคลุม, -ครุม, -
คุม
คริสตกาล คริสต์กาล
คริสตจักร คริสต์จักร
คริสต์ทศวรรษ คริสตทศวรรษ
คริสต์ศตวรรษ คริสตศตวรรษ
คริสต์ศักราช คริสตศักราช
คริสต์ศาสนา คริสตศาสนา
คริสต์ศาสนิกชน คริสตศาสนิกชน
คริสต์มาส คริสตมาส
ครุฑ ครุท, ครุธ
ครุภัณฑ์ คุรุภัณฑ์
ครุศาสตร์ คุรุศาสตร์
คฤหาสน์ คฤหาสถ์
คลิก คลิ้ก, คลิ๊ก
คลินิก คลีนิก, คลินิค
ค้อน ฆ้อน
คะ ค๊ะ
คะนอง คนอง
คัดสรร คัดสรรค์
คาร์ป คาร์ฟ, คราฟ, คาร์พ,
คราพ
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
คารวะ เคารวะ, คาราวะ,
คราวะ
คานวณ คานวน
คาสดุดี คาดุษฎี
คุกกี้ คุ้กกี้, คุ๊กกี้
คุรุศึกษา ครุศึกษา
เค้ก เค็ก, เค๊ก
เครียด เคลียด
เครื่องราง เครื่องลาง
แค็ตตาล็อก แคตตาล็อก, แค
ตาล็อก
แคบหมู แค็บ-, แคป-, แค็ป-
แคระแกร็น แคะแกรน, แคระ
แกน, แคระแกรน,
แคระเกร็น
แครง แคลง
โค่ง โข่ง
โคตร โครต, โคต, โคด
โครงการ โครงการณ์, โคลงการ
โควตา โควต้า
คอลัมน์ คอลัมม์, คอลัมภ์
ฆ
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
ฆราวาส ฆรวาส, ฆารวาส, -วาท
ฆาตกร ฆาตรกร
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
16
ฆาตกรรม ฆาตรกรรม เฆี่ยน เคี่ยน
ง
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
งบดุล งบดุลย์
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
งูสวัด งูสวัส, งูสวัสดิ์
จ
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
จงกรม จงกลม
จระเข้ จรเข้
จลนศาสตร์ จลศาสตร์
จลาจล จราจล
จะงอย จงอย
จะจะ จะ ๆ
จะละเม็ด จาละเม็ด, จาระเม็ด,
จรเม็ด, จระเม็ด
จักจั่น จั๊กจั่น
จักร จักร์
จักรพรรดิ จักรพรรดิ์
จักรวรรดิ จักรวรรดิ์
จักสาน จักรสาน
จัตุรัส จตุรัส
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
จาระไน จารไน
จาระบี จารบี
จานง จานงค์
จินตนาการ จินตะนาการ,
จินตรนาการ
จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย
จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย
เจ๊ง เจ็ง, เจ้ง, เจง
เจง เจ๊ง
เจตจานง เจตจานงค์
เจตนารมณ์ เจตนารมย์
เจียระไน เจียรไน
โจทก์ โจทย์
ใจ จัย
ฉ
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
ฉบับ ฉะบับ
ฉะนั้น ฉนั้น
ฉะนี้ ฉนี้
ฉัน ฉันท์
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
17
ฉันท์ ฉัน
เฉพาะ ฉะเพาะ, ฉเพาะ
ไฉน ฉไน
18
ช
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
(พระ)
ชนมพรรษา
(พระ) ชนม์พรรษา
(พระ) ชนมายุ (พระ) ชนม์มายุ
ชมพู ชมภู
ชมพู่ ชมภู่
ชลมารค ชลมาค, ชลมาคร
ช็อกโกเลต,
ช็อกโกแลต
ช๊อกโกแลต, ช็อกโก
แล็ต, ชอคโกแลต, ช๊อค
โกแลต, ช็อคโกแลต
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
ชอุ่ม ชะอุ่ม
ชะนี ชนี
ชะมด ชมด
ชะลอ ชลอ
ชัชวาล ชัชวาลย์
ชานชาลา ชานชะลา
ชีวประวัติ ชีวะประวัติ
ไชเท้า, ไช้เท้า ใชเท้า
ไชโป๊, ไช้โป๊ ไชโป๊ว, ไช้โป๊ว, ไชโป้ว
ซ
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
ซวดเซ ทรวดเซ
ซ่องเสพ ส้องเสพ
ซาบซ่าน ทราบซ่าน, -ส้าน
ซาบซึ้ง ทราบซึ้ง
ซาลาเปา ซาละเปา, ซะละเปา
ซาวเสียง ซาวด์เสียง, ซาวน์เสียง
ซีรีส์ ซีรีย์, ซีรี่ย์
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
ซุ่ม สุ่ม, สุ้ม
ซุ้ม สุ้ม
เซ็นชื่อ เซ็นต์ชื่อ
เซนติเมตร เซ็นติเมตร
แซ่บ แซบ
ไซ้ ไซร้
โซม โทรม
ฌ
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
ฌาน ฌาณ
ฌาปนกิจ ฌาปณกิจ
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
เฌอ กระเฌอ, กะเฌอ
ญ
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ญวน ญวณ
19
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
ญัตติ ญัติ
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
ญาณ ญาน
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
ญาติ ญาต
ฎ
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
ฎีกา ฏีกา
ฏ
ปัจจุบันไม่มีคาที่ขึ้นต้นด้วย "ฏ"
ฐ
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
ฐาน ฐาณ
ฑ
ไม่มีคาที่เขียนผิด
ฒ
ไม่มีคาที่เขียนผิด สาหรับ "เฒ่าแก่" และ "เถ้าแก่" ใช้ได้ทั้งสองคา
ณ
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
ณ ณ.
ด
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
ดอกจัน ดอกจันท์, ดอกจันทน์,
ดอกจันทร์
ดอกจันทน์ ดอกจัน, ดอกจันท์,
ดอกจันทร์
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
ดอกไม้จันทน์ ดอกไม้จัน, ดอกไม้
จันท์, ดอกไม้จันทร์
ดัตช์ ดัชต์, ดัชท์, ดัทช์
20
ดาดตะกั่ว ดาษตะกั่ว
ดาดฟ้า ดาษฟ้า
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
ดาวน์ ดาว์น, ดาว
ดาษดื่น ดาดดื่น
ดารง ดารงค์
ดาริ ดาหริ, ดาริห์
ดุล ดุลย์
ดุษณี โดยดุษฎี
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
เดินเหิน เดินเหิร
เดือดร้อน เดือนร้อน
แดก แดรก, แด่ก, แดร่ก,
แด๊ก
ไดรฟ์ ไดร์ฟ
ต
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
ต่าง ๆ ต่างๆ หรือ ต่างต่าง
ตรรกะ, ตรรก- ตรรกกะ
ตระเวน ตระเวณ
ตราสัง ตราสังข์
ตรึงตรา ตรึงตา
ตะกร้า ตระกร้า
ตะราง ตาราง
ตานขโมย ตาลขโมย
ตาราง ตะราง
ตารับ ตาหรับ
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
ติดสัด ติดสัตว์
โต๊ะ โต้ะ
ใต้ ไต้
ใต้เท้า ไต้เท้า
ไต้ ใต้
ไต้กง ใต้กง
ไต้ฝุ่น ใต้ฝุ่น
ไตรยางศ์ ไตรยางค์
ไต้หวัน ใต้หวัน
ถ
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
ถนนลาดยาง ถนนราดยาง
ถ่วงดุล ถ่วงดุลย์
ถั่วพู ถั่วพลู
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
เถา เถาว์
ไถ่ตัว ถ่ายตัว
ท
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ทโมน ทะโมน, โทมน
21
ทยอย ทะยอย
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
ทแยง ทะแยง, แทยง
ทรงกลด ทรงกรด
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
ทรมาทรกรรม ทรมานทรกรรม
ทรราช ทรราชย์
ทระนง, ทะนง ทรนง, ทนง
ทลาย ทะลาย
ทศกัณฐ์ ทศกัณฑ์
ทอนซิล ทอมซิน
ทะนุถนอม ทนุถนอม
ทะนุบารุง,
ทานุบารุง
ทนุบารุง
ทะลาย ทลาย
ทะเลสาบ ทะเลสาป
ทัณฑ์ ฑัณฑ์
ทายาด ทายาท
ทายาท ทายาด, ทาญาติ
ทารุณ ทารุน
ทีฆายุโก ฑีฆายุโก
ทุกรกิริยา ทุกขกิริยา, ทุกขร
กิริยา
ทุคติ ทุกข์คติ
ทุพพลภาพ ทุพลภาพ
ทุพภิกขภัย ทุภิกขภัย
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
ทุศีล ทุจศีล
ทูต ฑูต
ทูนหัว ทูลหัว
ทูลกระหม่อม ทูนกระหม่อม
เท่ เท่ห์
เทพนม เทพพนม
เทเวศ, เทเวศร์,
เทเวศวร์
เทเวศน์
เทโวโรหณะ เทโวโรหนะ
เทอญ เทิญ
เทอม เทิม, เทิร์ม
เท้าความ ท้าวความ
เทิด เทอด
เทิดทูน เทิดทูล
แท็กซี่ แท๊กซี่
แทรกแซง แซกแซง
โทรทรรศน์ โทรทัศน์
โทรทัศน์ โทรทรรศน์
โทรม โซม
โทรศัพท์ โทรศัพย์
ธ
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
ธนบัตร ธนาบัตร
ธนาณัติ ธนานัติ, ธนาณัต
ธรรมเนียม ทาเนียม
ธัญพืช ธัญญพืช
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
ธามรงค์ ธามรง, ทามะรงค์
ธารง ธารงค์
22
ธุรกิจ ธุระกิจ
น
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
นพปฎล นพปดล
นภดล นพดล
นวัตกรรม นวตกรรม
นอต น็อต, น๊อต
นะ น๊ะ
นะคะ นะค่ะ, นะค๊ะ
นันทนาการ สันทนาการ
นัย นัยยะ
นัยน์ตา นัยตา
น่า หน้า
นาฏกรรม นาฎกรรม
นาที นาฑี
นานัปการ นานับประการ
นานา นา ๆ
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
น้าจัณฑ์ น้าจัน, -จัณท์, -จันท์
น้ามันก๊าด น้ามันก๊าซ, -ก๊าส
น้าแข็งไส น้าแข็งใส
นิจศีล นิจสิน
นิตยสาร นิตยาสาร
นิเทศ นิเทศน์, นิเทส
นิมิต นิมิตร, นิรมิตร
นิวัต นิวัติ
นิเวศวิทยา นิเวศน์วิทยา
เนรมิต เนรมิตร
เนืองนิตย์ เนืองนิจ
แน่นหนา หนาแน่น
โน้ต โน๊ต, โน้ท, โน๊ท
บ
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
บรรทัด บันทัด
บรรทุก บันทุก
บรรลุ บันลุ
บรรเลง บันเลง
บรั่นดี บะหรั่นดี
บริสุทธิ์ บริสุทธ, บริสุทธิ
บล็อก บล็อค, บล๊อก
บ่วงบาศ บ่วงบาศก์, บ่วงบาต,
บ่วงบาท
บอระเพ็ด บรเพ็ด, บอระเพชร
บังสุกุล บังสกุล
บังเอิญ บังเอิน
บัญญัติไตรยางศ์ บัญญัติไตรยางค์
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
บัตรสนเท่ห์ บัตรสนเท่
บันดาล บรรดาล
บันได บรรได
บันเทิง บรรเทิง
บันลือ บรรลือ
23
บางลาพู บางลาภู
บาดทะยัก บาททะยัก, บาดทยัก
บาตร บาต
บาทบงสุ์ บาทบงส์
บาทหลวง บาดหลวง
บาเหน็จ บาเน็จ
บิณฑบาต บิณฑบาตร, บิณฑ
บาท
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
บิดพลิ้ว บิดพริ้ว
บุคคล บุคล
บุคลากร บุคคลากร
บุคลิก บุคคลิก, บุคลิค, บุคค
ลิค
บุคลิกภาพ บุคคลิกภาพ,
บุคลิคภาพ, บุคคลิค
ภาพ
บุปผชาติ บุปผาชาติ
บุษราคัม บุษราคา, บุศ-
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
บูชายัญ บูชายัน, บูชายันต์
บูรณปฏิสังขรณ์ บูรณะปฏิสังขรณ์
เบญจเพส เบญจเพศ
เบนซิน เบ็นซิน, เบนซิล
เบรก เบรค
แบงก์ แบ๊งก์, แบ็งก์, แบงค์,
แบ๊งค์, แบ็งค์
โบราณ โบราน, โบราญ
ป
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
ปฏิกิริยา ปฏิกริยา
ปฏิสันถาร ปฏิสัณฐาน,
ปฏิสันถาน
ปฏิทิน ปติทิน
ปฏิพัทธ์ ประติพัทธ์
ปฏิสังขรณ์ ปฏิสังขร
ปฐมนิเทศ ปฐมนิเทศก์,
ปฐมนิเทศน์
ปณิธาน,
ประณิธาน
ปนิธาน, ประนิธาน
ปรนนิบัติ ปรณนิบัติ
ปรมาณู ปรมณู
ปรองดอง ปองดอง
ปรอด, ประหลอด, ปะหลอด,
ประหรอด
ปรอท
ประกายพรึก ประกายพฤกษ์
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
ประกาศนียบัตร ประกาศณียบัตร
ประกาศิต ประกาษิต
ประจัญ ประจัน
ประจัญบาน ประจันบาน,
ประจันบาล, ประจัญ
บาล
ประจันหน้า ประจัญหน้า
ประจันห้อง ประจัญห้อง
24
ประจาการ ประจาการณ์
ประณต ประนต
ประณม ประนม (ยกกระพุ่ม
มือ)
ประณาม ประนาม
ประณีต ปราณีต, ประนีต
ประดิดประดอย ประดิษฐ์ประดอย
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
ประนีประนอม ประณี-, ปรานี-,
ปราณี-,
-ประณอม, -ปรานอม,
-ปราณอม
ประมาณ ประมาน
ประเมิน ประเมิณ
ประโยชน์โพดผล ประโยชน์โภชผล,
ประโยชน์โภชน์ผล
ประสบการณ์ ประสพการณ์,
ประสบการ
ประสบผลสาเร็จ,
ประสบ
ความสาเร็จ
ประสพผลสาเร็จ,
ประสพความสาเร็จ
ประสูติ ประสูต, ประสูตร
ประสูติการ ประสูติกาล
ประสูติกาล ประสูติการ
ประหลาด ปะหลาด, ปลาด
ประหัตประหาร ประหัดประหาร,
ประหัตถ์ประหาร
ประหาณ, ปหาน ประหาร
ประหาร, ปหาร ประหาณ, -หาน, ปะ-
ปรัมปรา ปราปรา, ปะราปะรา
ปรัศนี ปรัศนีย์
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
ปรากฏ ปรากฎ
ปราณี ปรานี
ปรานี ปราณี
ปรานีปราศรัย ปราณีปราศัย
ปรารถนา ปราถนา
ปราศจาก ปราศจาค
ปราศรัย ปราศัย
ปล้นสะดม ปล้นสดมภ์
ปะทะ ประทะ
ปะแล่ม ปแล่ม, แปล่ม
ปักษิน ปักษิณ
ปั๊ม ปั้ม
ปาฏิหาริย์ ปาฏิหาร, ปาฏิหารย์
ปาติโมกข์ ปาฏิโมกข์
ปาริชาต ปาริชาติ
ปิกนิก ปิคนิค
ปิดปากเงียบ ปริปากเงียบ
ปีติยินดี ปิติยินดี
ปุโรหิต ปุโลหิต
เปล่า ปล่าว, ป่าว
เปอร์เซ็นต์ เปอร์เซนต์
เป๋อเหลอ เป๋อเลอ
แปรพักตร์ แปรพรรค
25
ผ
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
ผดุง ผะดุง
ผรุสวาท ผรุสวาส
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
ผลลัพธ์ ผลลัพท์
ผล็อย ผลอย
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
ผลัด ผัด
ผลานิสงส์ ผลานิสงฆ์
ผอบ ผะอบ
ผัดไทย ผัดไท
ผัดผ่อน ผลัดผ่อน
ผัด ผลัด
ผาสุก ผาสุข
ผีซ้าด้าพลอย ผีซ้าด้ามพลอย
ผีพุ่งไต้ ผีพุ่งใต้
ผุดลุกผุดนั่ง ผลุดลุกผลุดนั่ง
ผูกพัน ผูกพันธ์
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
ผู้เยาว์ ผู้เยา
เผชิญ ผเชิญ, ผะเชิญ
เผลอไผล เผอไผ
เผอเรอ เผลอเรอ
เผอิญ ผเอิญ, ผะเอิญ
เผ่าพันธุ์ เผ่าพัน
แผ่ซ่าน แผ่ส้าน, แผ่ซ้าน
แผนการ แผนการณ์
แผลงฤทธิ์ แผงฤทธิ์
ไผท ผไท, ผะไท
ฝ
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
ฝรั่งเศส ฝรั่งเศษ
ฝักฝ่าย ฝักใฝ่, ฝักไฝ่
ฝักใฝ่ ฝักฝ่าย, ฝักไฝ่
ฝากครรภ์ ฝากครร
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
ฝีดาษ ฝีดาด
ฝึกปรือ ฝึกปือ, ฝึกปลือ
ไฝ ใฝ
พ
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
พงศ์พันธุ์ พงพันธุ์, พงษ์พันธุ์
พจนานุกรม พจณานุกรม
ฯพณฯ พณ, พณฯ, ฯพณ, ฯพณฯ
ท่าน,
พณ.ท่าน, พณะท่าน
พยัก พะยัก
พยักพเยิด พะยักพะเยิด,
พยักเพยิด
พยัคฆ์ พยัค, พยัคร, พยัฆ
26
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
พยาน พญาณ, พยาณ, พะยาน
พยาบาท พญาบาท, พยาบาตร
พยุง พะยุง
พเยีย พะเยีย, เพยีย
พรรณนา พรรณา
พรหมจรรย์ พรมจรรย์
พระวงศ์ พระวงค์
พราหมณ์ พราห์มณ์, พรามณ์
พร่าพลอด พร่าพรอด
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
พฤศจิกายน พฤษจิกายน
พฤษภาคม พฤศภาคม
พลการ พละการ
พลศึกษา พละศึกษา
พละกาลัง พลกาลัง
พลาสติก พลาสติค
พหูสูต พหูสูตร
พะแนง พแนง, แพนง
พะยอม พยอม
พะยูน พยูน
พะวักพะวน พวักพวน
พังทลาย พังทะลาย
พันทาง พันธุ์ทาง
พันธกิจ พันธะกิจ
พันธสัญญา พันธะสัญญา
พัศดี พัสดี
พัสดุ พัศดุ
พากย์ พากษ์
พาณิชย์,
พาณิชย,
พณิชย์,
พาณิช,
พณิช
พานิชย์, พานิชย, พนิชย์,
พานิช, พนิช
พานจะเป็น
ลม
พาลจะเป็นลม
พาหุรัด พาหุรัต, พาหุรัตน์
พิณพาทย์ พิณภาทย์
พิธีรีตอง พิธีรีตรอง
พิบูล พิบูลย์
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
พิพิธภัณฑ์ พิพิทธภัณฑ์
พิราบ พิราป
พิลาป พิราป
พิลิปดา ฟิลิปดา
พิศวง พิสวง
พิศวาส พิสวาส, พิสวาท
พิสดาร พิศดาร
พิสมัย พิศมัย
พิสูจน์ พิสูตร
พึมพา พึมพัม
พุดตาน พุดตาล
พุทธชาด พุทธชาติ
พู่กัน ภู่กัน
พู่ระหง ภู่ระหง
เพชฌฆาต เพชรฆาต
เพชร เพ็ชร
เพศสัมพันธ์ เพศสัมพันธุ์
เพนียด พเนียด, พะเนียด
27
เพริศพริ้ง เพริดพริ้ง
เพิ่มพูน เพิ่มพูล
เพียบพร้อม เพรียบพร้อม
แพทยศาสตร์ แพทย์ศาสตร์
โพชฌงค์ โพชงค์, โภ-
โพดา โพธิ์ดา
โพแดง โพธิ์แดง
โพทะเล โพธิ์ทะเล
โพนทะนา โพนทนา
โพระดก โพรดก, โภ-
โพสพ โพศพ, โภ-
ไพฑูรย์ ไพทูรย์
ฟ
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
ฟังก์ชัน ฟังก์ชั่น
ฟั่น ฝั้น
ฟันคุด ฟันครุฑ, ฟันครุท
ฟาทอม ฟาธอม, แฟทอม, แฟ
ธอม
ฟิล์ม ฟิลม์, ฟลิม, ฟิมล์, ฟิม์ล
ฟิวส์ ฟิว
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
ฟุตบอล ฟุทบอล
ฟุลสแก๊ป ฟูลสแกป
เฟิน เฟิร์น
แฟชั่น แฟชัน
ไฟแช็ก ไฟแชค, ไฟแช็ค
ภ
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
ภคินี ภคิณี
ภวังค์ พวังศ์
ภววิสัย ภาววิสัย, ภาวะวิสัย
ภัณฑารักษ์ พันธารักษ์
ภาคทัณฑ์ ภาคฑัณฑ์
ภาคภูมิ ภาคภูม
ภาพยนตร์ ภาพยนต์
ภารกิจ ภาระกิจ
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
ภาวการณ์ ภาวะการณ์, ภาวะการ
ภุชงค์ พุชงค์
ภูตผี ภูติผี
ภูมิใจ ภูมใจ
ภูมิลาเนา ภูมลาเนา
เภตรา เพตรา
เภทภัย เพทภัย, เพศภัย
ม
คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น มกุฎ มกุฏ
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดพัน พัน
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดพัน พัน
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58renusaowiang
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้thanapisit marakul na ayudhya
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2LeoBlack1017
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนมChok Ke
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในamixdouble
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)Pongpan Pairojana
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 

Mais procurados (20)

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 

Semelhante a โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด

The custom of north thailand
The custom of north thailandThe custom of north thailand
The custom of north thailandWatcharapong Pong
 
Custom of north thailand
Custom of  north thailandCustom of  north thailand
Custom of north thailandTar B Baster
 
ไวยากรณ์บาลีเบื้องต้น
ไวยากรณ์บาลีเบื้องต้นไวยากรณ์บาลีเบื้องต้น
ไวยากรณ์บาลีเบื้องต้นPrasit Koeiklang
 
แบบฟอร์มโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มโครงร่างโครงงานแบบฟอร์มโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มโครงร่างโครงงานGrit Inchaiwong
 
โครงงานภาษาเหนือน่ารุ้
โครงงานภาษาเหนือน่ารุ้โครงงานภาษาเหนือน่ารุ้
โครงงานภาษาเหนือน่ารุ้Abcz F-ang
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Gankorn Inpia
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Gankorn Inpia
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ nongnoch
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยBoonlert Aroonpiboon
 
เทคนิคการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
เทคนิคการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษเทคนิคการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
เทคนิคการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษsakaratyo
 
เพาเวอร์พอยท์โครงงานภาษาไทย
เพาเวอร์พอยท์โครงงานภาษาไทยเพาเวอร์พอยท์โครงงานภาษาไทย
เพาเวอร์พอยท์โครงงานภาษาไทยครูเจริญศรี
 
เอกสารประกอบการจัดทำโครงงานภาษาไทย
เอกสารประกอบการจัดทำโครงงานภาษาไทยเอกสารประกอบการจัดทำโครงงานภาษาไทย
เอกสารประกอบการจัดทำโครงงานภาษาไทยครูเจริญศรี
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001Thidarat Termphon
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1suparada
 

Semelhante a โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด (20)

Customs of north thailand
Customs of  north thailandCustoms of  north thailand
Customs of north thailand
 
Custom of north thailand
Custom of  north thailandCustom of  north thailand
Custom of north thailand
 
The custom of north thailand
The custom of north thailandThe custom of north thailand
The custom of north thailand
 
Custom of north thailand 1
Custom of  north thailand 1Custom of  north thailand 1
Custom of north thailand 1
 
Custom of north thailand
Custom of  north thailandCustom of  north thailand
Custom of north thailand
 
Custom of north thailand
Custom of  north thailandCustom of  north thailand
Custom of north thailand
 
ไวยากรณ์บาลีเบื้องต้น
ไวยากรณ์บาลีเบื้องต้นไวยากรณ์บาลีเบื้องต้น
ไวยากรณ์บาลีเบื้องต้น
 
แบบฟอร์มโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มโครงร่างโครงงานแบบฟอร์มโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มโครงร่างโครงงาน
 
โครงงานภาษาเหนือน่ารุ้
โครงงานภาษาเหนือน่ารุ้โครงงานภาษาเหนือน่ารุ้
โครงงานภาษาเหนือน่ารุ้
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
 
เทคนิคการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
เทคนิคการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษเทคนิคการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
เทคนิคการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
 
เพาเวอร์พอยท์โครงงานภาษาไทย
เพาเวอร์พอยท์โครงงานภาษาไทยเพาเวอร์พอยท์โครงงานภาษาไทย
เพาเวอร์พอยท์โครงงานภาษาไทย
 
เอกสารประกอบการจัดทำโครงงานภาษาไทย
เอกสารประกอบการจัดทำโครงงานภาษาไทยเอกสารประกอบการจัดทำโครงงานภาษาไทย
เอกสารประกอบการจัดทำโครงงานภาษาไทย
 
Phanuwich
PhanuwichPhanuwich
Phanuwich
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
 
Thai 1-3
Thai 1-3Thai 1-3
Thai 1-3
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 

Mais de ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล

แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFID
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFIDโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFID
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFIDธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
โครงงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง การวิเคราะห์ประเภทและบริการของที่พ...
โครงงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง การวิเคราะห์ประเภทและบริการของที่พ...โครงงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง การวิเคราะห์ประเภทและบริการของที่พ...
โครงงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง การวิเคราะห์ประเภทและบริการของที่พ...ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
รายงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง วัดป่าประดู่
รายงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง วัดป่าประดู่รายงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง วัดป่าประดู่
รายงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง วัดป่าประดู่ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วยโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วยธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
โครงงานศิลปะ การเชิดหนังใหญ่วัดบ้านดอน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน พระรามตามกวาง
โครงงานศิลปะ การเชิดหนังใหญ่วัดบ้านดอน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน พระรามตามกวางโครงงานศิลปะ การเชิดหนังใหญ่วัดบ้านดอน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน พระรามตามกวาง
โครงงานศิลปะ การเชิดหนังใหญ่วัดบ้านดอน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน พระรามตามกวางธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTML
โครงงานคอมพิวเตอร์  เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTMLโครงงานคอมพิวเตอร์  เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTML
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTMLธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 

Mais de ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล (10)

แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
 
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFID
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFIDโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFID
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFID
 
โครงงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง การวิเคราะห์ประเภทและบริการของที่พ...
โครงงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง การวิเคราะห์ประเภทและบริการของที่พ...โครงงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง การวิเคราะห์ประเภทและบริการของที่พ...
โครงงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง การวิเคราะห์ประเภทและบริการของที่พ...
 
รายงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง วัดป่าประดู่
รายงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง วัดป่าประดู่รายงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง วัดป่าประดู่
รายงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง วัดป่าประดู่
 
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุดโครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วยโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
 
โครงงานศิลปะ การเชิดหนังใหญ่วัดบ้านดอน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน พระรามตามกวาง
โครงงานศิลปะ การเชิดหนังใหญ่วัดบ้านดอน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน พระรามตามกวางโครงงานศิลปะ การเชิดหนังใหญ่วัดบ้านดอน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน พระรามตามกวาง
โครงงานศิลปะ การเชิดหนังใหญ่วัดบ้านดอน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน พระรามตามกวาง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTML
โครงงานคอมพิวเตอร์  เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTMLโครงงานคอมพิวเตอร์  เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTML
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTML
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลงโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
 

โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด

  • 1. โครงงานภาษาไทย คาไทยที่มักเขียนผิด จัดทาโดย นายพงศ์ภาณุ ด้วงไข่ เลขที่ 9 นายภูมินทร์ จันทานวน เลขที่ 11 นางสาวธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล เลขที่ 18 นางสาวอภิญญา ทศภานนท์ เลขที่ 24 นางสาวบัณฑิตา คมคาย เลขที่ 28 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4 ครูที่ปรึกษา นางสาวณิศชญามณฑ์ แย้มนุช โครงงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาภาษาไทย ท32102 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
  • 2. โครงงานภาษาไทย คาไทยที่มักเขียนผิด จัดทาโดย นายพงศ์ภาณุ ด้วงไข่ เลขที่ 9 นายภูมินทร์ จันทานวน เลขที่ 11 นางสาวธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล เลขที่ 18 นางสาวอภิญญา ทศภานนท์ เลขที่ 24 นางสาวบัณฑิตา คมคาย เลขที่ 28 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4 ครูที่ปรึกษา นางสาวณิศชญามณฑ์ แย้มนุช โครงงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาภาษาไทย ท32102 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
  • 3. ก ชื่อ : นายพงศ์ภาณุ ด้วงไข่ เลขที่ 9 นายภูมินทร์ จันทานวน เลขที่ 11 นางสาวธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล เลขที่ 18 นางสาวอภิญญา ทศภานนท์ เลขที่ 24 นางสาวบัณฑิตา คมคาย เลขที่ 28 ชื่อโครงงาน : คาไทยที่มักเขียนผิด กลุ่มสาระการเรียนรู้ : ภาษาไทย ท32102 สถานศึกษา : โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ครูที่ปรึกษาโครงงาน : นางสาวณิศชญามณฑ์ แย้มนุช ปีการศึกษา : 2562 บทคัดย่อ โครงงาน เรื่อง คาไทยที่มักเขียนผิด ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อรวบรวมคาที่มักเขียนผิดใน ภาษาไทย แล้วค้นคว้าแก้ไขให้ถูกต้อง 2) เพื่อเขียนคาในภาษาไทยให้ถูกต้องตามแบบพจนานุกรม ฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 3) เพื่อเป็นศึกษาค้นคว้า รวบรวมการสะกดคาที่ถูกต้องให้กับคนรุ่นต่อ ๆ ไป จากการค้นคว้าข้อมูล การเขียนสะกดคาในภาษาไทยให้ถูกต้องนั้นนับเป็นสิ่งที่สาคัญอย่างยิ่ง แสดงถึงความ เข้าใจ และให้ความสาคัญกับภาษาซึ่งเป็นมรดกล้าค่าของไทย จาเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ หลักเกณฑ์การเขียน และต้องหมั่นฝึกฝนเขียนอยู่เสมอ แต่ปัจจุบันคาภาษาไทยสามารถเขียนไปได้หลากหลาย แบบ ทั้งคาพ้องรูปพ้องเสียงต่าง ๆ ทาให้เกิดความสับสน และด้วยสังคมที่เปลี่ยนไปจากเมื่อก่อน คนไทย โดยเฉพาะกลุ่มวัยรุ่นเริ่มตามกระแสการเขียนคาผิด ๆ เพื่อทาตัวให้เข้ากับสังคมปัจจุบันจนทาให้เกิดการเขียน คาผิดไม่ตรงตามหลักพจนานุกรมไทย ทางคณะผู้จัดทาจึงมีความประสงค์ที่จะรวบรวมคาภาษาไทยที่มักเขียน ผิด ซึ่งเป็นคาที่พวกเราคุ้นเคยจากการฟังและการพูด และทาตารางสรุปคาไทย โดยเรียงจากพยัญชนะ ก-ฮ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ศึกษาในการทาโครงงาน คือ อินเตอร์เน็ต คือ เว็บไซต์ต่าง ๆ และสื่อสังคมออนไลน์ ได้แก่ เฟซบุ๊ก และทวิตเตอร์ โดยรวบรวมคาที่เขียนสะกดผิดจากแหล่งต่าง ๆ แล้วแก้ไขคาที่เขียนผิดให้ถูกต้อง และทาตารางสรุปคาไทยที่มักเขียนผิดโดยจัดเรียงตามแบบพจนานุกรม พบว่า คาที่มักเขียนสะกดผิดส่วนมาก จะอยู่ในหมวดตัวอักษร ป พ ส และ อ ส่วนหมวดตัวอักษรที่ทางคณะผู้จัดทายังไม่พบ หรือไม่มีการเขียนใช้บน อินเตอร์เน็ตและสื่อสังคมออนไลน์เลย ได้แก่ตัวอักษร ฃ ฏ ฑ ฒ ฦ และ ฬ (โครงงานมีจานวนทั้งสิ้น 45 หน้า)
  • 4. ข กิตติกรรมประกาศ โครงงาน เรื่อง คาไทยที่มักเขียนผิด ฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท32102 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 โดยมีจุดประสงค์เพื่อ เพื่อรวบรวมคาที่มักเขียนผิดในภาษาไทย แล้วค้นคว้าแก้ไขให้ถูกต้อง และเขียนคาในภาษาไทยให้ถูกต้องตาม แบบพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ทางคณะผู้จัดทาต้องขอขอบคุณอาจารย์ณิศชญามณฑ์ แย้มนุชที่คอยให้คาปรึกษา แนะนาแนวทาง และให้ความรู้ในการค้นคว้าข้อมูล และการจัดทารายงานฉบับนี้ และขอขอบคุณเพื่อน ๆ ทุกคนที่ให้ความช่วยเหลือมาตลอด สุดท้ายนี้ทางคณะผู้จัดทาหวังว่าโครงงาน เรื่อง คาไทยที่มักเขียนผิด ฉบับนี้จะสามารถให้ความรู้ และ เป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านทุก ๆ ท่าน คณะผู้จัดทา
  • 5. ค สารบัญ หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค บทที่ 1 บทนา 1.1 ที่มาและความสาคัญ 1 1.2 วัตถุประสงค์ 2 1.3 ขอบเขตการศึกษา 2 1.4 นิยามศัพท์เฉพาะ 2 1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 3 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 2.1 ความหมายของภาษา 4 2.2 ความสาคัญของภาษา 4 2.3 องค์ประกอบของภาษา 5 2.4 การเขียนสะกดคา 5 2.5 ความสาคัญของการเขียนสะกดคา 6 2.6 พจนานุกรมภาษาไทย 6 2.7 คาไทยที่มักเขียนผิด 6 2.8 การเรียงลาดับคาตามตัวอักษรในภาษาไทย 6 2.9 วิธีพิจารณาลาดับของคา 7 2.10 การเรียงลาดับคาและวิธีเก็บคา (ฉบับราชบัณฑิตยสถาน) 9 บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน 3.1 การรวบรวมคาไทยที่มักเขียนผิด 12 3.2 การสรุปเรียงคาตามแบบพจนานุกรม 12 บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน 4.1 ตารางคาไทยที่มักเขียนผิด 13 บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผล 5.1 สรุปผล 35 5.2 อภิปรายผล 35 5.3 ประโยชน์ที่ได้รับ 35
  • 7. บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญ ภาษาไทยเป็นภาษาประจาชาติ ถือเป็นมรดกอันล้าค่าทางวัฒนธรรม อันก่อให้เกิดเป็นเอกภาพ เสริมสร้างคุณภาพของคนในชาติให้มีความเป็นไทย ภาษาเป็นเครื่องมือติดต่อสื่อสารให้มีประสิทธิภาพ ปัจจุบัน คนไทยใช้ภาษาไทยทั้งในภาษาพูดและภาษาเขียนในการแสวงหาความรู้และประสบการณ์ ส่งเสริมภูมิปัญญา และเป็นหลักฐานในการค้นคว้า บันทึกเรื่องราวต่าง ๆ ภาษาไทยจึงเป็นสมบัติของชาติที่ควรค่าแก่การเรียนรู้ (สมพงษ์ ศรีพยาต. 2553 : 1) ดังที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงมีพระราชดารัสในที่ ประชุมของชุมนุมภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถึงความสาคัญของภาษาไทยไว้ดังนี้ (กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ. 2539 : 8) ประเทศไทยนั้นมีภาษาของเราเอง ซึ่งต้องหวงแหน ประเทศใกล้เคียงของเราหลาย ประเทศมีภาษาของตนเองแต่ว่าเขาไม่แข็งแรง เขาต้องพยายามหาหนทางที่จะสร้างภาษาของ ตนเองไว้มั่นคง เราโชคดีที่มีภาษาของตนเองมาแต่โบราณกาล ซึ่งสมควรอย่างยิ่งที่ต้องรักษาไว้ ปัญหาเฉพาะด้านในการรักษาภาษานี้มีหลายประการ อย่างหนึ่งต้องรักษาให้บริสุทธิ์ในทางการ เขียน คือเขียนให้ถูกต้องชัดเจน อีกอย่างหนึ่งต้องรักษาให้บริสุทธิ์ในวิธี หมายความว่าใช้คามา เขียนให้ถูกต้องชัดเจน ซึ่งนับเป็นปัญหาที่สาคัญ ปัญหาที่สามคือ ความร่ารวยในคาของ ภาษาไทยที่พวกเรานึกว่ารวยไม่พอ จึงต้องมีการบัญญัติคาศัพท์ใหม่มาใช้ ทักษะที่นับว่ามีความสาคัญต่อการเรียนรู้ภาษาไทยอย่างมาก ได้แก่ ทักษะการเขียนเพราะการเขียน เป็นการถ่ายทอดการคิด เป็นเครื่องมือในการพัฒนาการคิด สติปัญญา และทัศนคติ สามารถนาไปใช้ใน ชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในท่ามกลางสังคมยุคแห่งข้อมูลข้าวสารเช่นปัจจุบันนี้ บุคคลจาเป็นต้องติดต่อสื่อสารกันมากขึ้น ทักษะการเขียนจึงจาเป็นและทวีความสาคัญขึ้นเป็นลาดับ เพราะ การเขียนถ่ายทอดความคิดความรู้สึกและความเข้าใจของตนเองออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อสื่อ ความหมายให้คนอื่นเข้าใจได้อย่างกว้างขวางและสามารถเก็บไว้เป็นหลักฐานอ้างอิงได้ การเขียนที่ไม่สมบูรณ์ เพราะเขียนสะกดคาผิดหรือข้อความผิด ย่อมทาให้การสื่อสารขาดประสิทธิภาพ ทั้งยังอาจก่อให้เกิดความ เสียหายร้ายแรงได้ เช่น กรณีเขียนหนังสือสัญญาต่าง ๆ ไม่ถูกต้อง (พวงเล็ก. 2533 : 174) การเขียนสะกดคาในภาษาไทยให้ถูกต้องนั้นนับเป็นสิ่งที่สาคัญอย่างยิ่ง การเขียนคาภาษาไทยได้ ถูกต้องเป็นการแสดงถึงความเข้าใจ และให้ความสาคัญกับภาษาซึ่งเป็นมรดกล้าค่าของไทย จึงจาเป็นต้อง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์การเขียนคานั้น ๆ และต้องหมั่นฝึกฝนเขียนอยู่เสมอ แต่ปัจจุบันคา ภาษาไทยสามารถเขียนไปได้หลากหลายแบบ อีกทั้งคาพ้องรูปพ้องเสียงต่าง ๆ ทาให้เกิดความสับสน และ ด้วยสังคมที่เปลี่ยนไปจากเมื่อก่อนอย่างเห็นได้ชัด คนไทยโดยเฉพาะกลุ่มวัยรุ่นเริ่มตามกระแสการเขียนคาผิด ๆ เพื่อทาตัวให้เข้ากับสังคมปัจจุบันจนทาให้เกิดการเขียนคาผิดไม่ตรงตามหลักพจนานุกรมไทย ทางคณะ
  • 8. 2 ผู้จัดทาจึงมีความประสงค์ที่จะรวบรวมคาภาษาไทยที่มักเขียนผิด ซึ่งเป็นคาที่พวกเราคุ้นเคยจากการฟังและ การพูด ทั้งนี้เพื่อให้ง่ายต่อการศึกษาและเกิดประโยชน์สูงสุด พวกเราจะขอนาเสนอคาไทยที่มักเขียนผิดพร้อม ทั้งความหมาย โดยเรียงจากพยัญชนะ ก-ฮ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อรวบรวมคาที่มักเขียนผิดในภาษาไทย แล้วค้นคว้าแก้ไขให้ถูกต้อง 2. เพื่อเขียนคาในภาษาไทยให้ถูกต้องตามแบบพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 3. เพื่อเป็นศึกษาค้นคว้า รวบรวมการสะกดคาที่ถูกต้องให้กับคนรุ่นต่อ ๆ ไป ขอบเขตการศึกษา ขอบเขตด้านระยะเวลา ระยะเวลาในการทาโครงงานฉบับนี้ ดาเนินการในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 ตั้งแต่วันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ.2562 ถึงวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ.2562 ขอบเขตด้านประชากร ศึกษารวบรวมคาไทยจากอินเตอร์เน็ต คือ เว็บไซต์ต่าง ๆ และจากสื่อสังคมออนไลน์ ได้แก่ เฟซบุ๊ก และทวิตเตอร์ และนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4 (นักเรียนจานวน 28 คน) โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี นิยามศัพท์เฉพาะ 1. การเขียนสะกดคา หมายถึง การเขียนคาโดยใข้พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และตัวสะกดการันต์ เรียบเรียงให้ถูกต้องและได้ความหมาย ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2554 2. คาที่มักเขียนผิด หมายถึง คาไทยที่มักมีการเขียนสะกดคาผิด ๆ ทั้งจากคาพ้องรูปพ้องเสียงต่าง ๆ ทาให้เกิดความสับสน และจากกระแสการเขียนคาผิด ๆ ในกลุ่มวัยรุ่น 3. พจนานุกรมไทย หมายถึง พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2554 ซึ่งถือเป็น หนังสืออ้างอิงที่ได้ประมวลคาทั้งหมดที่มีอยู่ในภาษาไทย ให้คาอ่าน ความหมาย ตลอดจนที่มาของคา
  • 10. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ในการศึกษาโครงงานเรื่อง คาไทยที่มักเขียนผิด ทางคณะผู้จัดทาได้ทาการศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูล จากเอกสารที่เกี่ยวข้องและจากเว็บไซต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตโดยจะขอนาเสนอตามลาดับ ดังนี้ 1. ความหมายของภาษา 2. ความสาคัญของภาษา 3. องค์ประกอบของภาษา 4. การเขียนสะกดคา 5. ความสาคัญของการเขียนสะกดคา 6. พจนานุกรมภาษาไทย 7. คาไทยที่มักเขียนผิด 8. การเรียงลาดับคาตามตัวอักษรในภาษาไทย 9. วิธีพิจารณาลาดับของคา 10. การเรียงลาดับคาและวิธีเก็บคา (ฉบับราชบัณฑิตยสถาน) ความหมายของภาษา กาชัย ทองหล่อ (2533: 12-16) ได้กล่าวถึงความหมายของภาษาว่า “ภาษา” เป็นคาภาษาสันสกฤต แปลตามรูปศัพท์หมายถึงคาพูดหรือถ้อยคาภาษาเป็นเครื่องมือของมนุษย์ที่ใช้ในการสื่อความหมายให้สามารถ สื่อสารติดต่อทาความเข้าใจกันโดยมีระเบียบของคาและเสียงเป็นเครื่องกาหนดในพจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 ให้ความหมายของคาว่าภาษาคือเสียงหรือกิริยาอาการที่ทาความเข้าใจกันได้ คาพูดถ้อยคาที่ใช้พูดจากัน ภาษาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. ภาษาที่เป็นถ้อยคา 2. ภาษาที่ไม่เป็นถ้อยคา ความสาคัญของภาษา ภาษาเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการสื่อสารของมนุษย์ มนุษย์ติดต่อกันได้เข้าใจก็ด้วยอาศัยภาษาเป็น เครื่องมือช่วยที่ดีที่สุด ถือเป็นสิ่งช่วยยึดให้มนุษย์มีความผูกพันต่อกันเนื่องจากแต่ละภาษาต่างก็มีระเบียบแบบ แผนของคนซึ่งเป็นที่ตกลงกันในแต่ละชาติแต่ละกลุ่มชนการพูดภาษาเดียวกันจึงเป็นสิ่งที่ทาให้คนรู้สึกว่าเป็น พวกเดียวกันมีความผูกพันต่อกันในฐานะที่เป็นชาติเดียวกัน ซึ่งเป็นวัฒนธรรมอย่างหนึ่งของมนุษย์และเป็น เครื่องแสดงให้เห็นวัฒนธรรมส่วนอื่น ๆ ของมนุษย์ด้วย เราจึงสามารถศึกษาวัฒนธรรมตลอดจนเอกลักษณ์ของ ชนชาติต่าง ๆ ได้จากศึกษาภาษาของชนชาตินั้น ๆ
  • 11. 5 ภาษาศาสตร์มีระบบกฎเกณฑ์ ผู้ใช้ภาษาต้องรักษากฎเกณฑ์ในภาษาไว้ด้วยอย่างไรก็ตามกฏเกณฑ์ใน ภาษานั้นไม่ตายตัวเหมือนกฏวิทยาศาสตร์แต่มีการเปลี่ยนแปลงไปตามธรรมชาติของภาษาเพราะเป็นสิ่งที่ มนุษย์ตั้งขึ้นจึงเปลี่ยนแปลงไปตามกาลสมัยตามความเห็นชอบของส่วนรวม และยังเป็นเป็นศิลปะที่มีความ งดงามในกระบวนการใช้ภาษากระบวนการใช้ภาษานั้นมีระดับและลีลาขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ หลายด้านเช่น บุคคลกาลเทศะประเภทของเรื่องฯลฯการที่จะเข้าใจภาษาและใช้ภาษาได้ดีจะต้องมีความสนใจศึกษาสังเกตให้ เข้าถึงรสของภาษาด้วย องค์ประกอบของภาษา องค์ประกอบของภาษาโดยทั่วไปจะมี 4 ประการ คือ 1. เสียง นักภาษาศาสตร์จะให้ความสาคัญของเสียงพูดมกกว่าตัวเขียนที่เป็นลายลักษณ์อักษรเพราะ ภาษาย่อมเกิดจากเสียงที่ใช้พูดกันส่วนภาษาเขียนเป็นสัญลักษณ์ที่ใช้แทนเสียงพูดคาที่ใช้พูดจากันจะ ประกอบด้วยเสียงสระเสียงพยัญชนะและเสียงวรรณยุกต์แต่บางภาษาก็ไม่มีเสียงวรรณยุกต์เช่นบาลีสันสกฤต เขมรอังกฤษ 2. พยางค์และคา เป็นกลุ่มเสียงที่เปล่งออกมาแต่ละครั้งจะประกอบด้วยเสียงพยัญชนะเสียงสระและ เสียงวรรณยุกต์จะมีความหมายหรือไม่มีความหมายก็ได้พยางค์แต่ละพยางค์จะมีเสียงพยัญชนะต้นซึ่งเป็นเสียง ที่อยู่หน้าเสียงสระพยางค์ทุกพยางค์จะต้องมีเสียงพยัญชนะต้นเสียงสระและเสียงวรรณยุกต์บางพยางค์ก็อาจมี เสียงพยัญชนะสะกดประกอบอยู่ด้วยเช่น “ปา” พยัญชนะต้น ได้แก่ เสียงพยัญชนะ / ป / เสียงสระ ได้แก่ เสียงสระอา เสียงวรรณยุกต์ ได้แก่ เสียงสามัญ 3. คา เป็นการนาเสียงพยัญชนะ เสียงสระ และเสียงวรรณยุกต์มาประกอบกันทาให้เกิดเสียงและมี ความหมาย คาจะประกอบด้วยคาพยางค์เดียวหรือหลายพยางค์ก็ได้ 4. ประโยค เป็นการนาคามาเรียงกันตามลักษณะโครงสร้างของภาษาที่กาหนดเป็นกฎเกณฑ์หรือ ระบบตามระบบทางไวยากรณ์ของแต่ละภาษาและทาให้ทราบหน้าที่ของคา การเขียนสะกดคา เว็บสเตอร์ (Webster. 1966) กล่าวว่า การเขียนสะกดคาคือศิลปะหรือเทคนิคในการสร้างคาโดยใช้ อักษรตามแบบที่สังคมยอมรับ อดุลย์ ไทรเล็กพิม (2528 : 63) ได้ให้ความหมายของการสะกดคาว่า เป็นการเขียนโดยเรียงลาดับ พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ รวมทั้งตัวสะกดการันต์ ภายในคาหนึ่ง ๆ ได้ถูกต้องตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิต สถาน
  • 12. 6 อรพรรณ ภิญโญภาพ (2529 : 14) ได้อธิบายว่า การเขียนสะกดคา เป้นการฝึกทักษะการเขียนให้ ถูกต้องตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถานแก่ผู้เรียน และจะต้องให้ผู้เรียนเข้าใจการประสมคา รู้หลักเกณฑ์ ที่จะเรียบเรียงลาดับตัวอักษรในคาหนึ่ง ๆ ให้ได้ความหมายที่ต้องการ เพื่อจะนาประโยชน์ไปใช้ในการสื่อสาร จากความหมายของการเขียนสะกดคาที่กล่าวมาข้างต้น สรุปได้ว่า การเขียนสะกดคา หมายถึง การ เขียนโดยเรียงลาดับพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และตัวสะกดเป็นคาได้อย่างถูกหลักเกณฑ์ และถูกต้องตาม พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน เพื่อให้สามารถสื่อความหมายได้ถูกต้อง ความสาคัญของการเขียนสะกดคา การเขียนสะกดคาให้ถูกต้อง มีความสาคัญในเรื่องการสื่อความหมายหากเขียนสะกดผิดพลาด จะทา ให้การสื่อความหมายผิดเพี้ยนไป เข้าใจไม่ตรงกัน พจนานุกรมภาษาไทย พจนานุกรมไทยเป็นหนังสือสาหรับค้นคว้าความหมายของคาให้ความรู้เกี่ยวกับคาในภาษา เช่นการ เขียนสะกด การอ่านออกเสียง ชนิดของคาในไวยากรณ์ ที่มาของคาความหมาย ลักษณะของคาให้คาที่มี ความหมายเหมือนกันหรือตรงกันข้าม ประวัติของตา ชื่อต่าง ๆ ที่สาคัญ เป็นต้น พจนานุกรมที่ใช้เป็นบรรทัด ฐานในการเขียนสะกดการันต์ในภาษาไทยคือพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน คาไทยที่มักเขียนผิด คาไทยที่มักเขียนผิด หมายถึง คาไทยที่มักมีการเขียนสะกดคาผิด จากการสะกด จากวรรณยุกต์ จาก คาพ้องเสียงทาให้ตัวสะกดไม่ตรงตามในพจนานุกรมภาษาไทย ทาให้เกิดการเขียนผิด การสื่อความหมายผิดไป จากตรงผู้เขียนต้องการสื่อ การเรียงลาดับคาตามตัวอักษรในภาษาไทย วิธีเรียงลาดับคาตามตัวอักษรในภาษาไทย คือ การจัดลาดับก่อนหลังของคาต่างๆ ในภาษาไทยอย่าง เป็นระบบ เพื่อก่อให้เกิดความสะดวกและรวดเร็วในการค้นหาคา การเรียงลาดับคาอย่างเป็นระบบนี้ถูก นาไปใช้ประโยชน์โดยทั่วไป เช่น การทาพจนานุกรม การทาดัชนีของหนังสือ การเรียงรายชื่อผู้ติดต่อใน โทรศัพท์เคลื่อนที่ การเรียงข้อมูลตามตัวอักษรในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่างๆ เป็นต้น โดยการเรียงลาดับคาจะ มีกฎต่าง ๆ ที่นามาใช้ในการพิจารณาเปรียบเทียบคา กฎลาดับอักขระ คือ กฎในการจัดเรียงลาดับก่อนหลังของอักขระในภาษาไทย ซึ่งมีความจาเป็นที่ต้อง ทราบเพื่อใช้ในขั้นตอนการเปรียบเทียบอักขระของคา กฎลาดับพยัญชนะ
  • 13. 7 จะเรียงลาดับพยัญชนะดังนี้ ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง จ ฉ ช ซ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ฤ ฤๅ ล ฦ ฦๅ ว ศ ษ ส ห ฬ อ ฮ ข้อสังเกต ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ไม่ใช่พยัญชนะ แต่ถูกนามาพิจารณาร่วมกับพยัญชนะ กฎลาดับสระ จะเรียงลาดับรูปสระดังนี้ อะ อั อา อา อิ อี อึ อื อุ อู เอ แอ โอ ใอ ไอ ( ะ ัั า ัา ัิ ัี ัึ ัื ัุ ัู เ แ โ ใ ไ ) ข้อสังเกต การเรียงสระจะยึดตามรูปที่เขียนไม่ใช่เสียง สระผสมจะไม่นามาจัดเรียงโดยตรง (เช่น เ- ัีย, เ- ัือ, เ-าะ, แ-ะ) แต่จะถูกแยกรูปพิจารณาเป็นอักขระเดี่ยว กฎลาดับวรรณยุกต์ จะเรียงลาดับดังนี้ ไม้ไต่คู้, ไม้เอก, ไม้โท, ไม้ตรี, ไม้จัตวา, ทัณฑฆาต ( ั็ ั่ ั้ ั๊ ั ั์) ข้อสังเกต ไม้ไต่คู้ ( ั็) กับทัณฑฆาต ( ั์) ไม่ใช่วรรณยุกต์แต่ถูกนามาพิจารณาร่วมกับวรรณยุกต์ วิธีพิจารณาลาดับของคา ในแต่ละคาให้พิจารณาพยัญชนะต้นก่อนสระและวรรณยุกต์เสมอ แม้ว่าจะมีสระเขียนไว้ด้านหน้า ด้านบน หรือด้านล่างของพยัญชนะต้น ก็ต้องพิจารณาดั่งสระนั้นถูกเขียนไว้หลังพยัญชนะต้นเสมอ จากนั้นจับคู่ คาแล้วแยกเปรียบเทียบอักขระทีละคู่ไปตามลาดับในคา จนกว่าจะพบตาแหน่งที่แตกต่าง แล้วจึงใช้กฎลาดับ อักขระที่กล่าวไว้แล้วก่อนหน้านี้ในการเรียง 1. หากคาที่เปรียบเทียบ ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะต่างกัน ให้ใช้กฎลาดับพยัญชนะได้ทันที เช่น กลอน จะมาก่อน คลอน เพราะต่างกันที่อักขระแรก ก มาก่อน ค ศาลา จะมาก่อน สาระ เพราะต่างกันที่อักขระแรก ศ มาก่อน ส 2. หากคาที่เปรียบเทียบ ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะเดียวกัน ให้พิจารณาอักขระถัดไปเรื่อยๆ จนกว่าจะพบอักขระ ที่ไม่เหมือนกัน เช่น จักรพรรณ (จ- ัั-ก-ร-พ-ร-ร-ณ) จะมาก่อน จักรพรรดิ (จ- ัั-ก-ร-พ-ร-ร-ด- ัิ) เพราะต่างกันที่ อักขระคู่ที่ 8 โดย ณ มาก่อน ด 3. หากมีคาที่เปรียบเทียบ ขึ้นต้นด้วยสระหน้า (เ แ โ ใ ไ ) ไม่ว่าจะเป็นสระเดียวกันหรือไม่ก็ตาม จะต้องข้าม ไปพิจารณาพยัญชนะต้นก่อนเสมอ และให้พิจารณาดั่งสระหน้านั้นถูกเขียนอยู่หลังพยัญชนะต้นหนึ่ง ตาแหน่ง เช่น แกลบ (ก-แ-ล-บ) จะมาก่อน ครอง (ค-ร-อ-ง) เพราะพยัญชนะต้นต่างกันคือ ก กับ ค ไกล (ก-ไ-ล) จะมาก่อน เพลง (พ-เ-ล-ง) เพราะพยัญชนะต้นต่างกันคือ ก กับ พ เกวียน (ก-เ-ว- ัี-ย-น) จะมาก่อน เกิน (ก-เ- ัิ-น) เพราะอักขระคู่ที่ 3 ต่างกัน คือ ว มาก่อนสระอิ เกวียน (ก-เ-ว- ัี-ย-น) จะมาก่อน ไกล (ก-ไ-ล) เพราะอักขระคู่ที่ 2 ต่างกัน คือ เ มาก่อน ไ
  • 14. 8 เกม (ก-เ-ม) จะมาก่อน แกง(ก-แ-ง) เพราะพยัญชนะต้นเหมือนกันคือ ก จึงต้องเปรียบเทียบคู่ เ กับ แ เกเร (ก-เ-ร-เ) จะมาก่อน เกลอ (ก-เ-ล-อ) เพราะอักขระคู่ที่ 3 ต่างกัน คือ ร มาก่อน ล สีแดง (ส- ัี-ด-แ-ง) จะมาก่อน แสดง (ส-แ-ด-ง) มีพยัญชนะต้นเป็น ส เหมือนกัน แต่ สระอี มาก่อน แ 4. ไม่พิจารณาวรรณยุกต์และเครื่องหมายในตอนแรก ยกเว้นกรณีคาที่เปรียบเทียบต่างกันเฉพาะที่ วรรณยุกต์หรือเครื่องหมาย ก็ให้ใช้กฎลาดับวรรณยุกต์ เช่น เก็ง, เก่ง, เก้ง, เก๋ง (ก-เ-ง) โดยทั้ง 4 คานี้ต่างกันเฉพาะเครื่องหมายวรรณยุกต์โดยที่ตาแหน่งไม่ ต่างกัน จึงใช้กฎลาดับวรรณยุกต์ได้ทันที แป้ง (ป-แ-ง) จะมาก่อน แปล๋น (ป-แ-ล-น) เพราะ ง มาก่อน ล โดยไม่ต้องพิจารณาวรรณยุกต์ เก็บ (ก-เ-บ) จะมาก่อน เกม (ก-เ-ม) เพราะ บ มาก่อน ม โดยไม่ต้องพิจารณาเครื่องหมายไม้ไต่คู้ เกร็ง (ก-เ-ร-ง) จะมาก่อน เกเร (ก-เ-ร-เ) เพราะอักขระคู่ที่ 4 คือ ง มาก่อน เ โดยไม่ต้องพิจารณา เครื่องหมายไม้ไต่คู้ ไส้ไก่ (ส-ไ-ก-ไ) จะมาก่อน ไสยาสน์ (ส-ไ-ย-า-ส-น) เพราะอักขระคู่ที่ 3 คือ ก มาก่อน ย โดยไม่ต้อง พิจารณาวรรณยุกต์ 5. หากคาที่เปรียบเทียบต่างกันเฉพาะตาแหน่งของวรรณยุกต์เท่านั้น ถึงแม้ตัววรรณยุกต์จะต่างกัน ให้ถือ ว่าพยัญชนะที่ไม่มีวรรณยุกต์กากับมาก่อนตัวที่มีวรรณยุกต์กากับเสมอ เช่น แหง่ (ห-แ-ง่) จะมาก่อน แห่ง (ห่-แ-ง) เพราะจุดต่างแรกคือตัว ห โดยในคาว่า แหง่ ไม่มีวรรณยุกต์ แหง้ (ห-แ-ง้) จะมาก่อน แห่ง (ห่-แ-ง) เพราะแม้วรรณยุกต์ต่างกัน แต่จุดต่างแรกคือตัว ห โดยในคาว่า แหง้ ไม่มีวรรณยุกต์กากับ (คาว่า แหง้ เป็นคาสมมติที่ไม่มีความหมาย ใช้เพื่อประกอบการอธิบายเท่านั้น)
  • 15. 9 การเรียงลาดับคาและวิธีเก็บคา (ฉบับราชบัณฑิตยสถาน) 1. ตัวพยัญชนะลาดับไว้ตามตัวอักษร คือ ก ข ฃ ค ฯลฯ จนถึง อ ฮ ไม่ได้ลาดับตามเสียง เช่น จะค้น คา ทราบ ต้องไปหาในหมวดตัว ท จะค้นคา เหมา ต้องไปหาในหมวดตัว ห ส่วน ฤ ฤๅ ลาดับ ไว้หลังตัว ร และ ฦ ฦๅ ลาดับไว้หลังตัว ล 2. สระไม่ได้ลาดับไว้ตามเสียง แต่ลาดับไว้ตามรูปดังนี้ ะ ัั า ัิ ัี ัึ ัื ัุ ัู เ แ โ ใ ไ รูปสระที่ ประสมกัน หลายรูปจะจัดเรียงตามลาดับรูปสระที่อยู่ก่อนและหลังตามลาดับข้างต้นดังได้ลาดับให้ดูต่อไปนี้ 1. ) ะ 2. ) ัั (กัน) 3. ) ัั ะ (ผัวะ) 4. ) า 5. ) ัา 6. ) ัิ 7. ) ัี 8. ) ัึ 9. ) ัื 10. ) ัุ 11. ) ัู 12. ) เ 13. ) เ ะ (เกะ) 14. ) เ า (เขา) 15. ) เ าะ (เจาะ) 16. ) เ ัิ(เกิน) 17. ) เ ัี (เสีย) 18. ) เ ัีะ (เดียะ) 19. ) เ ัื (เสือ) 20. ) เ ั ื ะ (เกือะ) 21. ) แ 22. ) แ ะ (แพะ) 23. ) โ 24. ) โ ะ (โป๊ะ) 25. ) ใ 26. ) ไ สาหรับตัว ย ว อ นับลาดับอยู่ในพยัญชนะเสมอ 3. การเรียงลาดับคา จะลาดับตามพยัญชนะก่อนเป็นสาคัญ แล้วจึงลาดับตามรูปสระ ดังนั้นคาที่ไม่มี สระปรากฏเป็นรูปประสมอยู่ด้วย จึงอยู่ข้างหน้า เช่น กก อยู่หน้า กะ หรือ ขลา อยู่หน้า ขะข่า ส่วนคาที่มี พยัญชนะกับสระปรากฏเป็นรูปประสมกันก็ใช้หลักการลาดับคาข้างต้นเช่นเดียวกัน เช่น จริก จริม จรี จรึง จรุก และโดยปรกติจะไม่ลาดับตามวรรณยุกต์ เช่น ไต้กง ไต้ฝุ่น ไต่ไม้ แต่จะจัดวรรณยุกต์ เข้าในลาดับต่อเมื่อ คานั้นเป็นคาที่มีตัวสะกดการันต์เหมือนกัน เช่น ไต ไต่ ไต้ ไต หรือ กระตุ่น กระตุ้น คาที่มี ั็ (ไม้ไต่คู้) จะ ลาดับอยู่ก่อนวรรณยุกต์ เช่น เก็ง เก่ง เก้ง เกง 4. จาพวกคาที่นาด้วย กระ- บางพวกใช้แต่ กระ- อย่างเดียว บางพวกใช้เป็น กะ- ก็ได้ประเภทที่ใช้ เป็น กะ- ได้นั้น ได้เก็บมารวมพวกไว้ที่ กะ- อีกครั้งหนึ่ง แต่เก็บเฉพาะคาโดยไม่มีบทนิยาม ดังนั้น ถ้าพบคาที่ ขึ้นต้นด้วย กะ ในจาพวกนั้น ให้ดูบทนิยามที่ กระ- เช่น กระทะ กระเปาะ เว้นไว้แต่ที่ใช้ได้ทั้ง 2 อย่างโดย ความหมายต่างกัน เช่น กระแจะ-กะแจะ กระด้าง-กะด้าง จึงจะมีบทนิยามไว้ทั้ง 2 แห่ง 5. คาที่เพิ่มพยางค์หน้าซึ่งใช้ในคาประพันธ์โบราณ เช่น มี่ เป็น มะมี่ ริก เป็น ระริก ครื้น เป็น คะครื้น หรือ คระครื้น แย้ม เป็น ยะแย้ม ฯลฯ อันเป็นวิธีที่ภาษาบาลีเรียกว่า อัพภาส และภาษาสันสกฤตเรียกว่า อัภ ยาส แปลว่า วิธีซ้อนตัวอักษร เช่น ททาติ ททามิ นั้น คาเหล่านี้มีจานวนมาก บางแห่งเก็บรวมไว้ที่คาขึ้นต้น เช่น คะครื้น เก็บที่ คะ แล้วบอกว่า ใช้นาหน้าคาที่ตั้งต้นด้วยตัว ค มีความแปลอย่างเดียวกับคาเดิมนั้น บาง
  • 16. 10 แห่งเก็บกระจายเรียงไปตามลาดับคา เช่น มะมี่ แต่ก็คงจะเก็บไม่หมด ฉะนั้นถ้าคาใดค้นไม่พบที่ลาดับคา ให้ไป ดูคาที่เป็นต้นเดิม เช่น ยะแย้ม ดูที่ แย้ม 6. ภาษาถิ่นบางถิ่นพูดสั้น ๆ เช่น กะดะ พูดแต่เพียง ดะ (ไม่มี กะ) กะง้อนกะแง้น พูดแต่เพียง ง้อน แง้น (ไม่มี กะ) แต่ความหมายของคาเหมือนกันกับคาที่มี กะ นาหน้า คาเช่นนี้เก็บไว้ที่ กะ แห่งเดียว 7. คาที่มีเสียงกลับกัน เช่น ตะกรุด เป็น กะตรุด ตะกร้อ เป็น กะตร้อ ตะกรับ เป็น กะตรับ โดยปกติ เก็บไว้ทั้งที่อักษร ก และ ต แต่ถ้าค้นไม่พบที่อักษร ก ก็ให้ค้นที่อักษณ ต 8. คาต่อไปนี้ซึ่งเป็นคาที่ใช้มากในบทกลอน คือ ก. คาที่เติม อา อี หรือ อิน ข้างท้าย เช่น กายา กายี กายิน ข. คาที่เติม เอศ ข้างท้าย (ตามภาษากวีเรียกว่า ศ เข้าลิลิต ทาคาที่เรียกว่าคาสุภาพให้เป็นคาเอกตามข้อบังคับ โคลง) เช่น กมเลศ มยุเรศ ค. คาที่เติม อาการ ข้างท้าย เช่น จินตนาการ คมนาการ ทัศนาการ ฆ. คาที่เติม ชาติ ข้างท้าย เช่น กิมิชาติ คชาชาติ คาเหล่านี้มักมีความหมายไม่ต่างไปจากเดิม ได้รวบรวมเก็บไว้ในพจนานุกรมนี้ด้วยแต่อาจไม่หมด เพราะมีจานวนมาก ถ้าค้นไม่พบในรูปคานั้น ๆ ให้ดูที่คาเดิม เช่น กายา กายี เมื่อค้นที่คา กายา กายี ไม่พบ ให้ ดูที่คา กาย คา กาย มีความหมายอย่างไร กายา กายี ก็มีความหมายเช่นเดียวกันคาอื่น ๆ ให้ค้นดูในทานองนี้ 9. ศัพท์ที่มีมูลรากอย่างเดียวกัน แต่แปลงรูปไปได้หลายอย่าง เช่น หิมวัต แปลงรูปเป็นหิมวันต์ หิมวา หิมวาต หิมวาน หิมพาน โดยความหมายไม่เปลี่ยนไป ได้ให้บทนิยามไว้ที่ศัพท์เดิมคือที่หิมวัต แต่แห่งเดียว ส่วน ศัพท์ที่แปลงรูปไปจากศัพท์เดิมก็เก็บไว้ต่างหาก แต่บ่งให้ไปดูที่ศัพท์เดิม เช่นหิมวันต์, หิมวา, หิมวาต, หิมวาน [หิมมะ]- น. หิมวัต. 10. การเรียงลาดับคาที่เป็นนามย่อย เช่น ตะนอย ช่อน คา ไม่ได้เรียงรวมกับตัวสามายนามอย่างที่ใช้ พูด เป็น มดตะนอย ปลาช่อน หญ้าคา แต่ได้เรียงสามานยนาม มด ปลา หญ้า ไว้แห่งหนึ่งตามตัวอักษร และ เรียงนามย่อย ตะนอย ช่อน คา ไว้ต่างหากตามตัวอักษรนั้น ๆ เว้นแต่คาซึ่งแยกออกไม่ได้เพราะเป็นชื่อของสิ่ง ใดสิ่งหนึ่งทั้งคา เช่น แมลงภู่ ซึ่งเป็นชื่อของหอยหรือปลาบางชนิด จะเรียงรวมไว้ด้วยกันที่อักษร ม หรือ ปลา กริม ซึ่งเป็นชื่อขนม ไม่ใช่ปลา จะเรียงรวมไว้ด้วยกันที่อักษร ป ถึงกระนั้นก็มีคาบางคาที่ไม่อาจเรียงตามหลักนี้ ได้ ฉะนั้น คาในทานองนี้เมื่อค้นไม่พบในที่ที่เป็นนามย่อยก็ให้ค้นต่อไปในที่ที่เป็นสามานยนาม เช่นคา น้าตาล กรวด เมื่อค้นที่ กรวด ไม่พบ ก็ให้ไปค้นที่คา น้าตาล 11. คา 2 คาเมื่อประสมกันแล้ว โดยคาแรกเป็นคาเดียวกับแม่คาหรือคาตั้ง และมีความหมาย เกี่ยวเนื่องกับคาตั้ง จะเก็บเป็นอนุพจน์ คือ ลูกคาของคาตั้งนั้น ๆ เช่น กดขี่ กดคอ กดหัว เก็บเป็นลูกคาของคา กด เว้นแต่คาที่ประสมกันนั้นจะมีความหมายเป็นอิสระหรือต่างไปจากคาตั้ง จึงจะแยกเป็นคาตั้งต่างหาก เช่น ขวัญอ่อน ที่หมายถึงผู้ตกใจง่าย คือ เด็กหรือหญิงซึ่งมักจะขวัญหายบ่อย ๆ เก็บเป็นลูกคาของคา ขวัญ ส่วน ขวัญอ่อน ที่เป็นชื่อเพลงร้องราชนิดหนึ่ง จะแยกเป็นคาตั้งเพราะมีความหมายต่างออกไป คาลักษณะนี้จะใส่
  • 17. 11 เลขกากับไว้ด้วย เป็น ขวัญอ่อน 1 และ ขวัญอ่อน 2 ส่วนคาที่นามาประสมกันแล้ว มีความหมายไม่ต่างจากคา เดิม แปลได้คาต่อคา จะไม่เก็บ เช่น ข้าวผัด ไม่เก็บเป็นลูกคาของ ข้าวเพราะมีความหมายเท่าคาเดิมแต่ละคา 12. คาคาเดียวกันซึ่งอาจประสมอยู่ข้างหน้าหรือข้างหลังคาอื่น ๆ เช่น น้า ประสมอยู่ในคาต่าง ๆ เป็น แม่น้า ลูกน้า น้าใจ น้าต้อย ถ้าคาที่อยู่ข้างหน้าคา น้า เป็นอักษรตัวอื่น จะลาดับไว้ที่อักษรนั้น ๆ อย่างคา แม่น้า ลาดับไว้ที่อักษร ม ลูกน้า ลาดับไว้ที่อักษร ล ไม่ลาดับไว้ที่อักษร น แต่ถ้าคา น้าอยู่ข้างหน้า ก็ลาดับไว้ที่ อักษร น โดยเป็นลูกคาของคา น้า เช่น น้ากรด น้าแข็ง น้าย่อย
  • 18. บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน โครงงานฉบับนี้เป็นการทาโครงงานเพื่อศึกษาเกี่ยวกับคาไทยที่มักเขียนผิด โดยวิธีการดาเนินงานของ การทาโครงงานฉบับนี้ ทางคณะผู้จัดทาจะแบ่งเป็น 2 ส่วน ดังนี้ การรวบรวมคาไทยที่มักเขียนผิด ขั้นตอนการดาเนินงาน 1. รวบรวมคาไทยที่มักเขียนผิดบนอินเตอร์เน็ตโดยการค้นคว้าจากเว็บไซต์ต่าง ๆ 2. รวบรวมคาไทยที่มักเขียนผิดจากสื่อสังคมออนไลน์ ได้แก่ เฟซบุ๊ก และทวิตเตอร์ โดยการรวบรวม จากโพสต์ต่าง ๆ บนสื่อสังคมออนไลน์ 3. เก็บรวบรวมคาต่าง ๆ ที่มีการเขียนสะกดคาผิดจัดแบ่งไว้ตามตัวอักษรและรวมคาเขียนสะกดผิดที่มี ความหมายเดียวกันเข้าไว้กัน 4. แก้ไขคาที่เขียนผิดให้ถูกต้อง โดยเป็นคาที่เขียนถูก คาที่เขียนผิด แบ่งไปตามตัวอักษร การสรุปเรียงคาตามแบบพจนานุกรม ขั้นตอนการดาเนินงาน 1. ทาตารางสรุปคาไทยที่มักเขียนผิดโดยจัดเรียงตามแบบพจนานุกรม โดยเรียงลาดับดังนี้ 1.1. พยัญชนะ เรียงลาดับตามตัวอักษร โดยยึดพยัญชนะตัวแรกเป็นหลักในการเรียง (ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง……. ม ย ร ฤ ฤๅ ล ฦ ฦๅ ว………อ ฮ) 1.2. สระ เรียงลาดับตามรูปสระที่อยู่ก่อนหลัง (อะ อัว อัะ อา อ า อิ อี อึ อื อุ อู เอ เอะ เอา เอาะ เอิ เอี เอีะ เอื เอืะ แอ แอะ โอ โอะ ใอ ไอ) 1.3. คาที่อยู่ในหมวดอักษรเดียวกัน ได้แก่ ตัวสะกด อักษรควบกล้า หรืออักษรนา 1.4. คาที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะและตามด้วยพยัญชนะ มาก่อนคาที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะและตาม ด้วยสระ 1.5. คาที่ขึ้นไม่มีรูปวรรณยุกต์มาก่อนคาที่มีรูปวรรณยุกต์ 2. บอกชนิดของคาและให้ความหมายคานั้น ๆ ลงในตารางสรุป
  • 19. บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน ในการศึกษาโครงงานเรื่อง คาไทยที่มักเขียนผิด ทางคณะผู้จัดทาได้ทาการศึกษาค้นคว้ารวบรวมคาที่มักเขียน ผิดจากเว็บไซต์บนอินเตอร์เน็ตและสื่อสังคมออนไลน์โดยจะขอนาเสนอผลการดาเนินงาน ดังนี้ ก คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ก็ ก้อ กงเกวียนกา เกวียน กงกากงเกวียน กงสุล กงศุล กฎ กฏ กฐิน กฐิณ กบฏ กบฎ, กบถ กบาล, กระบาล กะบาล, -บาน กรรมกร กรรมกรณ์ กรรมกรณ์ กรรมกร กระเชอ กระเฌอ, กะเชอ, กะเฌอ กระเพาะ กะเพาะ, กะเพราะ, กระเพราะ (พระ) กระยาหาร (พระ) กายาหาร กริยา กิริยา กรีฑา กรีธา, กรีทา กรีธา กรีฑา กลยุทธ์ กลยุทธ, กลยุทธิ, กลยุทธิ์ กลางคัน กลางครัน กลิ่นอาย กลิ่นไอ กสิณ กสิน กเฬวราก กเลวราก คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น กอปร กอป, กอปร์ กอล์ฟ กลอฟ, กอลฟ์, ก็อลฟ์, ก็อล์ฟ, ก๊อลฟ์, ก๊อล์ฟ กะทันหัน กระทันหัน กะเทย กระเทย กะเทาะ กระเทาะ กะบังลม กระบังลม กะปิ กระปิ กะพง กระพง กะพริบ กระพริบ กะพรุน กระพรุน กะเพรา กะเพา, กระเพา, กระ เพรา กะล่อน กระล่อน กะละมัง กาละมัง กะลาสี กลาสี กะละแม กาละแม, กาลาแม, กาละแมร์ กะหรี่ กระหรี่ กะเหรี่ยง กระเหรี่ยง กะหล่า กระหล่า กะโหลก กระโหลก
  • 20. 14 กังวาน กังวาล กันทรลักษ์ กันทรลักษณ์, กัณ- คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น กันแสง กรรแสง, กรรณแสง กาลเทศะ กาละเทศะ กาลเวลา กาฬเวลา กาฬสินธุ์ กาฬสินธ์, กาล- กาเหน็จ กาเน็จ, กาเหน็ด กิจจะลักษณะ กิจลักษณะ, กิจจลักษณะ กิตติมศักดิ์ กิติมศักดิ์, เกียรติมศักดิ์ กินรี กินนรี กิริยา กริยา กุฎี, กุฏิ กุฎ, กุฎิ กู กรู คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น เกม เกมส์ เกล็ดเลือด เกร็ดเลือด เกษียณ เกษียน, เกษียร เกสร เกษร เกาต์ เก๊าท์ เกียรติ เกียตร, เกียรต, เกียรต์, เกียรติ์ แก๊ง แก๊งค์, แก๊งก์, แก๊งส์, แกงค์, แกงส์ แกร็น แกน, แกรน ข คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ขบถ ขบฏ ขโมย โขมย ขริบ ขลิบ, ขริป, ขลิป ขลิบ ขริบ, ขริป, ขลิป ขวาน ขวาญ ขะมักเขม้น ขมักเขม้น ขัณฑสกร ขัณท-, ขันท-, ขันฑ- คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ขาดดุล ขาดดุลย์ ข้าวเหนียวมูน ข้าวเหนียวมูล ขี้เกียจ ขี้เกลียด, ขี้เกียด ขึ้นฉ่าย คึ่น-, ขื้น-, คื่น-, -ช่าย, - ไฉ่, -ไช่ เขยก ขเยก, ขะเหยก ไข่มุก ไข่มุกข์, ไข่มุกด์, ไข่มุข ฃ ปัจจุบันไม่มีคาที่ใช้ "ฃ" โดยหันไปใช้ "ข" แทน เช่น "ฃวด" ก็ใช้เป็น "ขวด" เป็นต้น ค คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น คณบดี คณะบดี คทา คฑา, คธา คน ฅน
  • 21. 15 คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ครรไล ครรลัย ครองแครง คลองแคลง ครองราชย์ ครองราช คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ครอบคลุม คลอบคลุม, -ครุม, - คุม คริสตกาล คริสต์กาล คริสตจักร คริสต์จักร คริสต์ทศวรรษ คริสตทศวรรษ คริสต์ศตวรรษ คริสตศตวรรษ คริสต์ศักราช คริสตศักราช คริสต์ศาสนา คริสตศาสนา คริสต์ศาสนิกชน คริสตศาสนิกชน คริสต์มาส คริสตมาส ครุฑ ครุท, ครุธ ครุภัณฑ์ คุรุภัณฑ์ ครุศาสตร์ คุรุศาสตร์ คฤหาสน์ คฤหาสถ์ คลิก คลิ้ก, คลิ๊ก คลินิก คลีนิก, คลินิค ค้อน ฆ้อน คะ ค๊ะ คะนอง คนอง คัดสรร คัดสรรค์ คาร์ป คาร์ฟ, คราฟ, คาร์พ, คราพ คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น คารวะ เคารวะ, คาราวะ, คราวะ คานวณ คานวน คาสดุดี คาดุษฎี คุกกี้ คุ้กกี้, คุ๊กกี้ คุรุศึกษา ครุศึกษา เค้ก เค็ก, เค๊ก เครียด เคลียด เครื่องราง เครื่องลาง แค็ตตาล็อก แคตตาล็อก, แค ตาล็อก แคบหมู แค็บ-, แคป-, แค็ป- แคระแกร็น แคะแกรน, แคระ แกน, แคระแกรน, แคระเกร็น แครง แคลง โค่ง โข่ง โคตร โครต, โคต, โคด โครงการ โครงการณ์, โคลงการ โควตา โควต้า คอลัมน์ คอลัมม์, คอลัมภ์ ฆ คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ฆราวาส ฆรวาส, ฆารวาส, -วาท ฆาตกร ฆาตรกร คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
  • 22. 16 ฆาตกรรม ฆาตรกรรม เฆี่ยน เคี่ยน ง คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น งบดุล งบดุลย์ คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น งูสวัด งูสวัส, งูสวัสดิ์ จ คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น จงกรม จงกลม จระเข้ จรเข้ จลนศาสตร์ จลศาสตร์ จลาจล จราจล จะงอย จงอย จะจะ จะ ๆ จะละเม็ด จาละเม็ด, จาระเม็ด, จรเม็ด, จระเม็ด จักจั่น จั๊กจั่น จักร จักร์ จักรพรรดิ จักรพรรดิ์ จักรวรรดิ จักรวรรดิ์ จักสาน จักรสาน จัตุรัส จตุรัส คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น จาระไน จารไน จาระบี จารบี จานง จานงค์ จินตนาการ จินตะนาการ, จินตรนาการ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย เจ๊ง เจ็ง, เจ้ง, เจง เจง เจ๊ง เจตจานง เจตจานงค์ เจตนารมณ์ เจตนารมย์ เจียระไน เจียรไน โจทก์ โจทย์ ใจ จัย ฉ คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ฉบับ ฉะบับ ฉะนั้น ฉนั้น ฉะนี้ ฉนี้ ฉัน ฉันท์ คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น
  • 24. 18 ช คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น (พระ) ชนมพรรษา (พระ) ชนม์พรรษา (พระ) ชนมายุ (พระ) ชนม์มายุ ชมพู ชมภู ชมพู่ ชมภู่ ชลมารค ชลมาค, ชลมาคร ช็อกโกเลต, ช็อกโกแลต ช๊อกโกแลต, ช็อกโก แล็ต, ชอคโกแลต, ช๊อค โกแลต, ช็อคโกแลต คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ชอุ่ม ชะอุ่ม ชะนี ชนี ชะมด ชมด ชะลอ ชลอ ชัชวาล ชัชวาลย์ ชานชาลา ชานชะลา ชีวประวัติ ชีวะประวัติ ไชเท้า, ไช้เท้า ใชเท้า ไชโป๊, ไช้โป๊ ไชโป๊ว, ไช้โป๊ว, ไชโป้ว ซ คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ซวดเซ ทรวดเซ ซ่องเสพ ส้องเสพ ซาบซ่าน ทราบซ่าน, -ส้าน ซาบซึ้ง ทราบซึ้ง ซาลาเปา ซาละเปา, ซะละเปา ซาวเสียง ซาวด์เสียง, ซาวน์เสียง ซีรีส์ ซีรีย์, ซีรี่ย์ คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ซุ่ม สุ่ม, สุ้ม ซุ้ม สุ้ม เซ็นชื่อ เซ็นต์ชื่อ เซนติเมตร เซ็นติเมตร แซ่บ แซบ ไซ้ ไซร้ โซม โทรม ฌ คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ฌาน ฌาณ ฌาปนกิจ ฌาปณกิจ คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น เฌอ กระเฌอ, กะเฌอ ญ คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ญวน ญวณ
  • 25. 19 คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ญัตติ ญัติ คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ญาณ ญาน คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ญาติ ญาต ฎ คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ฎีกา ฏีกา ฏ ปัจจุบันไม่มีคาที่ขึ้นต้นด้วย "ฏ" ฐ คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ฐาน ฐาณ ฑ ไม่มีคาที่เขียนผิด ฒ ไม่มีคาที่เขียนผิด สาหรับ "เฒ่าแก่" และ "เถ้าแก่" ใช้ได้ทั้งสองคา ณ คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ณ ณ. ด คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ดอกจัน ดอกจันท์, ดอกจันทน์, ดอกจันทร์ ดอกจันทน์ ดอกจัน, ดอกจันท์, ดอกจันทร์ คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ดอกไม้จันทน์ ดอกไม้จัน, ดอกไม้ จันท์, ดอกไม้จันทร์ ดัตช์ ดัชต์, ดัชท์, ดัทช์
  • 26. 20 ดาดตะกั่ว ดาษตะกั่ว ดาดฟ้า ดาษฟ้า คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ดาวน์ ดาว์น, ดาว ดาษดื่น ดาดดื่น ดารง ดารงค์ ดาริ ดาหริ, ดาริห์ ดุล ดุลย์ ดุษณี โดยดุษฎี คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น เดินเหิน เดินเหิร เดือดร้อน เดือนร้อน แดก แดรก, แด่ก, แดร่ก, แด๊ก ไดรฟ์ ไดร์ฟ ต คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ต่าง ๆ ต่างๆ หรือ ต่างต่าง ตรรกะ, ตรรก- ตรรกกะ ตระเวน ตระเวณ ตราสัง ตราสังข์ ตรึงตรา ตรึงตา ตะกร้า ตระกร้า ตะราง ตาราง ตานขโมย ตาลขโมย ตาราง ตะราง ตารับ ตาหรับ คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ติดสัด ติดสัตว์ โต๊ะ โต้ะ ใต้ ไต้ ใต้เท้า ไต้เท้า ไต้ ใต้ ไต้กง ใต้กง ไต้ฝุ่น ใต้ฝุ่น ไตรยางศ์ ไตรยางค์ ไต้หวัน ใต้หวัน ถ คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ถนนลาดยาง ถนนราดยาง ถ่วงดุล ถ่วงดุลย์ ถั่วพู ถั่วพลู คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น เถา เถาว์ ไถ่ตัว ถ่ายตัว ท คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ทโมน ทะโมน, โทมน
  • 27. 21 ทยอย ทะยอย คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ทแยง ทะแยง, แทยง ทรงกลด ทรงกรด คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ทรมาทรกรรม ทรมานทรกรรม ทรราช ทรราชย์ ทระนง, ทะนง ทรนง, ทนง ทลาย ทะลาย ทศกัณฐ์ ทศกัณฑ์ ทอนซิล ทอมซิน ทะนุถนอม ทนุถนอม ทะนุบารุง, ทานุบารุง ทนุบารุง ทะลาย ทลาย ทะเลสาบ ทะเลสาป ทัณฑ์ ฑัณฑ์ ทายาด ทายาท ทายาท ทายาด, ทาญาติ ทารุณ ทารุน ทีฆายุโก ฑีฆายุโก ทุกรกิริยา ทุกขกิริยา, ทุกขร กิริยา ทุคติ ทุกข์คติ ทุพพลภาพ ทุพลภาพ ทุพภิกขภัย ทุภิกขภัย คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ทุศีล ทุจศีล ทูต ฑูต ทูนหัว ทูลหัว ทูลกระหม่อม ทูนกระหม่อม เท่ เท่ห์ เทพนม เทพพนม เทเวศ, เทเวศร์, เทเวศวร์ เทเวศน์ เทโวโรหณะ เทโวโรหนะ เทอญ เทิญ เทอม เทิม, เทิร์ม เท้าความ ท้าวความ เทิด เทอด เทิดทูน เทิดทูล แท็กซี่ แท๊กซี่ แทรกแซง แซกแซง โทรทรรศน์ โทรทัศน์ โทรทัศน์ โทรทรรศน์ โทรม โซม โทรศัพท์ โทรศัพย์ ธ คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ธนบัตร ธนาบัตร ธนาณัติ ธนานัติ, ธนาณัต ธรรมเนียม ทาเนียม ธัญพืช ธัญญพืช คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ธามรงค์ ธามรง, ทามะรงค์ ธารง ธารงค์
  • 28. 22 ธุรกิจ ธุระกิจ น คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น นพปฎล นพปดล นภดล นพดล นวัตกรรม นวตกรรม นอต น็อต, น๊อต นะ น๊ะ นะคะ นะค่ะ, นะค๊ะ นันทนาการ สันทนาการ นัย นัยยะ นัยน์ตา นัยตา น่า หน้า นาฏกรรม นาฎกรรม นาที นาฑี นานัปการ นานับประการ นานา นา ๆ คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น น้าจัณฑ์ น้าจัน, -จัณท์, -จันท์ น้ามันก๊าด น้ามันก๊าซ, -ก๊าส น้าแข็งไส น้าแข็งใส นิจศีล นิจสิน นิตยสาร นิตยาสาร นิเทศ นิเทศน์, นิเทส นิมิต นิมิตร, นิรมิตร นิวัต นิวัติ นิเวศวิทยา นิเวศน์วิทยา เนรมิต เนรมิตร เนืองนิตย์ เนืองนิจ แน่นหนา หนาแน่น โน้ต โน๊ต, โน้ท, โน๊ท บ คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น บรรทัด บันทัด บรรทุก บันทุก บรรลุ บันลุ บรรเลง บันเลง บรั่นดี บะหรั่นดี บริสุทธิ์ บริสุทธ, บริสุทธิ บล็อก บล็อค, บล๊อก บ่วงบาศ บ่วงบาศก์, บ่วงบาต, บ่วงบาท บอระเพ็ด บรเพ็ด, บอระเพชร บังสุกุล บังสกุล บังเอิญ บังเอิน บัญญัติไตรยางศ์ บัญญัติไตรยางค์ คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น บัตรสนเท่ห์ บัตรสนเท่ บันดาล บรรดาล บันได บรรได บันเทิง บรรเทิง บันลือ บรรลือ
  • 29. 23 บางลาพู บางลาภู บาดทะยัก บาททะยัก, บาดทยัก บาตร บาต บาทบงสุ์ บาทบงส์ บาทหลวง บาดหลวง บาเหน็จ บาเน็จ บิณฑบาต บิณฑบาตร, บิณฑ บาท คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น บิดพลิ้ว บิดพริ้ว บุคคล บุคล บุคลากร บุคคลากร บุคลิก บุคคลิก, บุคลิค, บุคค ลิค บุคลิกภาพ บุคคลิกภาพ, บุคลิคภาพ, บุคคลิค ภาพ บุปผชาติ บุปผาชาติ บุษราคัม บุษราคา, บุศ- คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น บูชายัญ บูชายัน, บูชายันต์ บูรณปฏิสังขรณ์ บูรณะปฏิสังขรณ์ เบญจเพส เบญจเพศ เบนซิน เบ็นซิน, เบนซิล เบรก เบรค แบงก์ แบ๊งก์, แบ็งก์, แบงค์, แบ๊งค์, แบ็งค์ โบราณ โบราน, โบราญ ป คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ปฏิกิริยา ปฏิกริยา ปฏิสันถาร ปฏิสัณฐาน, ปฏิสันถาน ปฏิทิน ปติทิน ปฏิพัทธ์ ประติพัทธ์ ปฏิสังขรณ์ ปฏิสังขร ปฐมนิเทศ ปฐมนิเทศก์, ปฐมนิเทศน์ ปณิธาน, ประณิธาน ปนิธาน, ประนิธาน ปรนนิบัติ ปรณนิบัติ ปรมาณู ปรมณู ปรองดอง ปองดอง ปรอด, ประหลอด, ปะหลอด, ประหรอด ปรอท ประกายพรึก ประกายพฤกษ์ คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ประกาศนียบัตร ประกาศณียบัตร ประกาศิต ประกาษิต ประจัญ ประจัน ประจัญบาน ประจันบาน, ประจันบาล, ประจัญ บาล ประจันหน้า ประจัญหน้า ประจันห้อง ประจัญห้อง
  • 30. 24 ประจาการ ประจาการณ์ ประณต ประนต ประณม ประนม (ยกกระพุ่ม มือ) ประณาม ประนาม ประณีต ปราณีต, ประนีต ประดิดประดอย ประดิษฐ์ประดอย คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ประนีประนอม ประณี-, ปรานี-, ปราณี-, -ประณอม, -ปรานอม, -ปราณอม ประมาณ ประมาน ประเมิน ประเมิณ ประโยชน์โพดผล ประโยชน์โภชผล, ประโยชน์โภชน์ผล ประสบการณ์ ประสพการณ์, ประสบการ ประสบผลสาเร็จ, ประสบ ความสาเร็จ ประสพผลสาเร็จ, ประสพความสาเร็จ ประสูติ ประสูต, ประสูตร ประสูติการ ประสูติกาล ประสูติกาล ประสูติการ ประหลาด ปะหลาด, ปลาด ประหัตประหาร ประหัดประหาร, ประหัตถ์ประหาร ประหาณ, ปหาน ประหาร ประหาร, ปหาร ประหาณ, -หาน, ปะ- ปรัมปรา ปราปรา, ปะราปะรา ปรัศนี ปรัศนีย์ คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ปรากฏ ปรากฎ ปราณี ปรานี ปรานี ปราณี ปรานีปราศรัย ปราณีปราศัย ปรารถนา ปราถนา ปราศจาก ปราศจาค ปราศรัย ปราศัย ปล้นสะดม ปล้นสดมภ์ ปะทะ ประทะ ปะแล่ม ปแล่ม, แปล่ม ปักษิน ปักษิณ ปั๊ม ปั้ม ปาฏิหาริย์ ปาฏิหาร, ปาฏิหารย์ ปาติโมกข์ ปาฏิโมกข์ ปาริชาต ปาริชาติ ปิกนิก ปิคนิค ปิดปากเงียบ ปริปากเงียบ ปีติยินดี ปิติยินดี ปุโรหิต ปุโลหิต เปล่า ปล่าว, ป่าว เปอร์เซ็นต์ เปอร์เซนต์ เป๋อเหลอ เป๋อเลอ แปรพักตร์ แปรพรรค
  • 31. 25 ผ คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ผดุง ผะดุง ผรุสวาท ผรุสวาส คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ผลลัพธ์ ผลลัพท์ ผล็อย ผลอย คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ผลัด ผัด ผลานิสงส์ ผลานิสงฆ์ ผอบ ผะอบ ผัดไทย ผัดไท ผัดผ่อน ผลัดผ่อน ผัด ผลัด ผาสุก ผาสุข ผีซ้าด้าพลอย ผีซ้าด้ามพลอย ผีพุ่งไต้ ผีพุ่งใต้ ผุดลุกผุดนั่ง ผลุดลุกผลุดนั่ง ผูกพัน ผูกพันธ์ คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ผู้เยาว์ ผู้เยา เผชิญ ผเชิญ, ผะเชิญ เผลอไผล เผอไผ เผอเรอ เผลอเรอ เผอิญ ผเอิญ, ผะเอิญ เผ่าพันธุ์ เผ่าพัน แผ่ซ่าน แผ่ส้าน, แผ่ซ้าน แผนการ แผนการณ์ แผลงฤทธิ์ แผงฤทธิ์ ไผท ผไท, ผะไท ฝ คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ฝรั่งเศส ฝรั่งเศษ ฝักฝ่าย ฝักใฝ่, ฝักไฝ่ ฝักใฝ่ ฝักฝ่าย, ฝักไฝ่ ฝากครรภ์ ฝากครร คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ฝีดาษ ฝีดาด ฝึกปรือ ฝึกปือ, ฝึกปลือ ไฝ ใฝ พ คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น พงศ์พันธุ์ พงพันธุ์, พงษ์พันธุ์ พจนานุกรม พจณานุกรม ฯพณฯ พณ, พณฯ, ฯพณ, ฯพณฯ ท่าน, พณ.ท่าน, พณะท่าน พยัก พะยัก พยักพเยิด พะยักพะเยิด, พยักเพยิด พยัคฆ์ พยัค, พยัคร, พยัฆ
  • 32. 26 คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น พยาน พญาณ, พยาณ, พะยาน พยาบาท พญาบาท, พยาบาตร พยุง พะยุง พเยีย พะเยีย, เพยีย พรรณนา พรรณา พรหมจรรย์ พรมจรรย์ พระวงศ์ พระวงค์ พราหมณ์ พราห์มณ์, พรามณ์ พร่าพลอด พร่าพรอด คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น พฤศจิกายน พฤษจิกายน พฤษภาคม พฤศภาคม พลการ พละการ พลศึกษา พละศึกษา พละกาลัง พลกาลัง พลาสติก พลาสติค พหูสูต พหูสูตร พะแนง พแนง, แพนง พะยอม พยอม พะยูน พยูน พะวักพะวน พวักพวน พังทลาย พังทะลาย พันทาง พันธุ์ทาง พันธกิจ พันธะกิจ พันธสัญญา พันธะสัญญา พัศดี พัสดี พัสดุ พัศดุ พากย์ พากษ์ พาณิชย์, พาณิชย, พณิชย์, พาณิช, พณิช พานิชย์, พานิชย, พนิชย์, พานิช, พนิช พานจะเป็น ลม พาลจะเป็นลม พาหุรัด พาหุรัต, พาหุรัตน์ พิณพาทย์ พิณภาทย์ พิธีรีตอง พิธีรีตรอง พิบูล พิบูลย์ คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น พิพิธภัณฑ์ พิพิทธภัณฑ์ พิราบ พิราป พิลาป พิราป พิลิปดา ฟิลิปดา พิศวง พิสวง พิศวาส พิสวาส, พิสวาท พิสดาร พิศดาร พิสมัย พิศมัย พิสูจน์ พิสูตร พึมพา พึมพัม พุดตาน พุดตาล พุทธชาด พุทธชาติ พู่กัน ภู่กัน พู่ระหง ภู่ระหง เพชฌฆาต เพชรฆาต เพชร เพ็ชร เพศสัมพันธ์ เพศสัมพันธุ์ เพนียด พเนียด, พะเนียด
  • 33. 27 เพริศพริ้ง เพริดพริ้ง เพิ่มพูน เพิ่มพูล เพียบพร้อม เพรียบพร้อม แพทยศาสตร์ แพทย์ศาสตร์ โพชฌงค์ โพชงค์, โภ- โพดา โพธิ์ดา โพแดง โพธิ์แดง โพทะเล โพธิ์ทะเล โพนทะนา โพนทนา โพระดก โพรดก, โภ- โพสพ โพศพ, โภ- ไพฑูรย์ ไพทูรย์ ฟ คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ฟังก์ชัน ฟังก์ชั่น ฟั่น ฝั้น ฟันคุด ฟันครุฑ, ฟันครุท ฟาทอม ฟาธอม, แฟทอม, แฟ ธอม ฟิล์ม ฟิลม์, ฟลิม, ฟิมล์, ฟิม์ล ฟิวส์ ฟิว คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ฟุตบอล ฟุทบอล ฟุลสแก๊ป ฟูลสแกป เฟิน เฟิร์น แฟชั่น แฟชัน ไฟแช็ก ไฟแชค, ไฟแช็ค ภ คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ภคินี ภคิณี ภวังค์ พวังศ์ ภววิสัย ภาววิสัย, ภาวะวิสัย ภัณฑารักษ์ พันธารักษ์ ภาคทัณฑ์ ภาคฑัณฑ์ ภาคภูมิ ภาคภูม ภาพยนตร์ ภาพยนต์ ภารกิจ ภาระกิจ คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น ภาวการณ์ ภาวะการณ์, ภาวะการ ภุชงค์ พุชงค์ ภูตผี ภูติผี ภูมิใจ ภูมใจ ภูมิลาเนา ภูมลาเนา เภตรา เพตรา เภทภัย เพทภัย, เพศภัย ม คาที่เขียนถูก มักเขียนผิดเป็น มกุฎ มกุฏ