SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 34
Baixar para ler offline
แผนแม่บทเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร
งานนโยบายและแผนงานนโยบายและแผน
สานักปลัด องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยางสานักปลัด องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง
25582558 -- 25622562
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2558-2562
คานา
องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง มีความตระหนักต่อความสาคัญของการพัฒนาเทคโนโลยี
สารสนเทศ เนื่องจากเป็นเครื่องมือของฝ่ายบริหารที่จะใช้สื่อสารที่ดีกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับองค์การบริหาร
ส่วนตาบลห้วยยาง ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อมโยงข้อมูลกับส่วนราชการ การประชาสัมพันธ์สินค้าของตาบล
รวมไปถึงการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องของประชาชนในตาบลห้วยยาง และบุคคลทั่วไป
การจัดทาแผนแม่บท 5 ปีด้านการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ ขององค์การบริหาร ส่วน
ตาบลห้วยยาง มีวัตถุประสงค์ที่สาคัญในการกาหนดกรอบ และทิศทางการพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
ขององค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง ได้ดาเนินการประชุมปฏิบัติการจัดทายุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนา
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยมีกลุ่มเป้าหมาย เป็นผู้บริหาร สภาองค์การบริหารส่วนตาบลห้วย
ยาง ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้างขององค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง ผู้นาชุมชน และผู้มีส่วนได้เสีย
กับองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง มาร่วมกันกาหนดทิศทาง ในการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส
และอุปสรรค ได้ร่วมกันกาหนดยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ มาตรการและแนวทางการดาเนินงาน ดังกล่าวขึ้น เพื่อ
เป็นทิศทาง กรอบแนวคิดและแนวทางในการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยองค์การบริหารส่วนตาบลห้วย
ยาง จะนาแผนยุทธศาสตร์ที่กาหนดขึ้นไปแสวงหากระบวนการมีส่วนร่วมในเวทีการกาหนดแผนปฏิบัติการ
ต่อไป อันจะเป็นเครื่องมือนาไปสู่เป้าหมายการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพที่ยั่งยืน
การจัดทาแผนแม่บท 5 ปี ด้านการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศองค์การบริหารส่วน
ตาบลห้วยยาง ที่ประสบความสาเร็จในครั้งนี้ ได้รับความร่วมมือด้วยดีจากข้าราชการทางการเมือง ข้าราชการ
ท้องถิ่น พนักงานองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง และผู้นาชุมชนทุกฝ่าย ที่ได้ร่วมมือกันจัดทาแผนแม่บทฯ
จนประสบความสาเร็จตามความมุ่งหมายทุกประการ
นายคาแดง เกษชาติ
นายกองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2558-2562
สารบัญ
หน้า
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศ พ.ศ.2558-2562
ส่วนที่ 1 บททั่วไป
1. ความเป็นมาของการจัดทาแผนแม่บทฯ 1
2. วัตถุประสงค์การจัดทาแผนแม่บทฯ 6
3. วิสัยทัศน์ 6
4 พันธกิจ 6
5 เป้าประสงค์ 7
ส่วนที่ 2 สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน
1. ข้อมูลทั่วไป 8
2. โครงสร้างองค์กรและการบริหารงาน 13
3. สถานภาพของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 18
4. สภาพแวดล้อมที่เป็น จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และภัยคุกคาม 18
ส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์ เป้าหมาย แผนงาน/กิจกรรม
1. ยุทธศาสตร์ 20
ส่วนที่ 4 แผนงาน/โครงการ
1. แผนงาน/โครงการ 24
ส่วนที่ 5 การบริหารจัดการ และการติดตามและประเมินผล
1. การบริหารจัดการ 28
2. การติดตามประเมินผล 28
3. ตัวชี้วัดความสาเร็จของแผน 29
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2558-2562
ส่วนที่ ๑ บททั่วไป
1. ความเป็นมาของการจัดทาแผนแม่บทฯ
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของ องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง
ฉบับนี้ จัดทาขึ้นเพื่อแสดงให้เห็นถึง หลักการ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ และแผนงาน ในการนา
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเข้ามาปรับใช้ในการดาเนินงานต่างๆ ขององค์การบริหารส่วนตาบลห้วย
ยาง เพื่อสนับสนุนแนวทางการดาเนินงาน และเพิ่มศักยภาพประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของการบริหารงาน
ของส่วนราชการ ภายใต้การดาเนินงานขององค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง ทั้งนี้เพื่อประโยชน์สูงสุดของ
กลุ่มเปูาหมายขององค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง
ในการจัดทาแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารองค์การบริหารส่วนตาบล
ห้วยยาง พ.ศ. 2558 – 2562 เป็นการจัดทาแผนภายใต้กรอบนโยบายและระเบียบต่างๆ ดังนี้
1. นโยบายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ของ รัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา
พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี แถลงต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เมื่อวันศุกร์
ที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๕๗
นโยบายด้านที่ 1 การปกปูองและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ จะใช้มาตรการทาง
กฎหมายมาตรการทางสังคมจิตวิทยา และมาตรการทางระบบสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศในการ
ดาเนินการกับผู้คะนองปาก ย่ามใจหรือประสงค์ร้าย มุ่งสั่นคลอนสถาบันหลักของชาติ โดยไม่คานึงถึง
ความรู้สึกและความผูกพันภักดีของคนอีกเป็นจานวนมาก ตลอดจนเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและ
เป็นจริงเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์และพระราชกรณียกิจเพื่อประชาชน ทั้งจะสนับสนุนโครงการ
ทั้งหลายอันเนื่องมาจากพระราชดาริ ตลอดจนเร่งขยายผลตามโครงการและแบบอย่างที่ทรงวางรากฐานไว้ให้
แพร่หลายเป็นที่ประจักษ์และเกิดประโยชน์ในวงกว้างอันจะช่วยสร้างความสมบูรณ์พูนสุขแก่ประชาชนในที่สุด
นโยบายด้านที่ 2 การรักษาความมั่นคงของรัฐและการต่างประเทศ ในระยะเร่งด่วน
รัฐบาลได้ให้ความสาคัญต่อการเตรียมพร้อมสู่ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนในกิจการ 5 ด้าน
ได้แก่ การบริหารจัดการชายแดน การสร้างความมั่นคงทางทะเล การแก้ไขปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติ การ
สร้างความไว้วางใจกับประเทศเพื่อนบ้านและการเสริมสร้างในการปฏิบัติการทางการทหารร่วมกันของอาเซียน
โดยเน้นความร่วมมือเพื่อปูองกัน แก้ไขข้อพิพาทต่างๆและการแก้ไขปัญหาเส้นเขตแดนโดยใช้กลไกระดับทวิ
ภาคีและพหุภาคี เร่งแก้ไขปัญหาการใช้ความรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคมใต้ โดยนายุทธศาสตร์ เข้าใจ
เข้าถึง และพัฒนามาใช้ตามแนวทางกัลยาณมิตรแบบสันติวิธี ส่งเสริมการพูดคุยสันติสุขกับผู้มีความคิดเห็น
ต่างจากรัฐ สร้างความเชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรมตามหลักนิติธรรมและหลักสิทธิมนุษยชนโดยไม่เลือก
ปฏิบัติ ควบคู่กับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนในพื้นที่ซึ่งเป็นพหุ
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2558-2562
สังคม ขจัดการฉวยโอกาสก่อความรุนแรงแทรกซ้อน เพื่อซ้าเติมปัญหาไม่ว่าจากผู้มีอิทธิพลในท้องถิ่นหรือ
เจ้าหน้าที่ฝุายบ้านเมือง ทั้งจะเพิ่มระดับปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศที่อาจ
ช่วยคลี่คลายปัญหาได้
พัฒนาและเสริมสร้างของกองทัพและระบบปูองกันประเทศให้ทันสมัย มีความพร้อมในการ
รักษาอธิปไตย และผลประโยชน์ของชาติ ปลอดพ้นจากการคุกคามทุกรูปแบบ ส่งเสริมและพัฒนา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อนาไปสู่การพึ่งพาตนเองในการผลิตอาวุธยุทโธปกรณ์ สามารถบูรณาการ
ความร่วมมือระหว่างภาครัฐกับภาคเอกชนในอุตสาหกรรมปูองกันประเทศได้ เสริมสร้างความความสัมพันธ์
อันดีกับนานาประเทศบนหลักการที่ว่านโยบายการต่างประเทศเป็นส่วนประกอบสาคัญของนโยบายองค์รวม
ทั้งหมดในการบริหารราชการแผ่นดิน ไม่ว่าในด้านการเมือง เศรษฐกิจ หรือสังคม โดยจะนากลไกทางการ
ทูตแบบบูรณาการมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชนทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น การคุ้มครองดูแลคน
ไทยและผลประโยชน์ของคนไทยในต่างแดน การแลกเปลี่ยนทางการศึกษา วัฒนธรรม การค้า การพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์ และการเปิดโลกทัศน์ให้มีลักษณะสากล เป็นต้น
นโยบายด้านที่ 3 การลดความเหลื่อมล้าของสังคมและการสร้างโอกาสเข้าถึงบริการของรัฐ
ในระยะเฉพาะหน้า จะเร่งสร้างโอกาส อาชีพ และการมีรายได้ที่มั่นคงแก่ผู้ที่เข้าสู่ตลาดแรงงาน โดยให้
แรงงานทั้งระบบมีโอกาสเข้าถึงการเรียนรู้และพัฒนาทักษะฝีมือแรงงานในทุกระดับอย่างมีมาตรฐาน ปูองกัน
และแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ รวมถึงปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมือง การทารุณกรรมต่อแรงงานข้ามชาติ การ
ท่องเที่ยวที่เน้นบริการทางเพศและเด็ก และปัญหาคนขอทาน โดยการปรับปรุงกฎหมายข้อบังคับที่จาเป็น
และเพิ่มความเข้มงวดในการระวังตรวจสอบ
ในระยะต่อไป จะพัฒนาระบบการคุ้มครองทางสังคม ระบบการออมและระบบสวัสดิการ
ชุมชนให้มีประสิทธิภาพและมีความยั่งยืนมากยิ่งขึ้น รวมทั้งการดูแลให้มีระบบการกู้ยืมที่เป็นธรรมและการ
สงเคราะห์ผู้ยากไร้อัตภาพ พัฒนาศักยภาพ คุ้มครองและพิทักษ์สิทธิจัดสวัสดิการช่วยเหลือและพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตของผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุ สตรีและเด็ก เตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ เพื่อส่งเสริม
คุณภาพชีวิต และการมีเงินหรือกิจกรรมที่เหมาะสม เพื่อสร้างสรรค์และไม่ก่อภาระต่อสังคมในอนาคต โดย
จัดเตรียมระบบการดูแลในบ้าน สถานพักฟื้น และโรงพยาบาล ที่เป็นความร่วมมือของภาครัฐ ภาคเอกชน
ชุมชน และครอบครัว รวมทั้งพัฒนาระบบการเงินการคลังสาหรับการดูแลผู้สูงอายุ
เตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมที่มีความหลากหลาย เนื่องจากการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดย
สร้างความเข้มแข็งและความพร้อมแก่แรงงานไทยและร่วมพัฒนาระบบความคุ้มครองทางสังคมของแรงงาน
อาเซียน
จัดระเบียบสังคม สร้างมาตรฐานด้านคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลให้แก่เจ้าหน้าที่
ของรัฐและประชาชนทั่วไป โดยใช้ค่านิยมหลัก 12 ประการ ตามนโยบายของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
ที่ได้ประกาศไว้แล้ว แก้ปัญหาการไร้ที่ดินทากินของเกษตรกรและการรุกล้าเขตปุาสงวน โดยการกระจายสิทธิ
การถือครองให้แก่ผู้ที่อยู่ในพื้นที่ที่ไม่ได้รุกล้า และออกมาตรการปูองกันการเปลี่ยนมือไปอยู่ในครอบครองของผู้
ที่มิใช่เกษตรกร ใช้เทคโนโลยีดาวเทียมสารวจและวิธีการแผนที่ที่ทันสมัย แก้ไขปัญหาเขตที่ดินทับซ้อนและ
แนวเขตพื้นที่ปุาที่ไม่ชัดเจน อันก่อให้เกิดความขัดแย้งระหว่างประชาชนกับเจ้าหน้าที่รัฐ
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2558-2562
นโยบายด้านที่ 4 การศึกษาและเรียนรู้ การทะนุบารุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม จัดให้
มีการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ โดยให้ความสาคัญทั้งการศึกษาในระบบและการศึกษาทางเลือกไปพร้อม
กัน เพื่อสร้างคุณภาพของคนไทยให้สามารถเรียนรู้ พัฒนาตนได้เต็มตามศักยภาพ โดยเน้นการเรียนรู้เพื่อ
สร้างสัมมาชีพในพื้นที่ ลดความเหลื่อมล้า และพัฒนากาลังคนให้เป็นที่ต้องการเหมาะสมกับพื้นที่ ทั้งในด้าน
การเกษตร อุตสาหกรรม และธุรกิจบริการระยะเฉพาะหน้า จะปรับเปลี่ยนการจัดสรรงบประมาณสนับสนุน
การศึกษาให้สอดคล้องกับความจาเป็นของผู้เรียนและลักษณะพื้นที่ของสถานศึกษา จัดระบบการสนับสนุนให้
เยาวชนและประชาชนทั่วไปมีสิทธิเลือกรับบริการการศึกษาทั้งในระบบโรงเรียนและนอกโรงเรียน โดยจะ
พิจารณาจัดให้มีคูปองการศึกษาเป็นแนวทางหนึ่งให้องค์กรภาคประชาสังคม ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นแลประขาชนทั่วไปมีโอกาสร่วมจัดการศึกษาที่มีคุณภาพและทั่วถึง และร่วมในการปฏิรูปการศึกษาและ
การเรียนรู้ กระจายอานาจการบริหารจัดการศึกษาสู่สถานศึกษา โดยให้สถานศึกษาสามารถเป็นนิติบุคคล
และบริหารจัดการได้อย่างอิสระและคล่องตัวขึ้น
พัฒนาระบบการผลิตและพัฒนาครูที่มีคุณภาพและมีจิตวิญญาณของความเป็นครู เน้น
ครูผู้สอนให้มีวุฒิตรงตามวิชาที่สอน นาเทคโนโลยีสารสนเทศและเครื่องมือที่เหมาะสมมาใช้ในการเรียนการ
สอนเพื่อเป็นเครื่องมือช่วยครูหรือเพื่อการเรียนรู้ด้วยตัวเอง เช่น การเรียนทางไกล รวมทั้งระบบการประเมิน
สมรรถนะที่สะท้อนประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนและพัฒนาคุณภาพผู้เรียนเป็นสาคัญทะนุบารุงและ
อุปถัมภ์พระพุทธศาสนาและศาสนาอื่นๆ สนับสนุนให้องค์กรทางศาสนามีบทบาทสาคัญในการปลูกฝังคุณธรรม
จริยธรรม ตลอดตนพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างสันติสุขและความปรองดองสมานฉันท์ในสังคมไทยอย่างยั่งยืน
นโยบายด้านที่ 5 การยกระดับคุณภาพบริการด้านสาธารณสุข และสุขภาพของประชาชน
โดยวางรากฐานให้ระบบหลักประกันสุขภาพครอบคลุมประชากรในทุกภาคส่วนอย่างมีคุณภาพโดยไม่มีความ
เหลื่อมล้าของคุณภาพบริการในแต่ละระบบ และบูรณาการข้อมูลระหว่างทุกระบบหลักประกันสุขภาพ
พัฒนาระบบบริหารสุขภาพ โดยเน้นการปูองกันโรคมากกว่ารอให้ปุวยแล้วจึงมารักษา สร้างกลไกจัดการ
สุขภาพในระดับเขตแทนการกระจุกตัวอยู่ที่ส่วนกลาง ปรับระบบการจ้างงาน การกระจายบุคลากรและ
ทรัพยากรสาธารณสุขให้เหมาะสมกับท้องถิ่น สนับสนุนความร่วมมือระหว่างรัฐและเอกชนในการพัฒนาระบบ
บริการทางการแพทย์และสาธารณสุข ประสานการทางานระหว่างภาคส่วนต่างๆ ในสังคม เพื่อปูองกันและ
แก้ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น และปัญหาด้านการแพทย์และจริยธรรมของการอุ้มบุญ การปลูกถ่ายอวัยวะ
และสเต็มเซลล์ โดยจัดให้มีมาตรการและกฎหมายที่รัดกุม
นโยบายด้านที่ 6 การเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ รัฐบาลจะดาเนินนโยบาย
เศรษฐกิจเป็น 3 ระยะ คือ ระยะเร่งด่วนที่ต้องดาเนินการทันที ระยะต่อไปที่ต้องแก้ไขปัญหาพื้นฐานที่ค้าง
คาอยู่ และระยะยาวที่ต้องวากรากฐานเพื่อความเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง ดังนี้
ในระยะเร่งด่วน เร่งจ่ายงบลงทุนของปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ที่ยังค้างอยู่ก่อนที่จะพ้น
กาหนดภายในสิ้นปีนี้ และสานต่อนโยบายงบประมาณกระตุ้นเศรษฐกิจตามที่ คณะรักษาความสงบแห่งชาติได้
จัดท้าไว้ โดยติดตามให้มีการเบิกจ่ายอย่างคล่องตัวตั้งแต่ระดับ กระทรวงจนถึงระดับท้องถิ่น รวมทั้งจะดูแล
ไม่ให้มีการใช้จ่ายที่สูญเปล่า เพื่อช่วยสร้างงานและ กระตุ้นการบริโภค
ในระยะต่อไป ประสานนโยบายการเงินและการคลังให้สอดคล้องกัน เพื่อที่จะสนับสนุนการ
ฟื้นตัวของเศรษฐกิจพร้อมกับการรักษาเสถียรภาพของราคาอย่างเหมาะสม
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2558-2562
ในระยะต่อไป ประสานนโยบายการเงินและการคลังให้สอดคล้องกัน เพื่อที่จะสนับสนุนการ
ฟื้นตัวของเศรษฐกิจพร้อมกับการรักษาเสถียรภาพของราคาอย่างเหมาะสม
นโยบายด้านที่ 7 การส่งเสริมบทบาทและการใช้โอกาสในประชาคมอาเซียน เร่งพัฒนา
ความเชื่อมโยงด้านการขนส่งภายในอนุภูมิภาคและภูมิอาเซียน โดยเร่งขับเคลื่อนตามแผนงานการพัฒนาความ
ร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง 6 ประเทศ (GMS) แผนความร่วมมือทางเศรษฐกิจอิระวดี-
เจ้าพระยา-แม่โขง (ACMECS) แผนความร่วมมือแห่งอ่าวเบงกอลสาหรับความร่วมมือหลากหลายสาขาวิชา
การและเศรษฐกิจ (BIMSTEC) และแผนแม่บทความเชื่อมโยงในอาเซียนพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ โดย
เริ่มจากการพัฒนาด่านการค้าชายแดนและโครงข่ายการคมนาคมขนส่งบริเวณประตูการค้าหลักของประเทศ
เพื่อรองรับการเชื่อมโยงกระบวนการผลิตและการลงทุนข้ามแดน พัฒนาระบบ National Single Window
(NSW) โดยระยะแรกให้ความสาคัญกับด่านชายแดนที่สาคัญ 6 ด่าน ได้แก่ ปาดังเบซาร์ สะเดา อรัญประเทศ
แม่สอด บ้านคลองลึก และบ้านคลองใหญ่
นโยบายด้านที่ 8 การพัฒนาและส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การ
วิจัยและการพัฒนา และนวัตกรรมสนับสนุนการเพิ่มค่าใช้จ่ายในการวิจัยและพัฒนาของประเทศเพื่อมุ่ง
เปูาหมายให้ไม่ต่ากว่า 1% ของรายได้ประชาชาติและมีสัดส่วนรัฐต่อเอกชน 30:70 ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ เพื่อให้ประเทศมีความสามารถในการแข่งขันส่งเสริมให้โครงการลงทุนขนาดใหญ่ของ
ประเทศ เช่น ด้านพลังงานสะอาด ระบบราง ยานยนต์ ไฟฟูา การจัดการน้าและขยะ ใช้ประโยชน์จากผลการ
ศึกษาวิจัย และพัฒนาและนวัตกรรมของไทยตามความเหมาะสม ในกรณีที่จาเป็นจะต้องซื้อวัสดุอุปกรณ์หรือ
เทคโนโลยีจากต่างประเทศจะให้มีเงื่อนไขการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อให้สามารถพึ่งตนเองได้ในอนาคตด้วย
นโยบายด้านที่ 9 การรักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากร และการสร้างสมดุลระหว่างการ
อนุรักษ์กับการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน ในระยะเฉพาะหน้า เร่งปกปูองและฟื้นฟูพื้นที่อนุรักษ์ ทรัพยากรปุาไม้
และสัตว์ปุา โดยให้ความสาคัญในการแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ จัดทาแนวเขตที่ดินของรัฐให้ชัดเจน
ส่งเสริมการปลูกไม้มีค่าทางเศรษฐกิจในพื้นที่เอกชนเพื่อลดแรงกดดันในการตัดไม้จากปุาธรรมชาติในระยะ
ต่อไป พัฒนาระบบบริหารจัดการที่ดินและแก้ไขการบุกรุกที่ดินของรัฐโดยยึดแนวพระราชดาริที่ให้ประชาชน
สามารถอยู่ร่วมกับปุาได้ เช่น กาหนดเขตปุาชุมชนให้ชัดเจน บริหารจัดการทรัพยากรน้าของประเทศให้เป็น
เอกภาพในทุกมิติทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ จัดให้มีแผนบริหารน้าของประเทศ เพื่อให้การจัดทาแผนงานไม่
เกิดความซ้าซ้อนมีความเชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบเร่งรัดการควบคุมมลพิษทางอากาศ ขยะ และน้าเสีย ที่เกิด
จากการผลิตและบริโภค ในพื้นที่ใดที่สามารถจัดการขยะมูลฝอยโดยการแปรรูปเป็นพลังงานก็จะสนับสนุนให้
ดาเนินการ ส่วนขยะอุตสาหกรรมนั้นจะวางระเบียบมาตรการเป็นพิเศษ โดยกาหนดให้ทิ้งในบ่อขยะ
อุตสาหกรรมที่สร้างขึ้นแบบมีมาตรฐาน และพัฒนาระบบตรวจสอบไม่ให้มีการลักลอบทิ้งขยะติดเชื้อ และใช้
มาตรการทางกฎหมายและการบังคับใช้กฎหมายอย่างเด็ดขาด
นโยบายด้านที่ 10 การส่งเสริมการบริหารราชการแผ่นดินที่มีธรรมาภิบาลและการปูองกัน
ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ
ปรับปรุงระบบราชการในด้านองค์กรหรือหน่วยงานภาครัฐ ทั้งในระดับประเทศ ภูมิภาค
และท้องถิ่น ทบทวนการจัดโครงสร้างหน่วยงานภาครัฐที่มีอานาจหน้าที่ ซ้าซ้อนหรือลักลั่นกันหรือมีเส้นทาง
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2558-2562
การปฏิบัติงานที่ยืดยาว ปรับปรุงวิธีปฏิบัติราชการให้ทันสมัย โดยนาเทคโนโลยีมาใช้ แก้ไขกฎระเบียบให้
โปร่งใส ชัดเจน สามารถบริการประชาชนได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ตลอดจนจัดระบบอัตรากาลังและ
ปรับปรุงค่าตอบแทนบุคลากรภาครัฐให้เหมาะสม และเป็นธรรม ยึดหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี การ
บริหารจัดการภาครัฐแบบใหม่ การตอบสนองความต้องการของประชาชนในฐานะที่เป็นศูนย์กลาง และการ
อานวยความสะดวก แก่ผู้ใช้บริการเพื่อสร้างความเชื่อมั่นวางใจในระบบราชการ ลดต้นทุนด้านการดาเนินการ
ของภาคธุรกิจ เพิ่มศักยภาพในการแข่งขันกับนานาประเทศ และการรักษาบุคลากรภาครัฐที่มีประสิทธิภาพ
ไว้ในระบบราชการ โดยจะดาเนินการตั้งแต่ระยะเฉพาะหน้าไปตามลาดับความจาเป็น และตามที่
กฎหมายเอื้อให้สามารถดาเนินการได้
นโยบายด้านที่ 11 การปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม ในระยะเฉพาะหน้า
จะเร่งปรับปรุงประมวลกฎหมายหลักของประเทศและกฎหมายอื่นๆ ที่ล้าสมัย ไม่เป็นธรรม ไม่สอดคล้อง
กับความตกลงระหว่างประเทศ เป็นอุปสรรคต่อการบริหารราชการแผ่นดิน โดยจะใช้กลไกของหน่วยงานเดิมที่
มีอยู่และระดมผู้ทรงคุณวุฒิมาเป็นคณะกรรมการที่จะจัดตั้งขึ้นเฉพาะกิจเป็นผู้เร่งดาเนินการ เพิ่มศักยภาพ
หน่วยงานที่มีหน้าที่ให้ความเห็นทางกฎหมาย และจัดทากฎหมายให้ปฏิบัติงานได้อย่างรวดเร็ว สามารถให้
ความช่วยเหลือภาคเอกชนและประชาชนได้ตามหลักเกณฑ์ที่เปิดกว้างขึ้นในระยะต่อไป จะจัดตั้งองค์กรปฏิรูป
กระบวนการยุติธรรมที่ปราศจากการแทรกแซงของรัฐนาเทคโนโลยีทีทันสมัยและความรู้ทางนิติวิทยาศาสตร์มา
ใช้เพื่อเร่งรัดการดาเนินคดีทุกขั้นตอนให้รวดเร็วเกิดความเป็นธรรมปรับปรุงระบบการช่วยเหลือทางกฎหมาย
และค่าใช้จ่ายแก่ประชาชนที่ไม่ได้รับความเป็นธรรม โดยให้เข้าถึงความเป็นธรรมได้ง่ายและรวดเร็ว ส่งเสริม
กองทุนยุติธรรมเพื่อช่วยเหลือคนจนและผู้ด้อยโอกาส คุ้มครองผู้ถูกละเมิดสิทธิเสรีภาพ และเยียวยาผู้บริสุทธิ์
หรือได้รับผลกระทบจากความไม่เป็นธรรมนามาตรการทางการเงิน ภาษี และการปูองกันการฟอกเงินมาใช้กับ
การปูองกันและปราบปรามผู้มีอิทธิพลและเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ทุจริตประพฤติมิชอบ หรือกระทาผิดด้านค้า
มนุษย์ แรงงานทาส การก่อการร้ายสากล ยาเสพติด อาชญากรรมข้ามชาติ
2. นโยบาย นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ ของรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2545 เห็นชอบ “นโยบายเทคโนโลยี
สารสนเทศระยะ พ.ศ. 2544 – 2553 ของประเทศไทย” โดยมุ่งพัฒนาไปสู่การเป็นสังคมแห่งภูมิปัญญา
และการเรียนรู้ เพื่อที่จะทาให้ประเทศไทยมีความแข็งแกร่งและพร้อมที่จะรับการท้าทายการแข่งขันในระบบ
เศรษฐกิจใหม่ที่เรียกว่า “เศรษฐกิจแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้” โดยเน้นการพัฒนาใน 3 องค์ประกอบ
ได้แก่ การลงทุนในการสร้างทรัพยากรมนุษย์ที่มีความรู้ที่เหมาะสมและทันการ การส่งเสริมให้มีนวัตกรรมที่
ทันการเปลี่ยนแปลงของโลกทั้งในระบบเศรษฐกิจและสังคม และการลงทุนและส่งเสริมให้มีโครงสร้างพื้นฐาน
สารสนเทศและอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่องอย่างจริงจังและต่อเนื่อง ภายใต้วัตถุประสงค์ ดังนี้
1. เพิ่มขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือพัฒนาประเทศ เพื่อเลื่อน
สถานภาพจากประเทศผู้ตามให้ไปสู่กลุ่มของประเทศที่มีศักยภาพเป็นผู้นา
2. เพิ่มความรู้ของจานวนแรงงานของประเทศจากร้อยละ 12 ของแรงงานทั้งหมดให้เป็น
ร้อยละ 30 ตามสถิติขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ
3. พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ โดยเพิ่มสัดส่วนของมูลค่าอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้
ความรู้เป็นพื้นฐานให้มีมูลค่าถึงร้อยละ 50 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2558-2562
3. การบริหารราชการจังหวัดแบบบูรณาการ
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารราชการจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2546
กาหนดให้ ทุกจังหวัดมีการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารจังหวัด เพื่อสนับสนุนการ
ตัดสินใจของผู้บริหาร
2. วัตถุประสงค์การจัดทาแผนแม่บท
1. เพื่อให้เป็นกรอบแนวทางการบูรณาการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารของ
องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยางให้มีทิศทางเดียวกัน
2. เพื่อให้บุคลากรได้นาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในการพัฒนาการ
ปฏิบัติงานและการบริการอย่างเป็นระบบและมีความเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน
3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง ให้ไปสู่เปูาหมาย
ที่กาหนด โดยมีเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นเครื่องมือในการดาเนินการเสริมสร้าง การแข่งขัน
ทางเศรษฐกิจ การพัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้ การยกระดับคุณภาพชีวิต การพัฒนาการค้า การบริการ
และการลงทุน
3. วิสัยทัศน์
องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง จะใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป็นเครื่องมือ
สนับสนุนการบรรลุภารกิจการบริหารจัดการ โดยที่ประชาชนในตาบลมีโอกาสเข้าถึงและใช้ประโยชน์จาก
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อให้ประชาชนสามารถรับรู้ข่าวสารและความเคลื่อนไหวขององค์การ
บริหารส่วนตาบลห้วยยาง โดยให้ได้รับบริการอย่างทั่วถึง มีคุณภาพและประสิทธิภาพ นาไปสู่การพัฒนา
คุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืน เป็นสังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้
4. พันธกิจ
นา ICT มาสนับสนุนการบริหารจัดการขององค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง ทั้งทางด้าน
การบริการประชาชนและการบริหารงานโดยเน้น
1. การพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพการให้บริการประชาชน
2. การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการของจัองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง
3. การพัฒนาบุคลากรด้าน ICT ขององค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง
4. การจัดโครงสร้างพื้นฐาน ICT เพื่อการบริการประชาชนและการบริหารจัดการของ
องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2558-2562
5. เป้าประสงค์
1. มีโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพได้มาตรฐานและเหมาะสม
กับการใช้งานอย่างเพียงพอและทั่วถึงรวมทั้งมีความมั่นคงปลอดภัยของระบบเครือข่ายและระบบสารสนเทศ
2. มีการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างเป็น
ระบบและต่อเนื่องเพื่อนาองค์ความรู้ที่ได้มาใช้ในการพัฒนาคณะไปสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้
3. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อพัฒนาการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ รวดเร็ว
และทันต่อเหตุการณ์
4. ปรับปรุงระบบคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการ การบริหารและการดูแลรักษาให้มี
ประสิทธิภาพ
5. พัฒนาระบบการสื่อสารและการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านทางระบบอินเทอร์เน็ต
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2558-2562
ส่วนที่ ๒ สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน
1. ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะที่ตั้ง / อาณาเขตและเขตการปกครอง
องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง เป็นหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ตั้งอยู่ในพื้นที่
อาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี เปลี่ยนแปลงฐานะมาจากสภาตาบลห้วยยาง เป็นองค์การบริหารส่วน
ตาบลห้วยยางตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 มีพื้นที่ 140 ตาราง
กิโลเมตร หรือประมาณ 87,500 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่การปกครอง จานวน 11 หมู่บ้าน ดังนี้
หมู่ที่ 1 บ้านห้วยยาง
หมู่ที่ 2 บ้านหนองฮี
หมู่ที่ 3 บ้านนาบัว
หมู่ที่ 4 บ้านโพนแพง
หมู่ที่ 5 บ้านดงดิบ
หมู่ที่ 6 บ้านดงแถบ
หมู่ที่ 7 บ้านบะไห
หมู่ที่ 8 บ้านเหล่าเจริญ
หมู่ที่ 9 บ้านนาบัวใต้
หมู่ที่10 บ้านดงแถบ
หมู่ที่11 บ้านนาดอนใหญ่
ที่ตั้งและอาณาเขต ได้กาหนดการวางผังการปกครองให้สอดคล้องกับสภาพการขยายตัวของ
ชุมชน เพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตาบลหนามแท่ง อาเภอศรีเมืองใหม่ และตาบลนา-
โพธิ์กลางอาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี
ทิศใต้ ติดต่อกับ ตาบลห้วยไผ่ และตาบลหนองแสงใหญ่ อาเภอโขงเจียม
จังหวัดอุบลราชธานี
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตาบลห้วยไผ่ และตาบลนาโพธิ์กลาง อาเภอโขงเจียม
จังหวัดอุบลราชธานี
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตาบลคาไหล และตาบลนาคา อาเภอศรีเมืองใหม่
จังหวัดอุบลราชธานี
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2558-2562
ลักษณะภูมิประเทศ
สภาพพื้นที่องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง เป็นที่ราบสลับภูเขาลาดชัน ลักษณะดินเป็น
ดินร่วนปนทรายมีปุาไม้ ค่อนข้างสมบูรณ์ มีลาห้วยไหลผ่านที่สาคัญคือ ลาห้วยยาง ห้วยเรือ ห้วยบัว ร่องดุน
ร่องหินลับ ร่องหนองฮี ร่องโปุงเชือก ร่องแขนหัก ร่องห้วยหมาก ร่องดงดิบ ร่องหินลาด ห้วยหนองผือ ร่อง
ขุม ห้วยส่อง
ประชากร
มีจานวนประชากร 8,494 คน แยกเป็น เพศหญิง 4,136 คน เพศชาย 4,358 คน
และมีจานวนครัวเรือน 2,086 ครัวเรือน ความหนาแน่นโดยเฉลี่ยของประชากร 61 คนต่อตาราง
กิโลเมตร
ตารางแสดงข้อมูลจานวนประชากรของตาบลห้วยยาง มีดังนี้
หมูที่ ชื่อบ้าน ประชากร จานวน
ครัวเรือนชาย (คน) หญิง (คน) รวม(คน)
1 ห้วยยาง 598 563 1,161 250
2 หนองฮี 422 409 831 199
3 นาบัว 343 323 666 171
4 โพนแพง 524 509 1,033 232
5 ดงดิบ 553 507 1,060 252
6 ดงแถบ 410 381 791 242
7 บะไห 552 472 1,024 269
8 เหล่าเจริญ 192 180 372 86
9 นาบัวใต้ 286 269 555 136
10 ดงแถบ 300 339 639 162
11 นาดอนใหญ่ 178 184 362 87
รวม 4,358 4,136 8,494 2,086
*ข้อมูลทะเบียนราษฎร์ อาเภอโขงเจียม ณ วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ.2558
- ผู้สูงอายุ 816 คน
- ผู้พิการ 215 คน
- ผู้ปุวยโรคเอดส์ 5 คน
สภาพทางเศรษฐกิจ
สภาพทางเศรษฐกิจของประชากรในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง ส่วนใหญ่
ประกอบอาชีพ ทานา ทาไร่ และรับจ้างตามฤดูกาล
หน่วยธุรกิจและการบริการ ในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง มีดังนี้
1. ปั๊มน้ามัน ชนิดมือหมุน 20 แห่ง
2. ปั๊มน้ามัน ชนิดเติมด้วยเครื่อง 3 แห่ง
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2558-2562
3. ร้านค้า 63 แห่ง
4. โรงสี 19 แห่ง
5. ร้านซ่อมรถจักรยานยนต์ 11 แห่ง
6. ร้านรับซื้อยางพารา 7 แห่ง
7. ร้านรับซื้อมันสด – มันเส้น 2 แห่ง
8. บ้านพักหมอลา 2 แห่ง
9. ร้านรับจัดทางานเหล็ก 2 แห่ง
10. ร้านค้าจาหน่ายอาหาร 6 แห่ง
11. ร้านเสริมสวย 1 แห่ง
12. ร้านขายของส่ง 1 แห่ง
ผลผลิตพื้นเมืองที่สาคัญของท้องถิ่น มีดังนี้
1. ผลผลิตจากต้นกก ได้แก่ กระติบข้าว ผลิตที่บ้านดงดิบ หมูที่ 5
2. ผลผลิตจากฝูาย ได้แก่ ทอผ้าย้อมสีธรรมชาติ ผลิตที่บ้านหนองฮี หมู่ที่ 2 และบ้านนาบัว
หมู่ที่ 3
3. ผลิตภัณฑ์แปรรูปทางการเกษตร ได้แก่ หน่อไม้ดองบรรจุปี๊บ ผลิตที่บ้านนาบัวใต้ หมู่ 9
4. ผลิตผลจากการปลูกหม่อนเลี้ยงไหม ผลิตที่บ้านดงแถบ หมู่ที่ 6
5. ผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่ ได้แก่ โคมไฟ ผลิตที่บ้านหนองฮี หมู่ที่ 2
การศึกษา
มีโรงเรียนอยู่ในเขตพื้นที่ตาบลห้วยยาง จานวน 7 แห่ง โรงเรียนที่ทาการสอนตั้งแต่ระดับ
อนุบาล ประถมศึกษา จานวน 4 โรงเรียน โรงเรียนที่สอนตั้งแต่ระดับอนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษา
ตอนต้น (ขยายโอกาสทางการศึกษา) จานวน 2 โรงเรียน และโรงเรียนเอกชนจานวน 1 แห่ง ดังนี้
1. โรงเรียนบ้านห้วยยาง (โรงเรียนขยายโอกาส)
2. โรงเรียนบ้านนาบัว (โรงเรียนขยายโอกาส)
3.โรงเรียนบ้านโพนแพง
4.โรงเรียนบ้านดงดิบ
5. โรงเรียนบ้านดงแถบ
6. โรงเรียนบ้านบะไห
7. โรงเรียนศรีแสงธรรม (โรงเรียนเอกชน)
มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนวัยเรียน ที่อยู่ในความรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตาบล
ห้วยยางจานวน 6 แห่ง ดังนี้
1. ศูนย์พัฒนาเดเล็กบ้านหนองฮี
2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาบัว
3. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโพนแพง
5. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านดงดิบ
6. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบะไห
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2558-2562
การศาสนา
ประชาชนส่วนใหญ่ในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง นับถือศาสนาพุทธและมี
ประเพณีวัฒนธรรมพื้นบ้านที่ปฏิบัติสืบทอดต่อกันมา ในการทาบุญประเพณีในวันสาคัญทางศาสนา รวมทั้ง
เทศกาลประเพณีต่างๆ เป็นประจาปี โดยมีศาสนาและสานักสงฆ์ ดังนี้
1. วัดบรมคงคา ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านห้วยยาง หมู่ที่ 1
2. วัดหนองฮี ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านหนองฮี หมู่ที่ 2
3. สานักสงฆ์ถ้าช้างสาร ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านหนองฮี หมู่ที่ 2
4. วัดสว่างสมดี ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านนาบัว หมู่ที่ 3
5. ที่พักสงฆ์ดอนชาติพัฒนา ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านนาบัว หมู่ที่ 3
6. วัดโพนแพง ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านโพนแพง หมู่ที่ 4
7. วัดปุาดงเย็น ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านดงดิบ หมู่ที่ 5
8. วัดปุาศรีแสงธรรม ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านดงดิบ หมู่ที่ 5
9. วัดดงแถบ ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านดงแถบ หมู่ที่ 6
10. สานักสงฆ์ถ้าช้างศรี ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านดงแถบ หมู่ที่ 6
11. สานักสงฆ์ภูจันแดง ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านดงแถบ หมู่ที่ 6
12. สานักฐานพรตภูผา ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านดงแถบ หมู่ที่ 6
13. สานักสงฆ์ฐานประชุมทิพย์ ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านดงแถบ หมู่ที่ 6
14. วัดพุทธไพรสน (บ้านบะไห) ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านบะไห หมู่ที่ 7
15. สานักสงฆ์วัดถ้าสิงห์ ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านบะไห หมู่ที่ 7
16. วัดเหล่าเจริญ ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านเหล่าเจริญ หมู่ที่ 8
17. สานักสงฆ์ห้วยเรือ ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านนาบัว หมู่ที่ 9
18. สานักสงฆ์ภูหินกอง ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านนาบัว หมู่ที่ 9
19. สานักสงฆ์พลาญศิลาอาสน์ ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านดงแถบ หมู่ที่ 10
20. ที่พักสงฆ์นาดอนใหญ่ ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านนาดอนใหญ่ หมู่ที่ 11
การสาธารณสุข
การให้บริการด้านการสาธารณสุขมีศูนย์สุขภาพชุมชน จานวน 1 แห่ง ที่ประชาชนในพื้นที่
ตาบลห้วยยางได้เข้ารับบริการด้านการรักษา คือ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขสภาพตาบลนาบัว ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่
บ้านนาบัว หมู่ที่3
ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
- ในเขตพื้นที่ตาบลห้วยยางไม่มีสถานีตารวจ
- มีศูนย์อปพร.ตาบลห้วยยาง จานวน 1 แห่ง สมาชิก อปพร.จานวน 120 นาย
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2558-2562
ที่สาธารณะ ตาบลห้วยยาง มีพื้นที่ทั้งหมด จานวน 1,999 ไร่ 2 งาน 37 ตารางวา
ประกอบด้วย
1. หมู่ที่ 1 บ้านห้วยยาง มีพื้นที่สาธารณะทั้งหมด 516 ไร่3 งาน 87 ตารางวา ประกอบด้วย
- ดอนปูุตา จานวน 5 ไร่ 13 ตารางวา
- ที่สาธารณะบ้านห้วยยาง จานวน 59 ไร่ 3 งาน 3 ตารางวา
- ที่สาธารณะประจาบ้าน จานวน 153 ไร่ 2 งาน 35 ตารางวา
- ปุาช้า จานวน 298 ไร่2 งาน 36 ตารางวา
2. หมู่ที่ 2 บ้านหนองฮี มีพื้นที่สาธารณะทั้งหมด 85 ไร่ 61 ตารางวา
- หนองสิม จานวน 5 ไร่ 3 งาน 35 ตารางวา
- หนองสระ จานวน 3 งาน 70 ตารางวา
- ปุาช้า จานวน 40 ไร่ 27 ตารางวา
- ศาลากลางหมู่บ้าน จานวน 1 งาน
- ศูนย์สาธิต จานวน 80 ตารางวา
- สนามกีฬาบ้านหนองฮี จานวน 37 ไร่ 3 งาน 49 ตารางวา
3. หมู่ที่ 3 บ้านนาบัว มีพื้นที่สาธารณะทั้งหมด 10 ไร่ 2 งาน 45 ตารางวา ประกอบด้วย
- ดอนปูุตา จานวน 10 ไร่ 2 งาน 45 ตารางวา
4. หมู่ที่ 4 บ้านโพนแพง มีพื้นที่สาธารณะทั้งหมด 374 ไร่ 3 งาน 85 ตารางวา ประกอบด้วย
- สนามเก่า จานวน 17 ไร่ 2 งาน 78 ตารางวา
- ศาลากลางบ้าน จานวน 2 งาน 13 ตารางวา
- สนามกีฬา จานวน 32 ไร่ 2 งาน 16 ตารางวา
- ดอนปูุตา จานวน 115 ไร่ 3 งาน 12 ตารางวา
- ดอนนายบี้ จานวน 58 ไร่ 1 งาน 10 ตารางวา
- โนนสระใหญ่ จานวน 89 ไร่ 1 งาน 64 ตารางวา
- โนนสนามน้อย จานวน 6 ไร่ 95 ตารางวา
- ปุาช้าสาธารณะประโยชน์ จานวน 30 ไร่ 1 งาน 94 ตารางวา
- สระน้าสาธารณะประโยชน์ จานวน 1 ไร่ 2 งาน 21 ตารางวา
- โนนบ้านเก่า จานวน 22 ไร่ 1 งาน 82 ตารางวา
5. หมู่ที่ 5 บ้านดงดิบ มีพื้นที่สาธารณะทั้งหมด 600 ไร่ 96 ตารางวา
- ดอนปูุตาดงดิบ จานวน 2 ไร่ 1 งาน 6 ตารางวา
- สนามกีฬาบ้านดงดิบ จานวน 34 ไร่ 2 งาน 16 ตารางวา
- ที่ทาเลเลี้ยงสัตว์ จานวน 316 ไร่ 1 งาน 93 ตารางวา
- ที่สาธารณะบ้านดงดิบ จานวน 246 ไร่3 งาน 81 ตารางวา
6. หมู่ที่ 7 บ้านบะไห มีพื้นที่สาธารณะทั้งหมด 98 ไร่ 2 งาน 26 ตารางวา ประกอบด้วย
- ปุาช้า จานวน 98 ไร่ 2 งาน 26 ตารางวา
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2558-2562
7. หมู่ที่ 9 บ้านนาบัว มีพื้นที่สาธารณะทั้งหมด 245 ไร่2 งาน 82 ตารางวา ประกอบด้วย
- ปุาชุมชน จานวน 225 ไร่
- สนามกีฬาบ้านนาบัว จานวน 20 ไร่ 2 งาน 82 ตารางวา
8. หมู่ที่ 10 บ้านดงแถบ มีพื้นที่สาธารณะทั้งหมด 67 ไร่ 1 งาน 55 ตารางวา ประกอบด้วย
- ศาลากลางบ้าน จานวน 1 งาน 55 ตารางวา
- ดอนปูุตา จานวน 6 ไร่ 1 งาน 69 ตารางวา
- ทาเลเลี้ยงสัตว์ จานวน 37 ไร่ 18 ตารางวา
- ฝายห้วยซุง จานวน 3 งาน 99 ตารางวา
- ปุาช้าสาธารณะประโยชน์ จานวน 23 ไร่ 2 งาน 14 ตารางวา
*ข้อมูลจริง ตามเอกสาร ส.ธ.1 ออกให้โดยกรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทย
2. โครงสร้างองค์กรและการบริหารงาน
องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง เป็นราชการส่วนท้องถิ่น มีฐานะเป็นนิติบุคคลมี
โครงสร้างการบริหารงาน โดยแยกเป็น นายกองค์การบริหารส่วนตาบล และสภาองค์การบริหารส่วนตาบล
- คณะบริหารและสมาชิก อบต. จานวน 27 คน ประกอบด้วย
- ฝุายบริหาร อบต. จานวน 4 คน
- ฝุายสมาชิก อบต. จานวน 23 คน
ตารางแสดง จานวนบุคลากรฝ่ายบริหารองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง ประกอบด้วย
ลาดับที่ ชื่อ - สกุล ตาแหน่ง
1 นายคาแดง เกษชาติ นายก อบต.
2 นางแดง ทองคา รองนายก อบต.
3 นายประกิจ ร่มโพธิ์ รองนายก อบต.
4 นายกัญญา พิมพ์ทรัพย์ เลขานายก อบต.
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2558-2562
ตารางแสดง จานวนบุคลากร ในฝ่ายสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง ประกอบด้วย
ลาดับที่ ชื่อ - สกุล ตาแหน่ง
1 นายธนาสิน อิ่นแก้ว ประธานสภา อบต.
2 นางสาวนงคาร จวงจันทร์ รองประธานสภา อบต.
3 นางพนิตนันท์ วีสเพ็ญ เลขานุการสภา อบต.
4 นายประสันต์ บุญมั่น สมาชิกสภา อบต. หมู่ 1
5 นายขันอาษา พิมพ์วงษ์ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 2
6 นายบุญเจียง บุตรศรี สมาชิกสภา อบต. หมู่ 2
7 นายบัวเครือ จันทร์สด สมาชิกสภา อบต. หมู่ 3
8 นางสมนึก โคตะนนท์ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 3
9 นายชุมพล ปัสสาคา สมาชิกสภา อบต. หมู่ 4
10 นายแสงทอง ส่องแสง สมาชิกสภา อบต. หมู่ 4
11 นายธนพล จันสุตะ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 5
12 นายอารุณ อาจารีย์ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 5
13 นายนิคกี้ บัวงาม สมาชิกสภา อบต. หมู่ 6
14 นายสันติศักดิ์ หาสุข สมาชิกสภา อบต. หมู่ 7
15 นางสาวสุบรรณ ขันแก้ว สมาชิกสภา อบต. หมู่ 7
16 นายศรเพชร เกษชาติ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 8
17 นายทองแดง หอมพันธ์ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 8
18 นายประวิทย์ แสงใบ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 9
19 นายเฉลิมชัย ศรีบุระ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 9
20 นางสังวาล บุญมานัด สมาชิกสภา อบต. หมู่ 10
21 นางคาเพียร แพ่งพนม สมาชิกสภา อบต. หมู่ 10
22 นายอภินันท์ รถพรม สมาชิกสภา อบต. หมู่ 11
23 นายสมคิด ห้วยยาง สมาชิกสภา อบต. หมู่ 11
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2558-2562
ตารางแสดง จานวนกานัน ผู้ใหญ่บ้านที่ปกครองในตาบลห้วยยาง ประกอบด้วย
หมู่ที่ ชื่อหมู่บ้าน ชื่อ –สกุล ตาแหน่ง
1 บ้านห้วยยาง นายอนันต์ จันทร์สุข ผู้ใหญ่บ้าน
2 บ้านหนองฮี นายทรงวิทย์ คามั่น กานันตาบลห้วยยาง
3 บ้านนาบัว นายสุดใจ ไชโย ผู้ใหญ่บ้าน
4 บ้านโพนแพง นายประพันธ์ วงศ์จันทร์ ”
5 บ้านดงดิบ นายรัศมี ศรีชุม ”
6 บ้านดงแถบ นายอดิษฐ์ บัวงาม ”
7 บ้านบะไห นายทองจันทร์ สังข์ทองทัศ ”
8 บ้านเหล่าเจริญ นายสมเกียรติ จันทร์สุข ”
9 บ้านนาบัวใต้ นายประพิน เกษชาติ ”
10 บ้านดงแถบ นายเกษม พันธ์อินทร์ ”
11 บ้านนาดอนใหญ่ นายเจนณรงค์ มั่นธรรม ”
การบริหารงานบุคคล
จานวนบุคลากร พนักงานส่วนตาบลขององค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง และพนักงานจ้าง
รวมทั้งสิ้น 52 คน แบ่งส่วนราชการ 4 ส่วน ดังนี้
ตาแหน่งในสานักปลัด อบต. ห้วยยาง มีจานวน 23 ตาแหน่ง
ปลัด อบต. 1 ตาแหน่ง
รองปลัด อบต. 1 ตาแหน่ง
นักบริหารงานทั่วไป (หัวหน้าสานักปลัด) - ตาแหน่งว่าง
นักพัฒนาชุมชน 1 ตาแหน่ง
เจ้าพนักงานธุรการ 1 ตาแหน่ง
บุคลากร 1 ตาแหน่ง
เจ้าพนักงานปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย - ตาแหน่งว่าง
เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 1 ตาแหน่ง
ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน (พนักงานจ้างตามภารกิจ) 1 ตาแหน่ง
ผู้ช่วยนักวิชาการประชาสัมพันธ์ (พนักงานจ้างตามภารกิจ) 1 ตาแหน่ง
ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ธุรการ (พนักงานจ้างตามภารกิจ) 1 ตาแหน่ง
ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่การเกษตร (พนักงานจ้างตามภารกิจ) 1 ตาแหน่ง
ผู้ช่วยนักพัฒนาชุมชน (พนักงานจ้างตามภารกิจ) 1 ตาแหน่ง
ผู้ช่วยนักวิชาการสุขาภิบาล (พนักงานจ้างตามภารกิจ) 1 ตาแหน่ง
พนักงานจ้างทั่วไป (คนสวน) 1 ตาแหน่ง
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2558-2562
พนักงานขับรถยนต์ (พนักงานจ้างทั่วไป) 1 ตาแหน่ง
นักการภารโรง (พนักงานจ้างทั่วไป) 1 ตาแหน่ง
จ้างเหมาบริการ (แม่บ้าน) 1 ตาแหน่ง
จ้างเหมาบริการ (งานปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย) 3 ตาแหน่ง
จ้างเหมาบริการ (งานกู้ชีพ) 4 ตาแหน่ง
ตาแหน่งในส่วนการคลัง มีจานวน 5 ตาแหน่ง
หัวหน้าส่วนการคลัง 1 ตาแหน่งว่าง
นักวิชาการเงินและบัญชี - ตาแหน่งว่าง
เจ้าหน้าที่พัสดุ - ตาแหน่งว่าง
เจ้าหน้าที่จัดเก็บรายได้ - ตาแหน่งว่าง
ผู้ช่วยนักวิชาการเงินและบัญชี (พนักงานจ้างตามภารกิจ) 1 ตาแหน่ง
ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่จัดเก็บรายได้ (พนักงานจ้างตามภารกิจ) 1 ตาแหน่ง
ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่พัสดุ 1 ตาแหน่ง
ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ธุรการ (จ้างเหมาบริการ) 1 ตาแหน่ง
ตาแหน่งในส่วนโยธา มีจานวน 6 ตาแหน่ง
หัวหน้าส่วนโยธา 1 ตาแหน่ง
ช่างโยธา 1 ตาแหน่ง
ผู้ช่วยช่างโยธา (พนักงานจ้างตามภารกิจ) 1 ตาแหน่ง
ผู้ช่วยช่างเขียนแบบ (พนักงานจ้างตามภารกิจ) 1 ตาแหน่ง
คนงานทั่วไป 1 ตาแหน่ง
ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ธุรการ (จ้างเหมาบริการ) 1 ตาแหน่ง
ตาแหน่งในส่วนการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มีจานวน 18 ตาแหน่ง
หัวหน้าส่วนการศึกษา - ตาแหน่งว่าง
นักวิชาการศึกษา 1 ตาแหน่ง
เจ้าพนักงานธุรการ 1 ตาแหน่ง
ครูผู้ดูแลเด็ก 1 ตาแหน่ง
ผู้ช่วยนักวิชาการศึกษา (พนักงานจ้างตามภารกิจ) 1 ตาแหน่ง
ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก (พนักงานจ้างตามภารกิจ) 4 ตาแหน่ง
ผู้ดูแลเด็ก (พนักงานจ้างทั่วไป) 5 ตาแหน่ง
ผู้ดูแลเด็ก (จ้างเหมาบริการ) 5 ตาแหน่ง
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2558-2562
สานักงานปลัด
(นักบริหารงานทั่วไป6)
-งานบริหารทั่วไป
-นโยบายและแผน
-กฎหมายและคดี
-ฝุายปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย
-งานกิจการสภาอบต.
-งานพัฒนาชุมชน
-งานวิชาการเกษตร
-งานสาธารณสุขและสุขาภิบาล
ส่วนการคลัง
(นักบริหารงานคลัง6)
-งานการเงิน
-งานบัญชี
-งานพัฒนาและจัดเก็บรายได้
-ฝุายทะเบียนทรัพย์สินและพัสดุ
โครงสร้างการแบ่งส่วนราชการองค์การบริหารส่วนตาบล
ปลัดอบต.
(นักบริหารงานอบต.8)
กองช่าง
(นักบริหารงานช่าง7)
-งานก่อสร้าง
-ออกแบบและควบคุมอาคาร
-งานประสานสาธารณูปโภค
-ฝุายผังเมือง
ส่วนการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
(นักบริหารการศึกษา6)
-งานบริหารการศึกษา
-งานส่งเสริมการศึกษาศาสนา
และวัฒนธรรม
-งานกีฬาและนันทนาการ
-งานส่งเสริมการท่องเที่ยว
รองปลัดอบต.
(นักบริหารงานอบต.7)
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2558-2562
3. สถานภาพของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
1. ระบบเครือข่ายภายใน (Local Area Network)
องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง มีการเชื่อมระบบเครือข่ายภายในของอาคารด้วยระบบ
เครือข่ายไร้สาย หรือ ระบบเครือข่ายแบบ Wireless LAN หรือ WLAN ทาให้บุคลากรขององค์การบริหารส่วน
ตาบลห้วยยาง สามารถใช้ประโยชน์จากระบบเครือข่ายได้อย่างทั่วถึง
องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง ได้ส่งเสริมและสนับสนุนให้ สานัก/กอง ต่างๆ ใน
องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง นาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาใช้ในการปฏิบัติงานเพิ่มขึ้น แต่จานวนเครื่อง
คอมพิวเตอร์สาหรับใช้งานยังมีจานวนไม่เพียงพอ และกว่า 50 % เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ล้าสมัย
2. สถานภาพด้านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยางได้เชื่อมต่อระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในเข้ากับ
เครือข่ายระบบ Internet ด้วยระบบวงจรเช่า บริษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) ที่ความเร็ว 20 Mbps
3. สถานภาพด้านฐานข้อมูล
องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง ได้จัดทาฐานข้อมูลของจังหวัดและฐานข้อมูลสารสนเทศ
ทางภูมิศาสตร์โดยมอบหมายให้บุคลากรในองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง เป็นผู้ดูแลและพัฒนาระบบ
4. สถานภาพบุคลากรผู้ปฏิบัติงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มีการจัดทาโครงการเพื่อพัฒนาบุคลากรขององค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง ด้าน
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตลอดจนสนับสนุนให้บุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มีโอกาสเข้าร่วมประชุมสัมมนากับหน่วยงานอื่นๆ เพื่อเพิ่มพูนความรู้
4. สภาพแวดล้อมที่เป็นจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และภัยคุกคาม
จุดแข็ง(Strengths)
1. นโยบายระดับชาติให้ความสาคัญต่อการพัฒนา และการใช้ ICT
2. ผู้บริหารขององค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง ให้การสนับสนุนด้วยดี
3. ระบบ ICT ที่มีอยู่เดิมได้รับการพัฒนามาแล้วระดับหนึ่ง
จุดอ่อน(Weaknesses)
1. การบริหารจัดการงานด้าน ICT ยังมีรูปแบบไม่ชัดเจน
2. ยังขาดบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ ความชานาญ ทั้งในด้านระบบเครือข่าย และ
ระบบการจัดการสารสนเทศ ที่เพียงพอ
3. เครื่องคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีเครือข่ายยังมีประสิทธิภาพ และปริมาณไม่เพียงพอ
ทั่วถึง
4. ได้รับการสนับสนุนด้านงบประมาณ บุคลากร ค่อนข้างน้อย
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2558-2562
โอกาส(Opportunities)
1. รัฐบาลมีนโยบาย ICT ที่ชัดเจน มีกระทรวง ICT เป็นหน่วยงานรับผิดชอบระดับชาติ
2. ประเทศมีแผนแม่บทในการพัฒนา ICT ส่งผลต่อการพัฒนาลงไปถึงระดับท้องถิ่นให้
สามารถบรรลุภารกิจขององค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยางได้ในที่สุด
3. การพัฒนาประเทศมีทิศทางไปสู่สังคมแห่งภูมปัญญาและการเรียนรู้
4. การกระจายความเสมอภาคด้านโครงสร้างพื้นฐานได้รับการปรับปรุงพัฒนาขึ้น
5. ความตื่นตัวของคนไทยด้าน ICT เพิ่มขึ้น
6. ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสูงขึ้นในขณะที่ราคาลดลงตามลาดับ
ภัยคุกคาม(Threats)
1. ขาดแคลนบุคลากรด้าน ICT ที่มีความรู้ความสามารถ
2. โอกาสการเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ของประชาชนยังน้อยและไม่ทั่วถึง
3. ศักยภาพการแข่งขันด้าน ICT ของไทยยังต่า ต้องพึ่งพาต่างชาติจานวนมาก
4. ขาดเอกภาพในการพัฒนาและการใช้ ICT
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
พัน พัน
 
ผลการสำรวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล หน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจำปี ...
ผลการสำรวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล หน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจำปี ...ผลการสำรวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล หน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจำปี ...
ผลการสำรวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล หน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจำปี ...
Electronic Government Agency (Public Organization)
 
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
0884045430
 

Mais procurados (8)

อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปีอนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
 
(ร่าง) แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2559 2561)
(ร่าง) แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2559   2561)(ร่าง) แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2559   2561)
(ร่าง) แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2559 2561)
 
ผลการสำรวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล หน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจำปี ...
ผลการสำรวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล หน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจำปี ...ผลการสำรวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล หน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจำปี ...
ผลการสำรวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล หน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจำปี ...
 
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
 
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
 
World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558
World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558
World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558
 
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๘
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๘นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๘
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๘
 

Destaque

ICT 2020 Conceptual framwork
ICT 2020 Conceptual framworkICT 2020 Conceptual framwork
ICT 2020 Conceptual framwork
Bunsasi
 
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
อบต. เหล่าโพนค้อ
 
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณวิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
directorcherdsak
 
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
kanjana2536
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
Aekapoj Poosathan
 

Destaque (15)

ICT 2020 Conceptual framwork
ICT 2020 Conceptual framworkICT 2020 Conceptual framwork
ICT 2020 Conceptual framwork
 
ข้อบัญญัติ เรื่อง งบประมาณราย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
ข้อบัญญัติ เรื่อง งบประมาณราย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560ข้อบัญญัติ เรื่อง งบประมาณราย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
ข้อบัญญัติ เรื่อง งบประมาณราย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
 
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
 
รายงานผลการปฏิบัติงาน
รายงานผลการปฏิบัติงานรายงานผลการปฏิบัติงาน
รายงานผลการปฏิบัติงาน
 
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
 
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณวิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
 
หลักการเขียนวิสัยทัศน์ที่ดี
หลักการเขียนวิสัยทัศน์ที่ดีหลักการเขียนวิสัยทัศน์ที่ดี
หลักการเขียนวิสัยทัศน์ที่ดี
 
เอกสารแสดงวิสัยทัศน์และผลงาน
เอกสารแสดงวิสัยทัศน์และผลงานเอกสารแสดงวิสัยทัศน์และผลงาน
เอกสารแสดงวิสัยทัศน์และผลงาน
 
บทที่ 5 การจัดองค์กรจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 5 การจัดองค์กรจัดซื้อจัดจ้างบทที่ 5 การจัดองค์กรจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 5 การจัดองค์กรจัดซื้อจัดจ้าง
 
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
 
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อบทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
 
EIRC- Literacy Consortium 2016
EIRC- Literacy Consortium 2016EIRC- Literacy Consortium 2016
EIRC- Literacy Consortium 2016
 
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
 
It All Adds Up! Engaging Math Strategies, Web Tools, and Apps
It All Adds Up! Engaging Math Strategies, Web Tools, and AppsIt All Adds Up! Engaging Math Strategies, Web Tools, and Apps
It All Adds Up! Engaging Math Strategies, Web Tools, and Apps
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 

Semelhante a แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลักPmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
promboon09
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
jeabjeabloei
 
Digital economy plan
Digital economy plan Digital economy plan
Digital economy plan
Utai Sukviwatsirikul
 
20160530 Digital Thailand Master Plan
20160530 Digital Thailand Master Plan20160530 Digital Thailand Master Plan
Big Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Big Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณBig Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Big Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Settapong Malisuwan
 
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ  Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Settapong Malisuwan
 
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคมสภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
domwitlism
 

Semelhante a แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (20)

Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลักPmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
 
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
 
Digital economy plan
Digital economy plan Digital economy plan
Digital economy plan
 
Digital Economy Plan of Thailand
Digital Economy Plan of ThailandDigital Economy Plan of Thailand
Digital Economy Plan of Thailand
 
20160530 Digital Thailand Master Plan
20160530 Digital Thailand Master Plan20160530 Digital Thailand Master Plan
20160530 Digital Thailand Master Plan
 
กลยุทธ์การใช้ Social Media ของภาครัฐ กับการมีส่วนร่วมของประชาชน
กลยุทธ์การใช้ Social Media ของภาครัฐกับการมีส่วนร่วมของประชาชนกลยุทธ์การใช้ Social Media ของภาครัฐกับการมีส่วนร่วมของประชาชน
กลยุทธ์การใช้ Social Media ของภาครัฐ กับการมีส่วนร่วมของประชาชน
 
นโยบาย กระทรวงศึกษา 58
นโยบาย กระทรวงศึกษา 58นโยบาย กระทรวงศึกษา 58
นโยบาย กระทรวงศึกษา 58
 
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
 
อ.วนิดา บทที่-6-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57
อ.วนิดา บทที่-6-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57อ.วนิดา บทที่-6-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57
อ.วนิดา บทที่-6-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57
 
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
 
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศการจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ
 
Big Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Big Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณBig Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Big Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
 
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ  Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
 
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคมสภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
 
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
 
551212 moph policy
551212 moph policy551212 moph policy
551212 moph policy
 
2555 Thailand e-Government Report
2555 Thailand e-Government Report2555 Thailand e-Government Report
2555 Thailand e-Government Report
 
Youth clever project
Youth clever                        projectYouth clever                        project
Youth clever project
 
Youth clever project
Youth clever projectYouth clever project
Youth clever project
 

Mais de องค์การบริหารส่วนตำบล ห้วยยาง

Mais de องค์การบริหารส่วนตำบล ห้วยยาง (8)

ข้อบัญญัติ เรื่อง งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
ข้อบัญญัติ เรื่อง งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561ข้อบัญญัติ เรื่อง งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
ข้อบัญญัติ เรื่อง งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
 
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยางแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
 
รายงานผลการประเมินระบบควบคุมภายใน องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปี พ.ศ. 2559
รายงานผลการประเมินระบบควบคุมภายใน องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปี พ.ศ. 2559รายงานผลการประเมินระบบควบคุมภายใน องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปี พ.ศ. 2559
รายงานผลการประเมินระบบควบคุมภายใน องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปี พ.ศ. 2559
 
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...
 
แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562
แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562 แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562
แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562
 
ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
 
ข้อบัญญัติ 59
ข้อบัญญัติ 59ข้อบัญญัติ 59
ข้อบัญญัติ 59
 
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
 

แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

  • 2. แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2558-2562 คานา องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง มีความตระหนักต่อความสาคัญของการพัฒนาเทคโนโลยี สารสนเทศ เนื่องจากเป็นเครื่องมือของฝ่ายบริหารที่จะใช้สื่อสารที่ดีกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับองค์การบริหาร ส่วนตาบลห้วยยาง ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อมโยงข้อมูลกับส่วนราชการ การประชาสัมพันธ์สินค้าของตาบล รวมไปถึงการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องของประชาชนในตาบลห้วยยาง และบุคคลทั่วไป การจัดทาแผนแม่บท 5 ปีด้านการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ ขององค์การบริหาร ส่วน ตาบลห้วยยาง มีวัตถุประสงค์ที่สาคัญในการกาหนดกรอบ และทิศทางการพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ขององค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง ได้ดาเนินการประชุมปฏิบัติการจัดทายุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยมีกลุ่มเป้าหมาย เป็นผู้บริหาร สภาองค์การบริหารส่วนตาบลห้วย ยาง ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้างขององค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง ผู้นาชุมชน และผู้มีส่วนได้เสีย กับองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง มาร่วมกันกาหนดทิศทาง ในการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ได้ร่วมกันกาหนดยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ มาตรการและแนวทางการดาเนินงาน ดังกล่าวขึ้น เพื่อ เป็นทิศทาง กรอบแนวคิดและแนวทางในการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยองค์การบริหารส่วนตาบลห้วย ยาง จะนาแผนยุทธศาสตร์ที่กาหนดขึ้นไปแสวงหากระบวนการมีส่วนร่วมในเวทีการกาหนดแผนปฏิบัติการ ต่อไป อันจะเป็นเครื่องมือนาไปสู่เป้าหมายการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพที่ยั่งยืน การจัดทาแผนแม่บท 5 ปี ด้านการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศองค์การบริหารส่วน ตาบลห้วยยาง ที่ประสบความสาเร็จในครั้งนี้ ได้รับความร่วมมือด้วยดีจากข้าราชการทางการเมือง ข้าราชการ ท้องถิ่น พนักงานองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง และผู้นาชุมชนทุกฝ่าย ที่ได้ร่วมมือกันจัดทาแผนแม่บทฯ จนประสบความสาเร็จตามความมุ่งหมายทุกประการ นายคาแดง เกษชาติ นายกองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง
  • 3. แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2558-2562 สารบัญ หน้า แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศ พ.ศ.2558-2562 ส่วนที่ 1 บททั่วไป 1. ความเป็นมาของการจัดทาแผนแม่บทฯ 1 2. วัตถุประสงค์การจัดทาแผนแม่บทฯ 6 3. วิสัยทัศน์ 6 4 พันธกิจ 6 5 เป้าประสงค์ 7 ส่วนที่ 2 สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน 1. ข้อมูลทั่วไป 8 2. โครงสร้างองค์กรและการบริหารงาน 13 3. สถานภาพของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 18 4. สภาพแวดล้อมที่เป็น จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และภัยคุกคาม 18 ส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์ เป้าหมาย แผนงาน/กิจกรรม 1. ยุทธศาสตร์ 20 ส่วนที่ 4 แผนงาน/โครงการ 1. แผนงาน/โครงการ 24 ส่วนที่ 5 การบริหารจัดการ และการติดตามและประเมินผล 1. การบริหารจัดการ 28 2. การติดตามประเมินผล 28 3. ตัวชี้วัดความสาเร็จของแผน 29
  • 4. แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2558-2562 ส่วนที่ ๑ บททั่วไป 1. ความเป็นมาของการจัดทาแผนแม่บทฯ แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของ องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง ฉบับนี้ จัดทาขึ้นเพื่อแสดงให้เห็นถึง หลักการ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ และแผนงาน ในการนา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเข้ามาปรับใช้ในการดาเนินงานต่างๆ ขององค์การบริหารส่วนตาบลห้วย ยาง เพื่อสนับสนุนแนวทางการดาเนินงาน และเพิ่มศักยภาพประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของการบริหารงาน ของส่วนราชการ ภายใต้การดาเนินงานขององค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง ทั้งนี้เพื่อประโยชน์สูงสุดของ กลุ่มเปูาหมายขององค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง ในการจัดทาแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารองค์การบริหารส่วนตาบล ห้วยยาง พ.ศ. 2558 – 2562 เป็นการจัดทาแผนภายใต้กรอบนโยบายและระเบียบต่างๆ ดังนี้ 1. นโยบายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ของ รัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี แถลงต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เมื่อวันศุกร์ ที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๕๗ นโยบายด้านที่ 1 การปกปูองและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ จะใช้มาตรการทาง กฎหมายมาตรการทางสังคมจิตวิทยา และมาตรการทางระบบสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศในการ ดาเนินการกับผู้คะนองปาก ย่ามใจหรือประสงค์ร้าย มุ่งสั่นคลอนสถาบันหลักของชาติ โดยไม่คานึงถึง ความรู้สึกและความผูกพันภักดีของคนอีกเป็นจานวนมาก ตลอดจนเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและ เป็นจริงเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์และพระราชกรณียกิจเพื่อประชาชน ทั้งจะสนับสนุนโครงการ ทั้งหลายอันเนื่องมาจากพระราชดาริ ตลอดจนเร่งขยายผลตามโครงการและแบบอย่างที่ทรงวางรากฐานไว้ให้ แพร่หลายเป็นที่ประจักษ์และเกิดประโยชน์ในวงกว้างอันจะช่วยสร้างความสมบูรณ์พูนสุขแก่ประชาชนในที่สุด นโยบายด้านที่ 2 การรักษาความมั่นคงของรัฐและการต่างประเทศ ในระยะเร่งด่วน รัฐบาลได้ให้ความสาคัญต่อการเตรียมพร้อมสู่ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนในกิจการ 5 ด้าน ได้แก่ การบริหารจัดการชายแดน การสร้างความมั่นคงทางทะเล การแก้ไขปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติ การ สร้างความไว้วางใจกับประเทศเพื่อนบ้านและการเสริมสร้างในการปฏิบัติการทางการทหารร่วมกันของอาเซียน โดยเน้นความร่วมมือเพื่อปูองกัน แก้ไขข้อพิพาทต่างๆและการแก้ไขปัญหาเส้นเขตแดนโดยใช้กลไกระดับทวิ ภาคีและพหุภาคี เร่งแก้ไขปัญหาการใช้ความรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคมใต้ โดยนายุทธศาสตร์ เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนามาใช้ตามแนวทางกัลยาณมิตรแบบสันติวิธี ส่งเสริมการพูดคุยสันติสุขกับผู้มีความคิดเห็น ต่างจากรัฐ สร้างความเชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรมตามหลักนิติธรรมและหลักสิทธิมนุษยชนโดยไม่เลือก ปฏิบัติ ควบคู่กับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนในพื้นที่ซึ่งเป็นพหุ
  • 5. แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2558-2562 สังคม ขจัดการฉวยโอกาสก่อความรุนแรงแทรกซ้อน เพื่อซ้าเติมปัญหาไม่ว่าจากผู้มีอิทธิพลในท้องถิ่นหรือ เจ้าหน้าที่ฝุายบ้านเมือง ทั้งจะเพิ่มระดับปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศที่อาจ ช่วยคลี่คลายปัญหาได้ พัฒนาและเสริมสร้างของกองทัพและระบบปูองกันประเทศให้ทันสมัย มีความพร้อมในการ รักษาอธิปไตย และผลประโยชน์ของชาติ ปลอดพ้นจากการคุกคามทุกรูปแบบ ส่งเสริมและพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อนาไปสู่การพึ่งพาตนเองในการผลิตอาวุธยุทโธปกรณ์ สามารถบูรณาการ ความร่วมมือระหว่างภาครัฐกับภาคเอกชนในอุตสาหกรรมปูองกันประเทศได้ เสริมสร้างความความสัมพันธ์ อันดีกับนานาประเทศบนหลักการที่ว่านโยบายการต่างประเทศเป็นส่วนประกอบสาคัญของนโยบายองค์รวม ทั้งหมดในการบริหารราชการแผ่นดิน ไม่ว่าในด้านการเมือง เศรษฐกิจ หรือสังคม โดยจะนากลไกทางการ ทูตแบบบูรณาการมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชนทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น การคุ้มครองดูแลคน ไทยและผลประโยชน์ของคนไทยในต่างแดน การแลกเปลี่ยนทางการศึกษา วัฒนธรรม การค้า การพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ และการเปิดโลกทัศน์ให้มีลักษณะสากล เป็นต้น นโยบายด้านที่ 3 การลดความเหลื่อมล้าของสังคมและการสร้างโอกาสเข้าถึงบริการของรัฐ ในระยะเฉพาะหน้า จะเร่งสร้างโอกาส อาชีพ และการมีรายได้ที่มั่นคงแก่ผู้ที่เข้าสู่ตลาดแรงงาน โดยให้ แรงงานทั้งระบบมีโอกาสเข้าถึงการเรียนรู้และพัฒนาทักษะฝีมือแรงงานในทุกระดับอย่างมีมาตรฐาน ปูองกัน และแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ รวมถึงปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมือง การทารุณกรรมต่อแรงงานข้ามชาติ การ ท่องเที่ยวที่เน้นบริการทางเพศและเด็ก และปัญหาคนขอทาน โดยการปรับปรุงกฎหมายข้อบังคับที่จาเป็น และเพิ่มความเข้มงวดในการระวังตรวจสอบ ในระยะต่อไป จะพัฒนาระบบการคุ้มครองทางสังคม ระบบการออมและระบบสวัสดิการ ชุมชนให้มีประสิทธิภาพและมีความยั่งยืนมากยิ่งขึ้น รวมทั้งการดูแลให้มีระบบการกู้ยืมที่เป็นธรรมและการ สงเคราะห์ผู้ยากไร้อัตภาพ พัฒนาศักยภาพ คุ้มครองและพิทักษ์สิทธิจัดสวัสดิการช่วยเหลือและพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุ สตรีและเด็ก เตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ เพื่อส่งเสริม คุณภาพชีวิต และการมีเงินหรือกิจกรรมที่เหมาะสม เพื่อสร้างสรรค์และไม่ก่อภาระต่อสังคมในอนาคต โดย จัดเตรียมระบบการดูแลในบ้าน สถานพักฟื้น และโรงพยาบาล ที่เป็นความร่วมมือของภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน และครอบครัว รวมทั้งพัฒนาระบบการเงินการคลังสาหรับการดูแลผู้สูงอายุ เตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมที่มีความหลากหลาย เนื่องจากการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดย สร้างความเข้มแข็งและความพร้อมแก่แรงงานไทยและร่วมพัฒนาระบบความคุ้มครองทางสังคมของแรงงาน อาเซียน จัดระเบียบสังคม สร้างมาตรฐานด้านคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลให้แก่เจ้าหน้าที่ ของรัฐและประชาชนทั่วไป โดยใช้ค่านิยมหลัก 12 ประการ ตามนโยบายของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ได้ประกาศไว้แล้ว แก้ปัญหาการไร้ที่ดินทากินของเกษตรกรและการรุกล้าเขตปุาสงวน โดยการกระจายสิทธิ การถือครองให้แก่ผู้ที่อยู่ในพื้นที่ที่ไม่ได้รุกล้า และออกมาตรการปูองกันการเปลี่ยนมือไปอยู่ในครอบครองของผู้ ที่มิใช่เกษตรกร ใช้เทคโนโลยีดาวเทียมสารวจและวิธีการแผนที่ที่ทันสมัย แก้ไขปัญหาเขตที่ดินทับซ้อนและ แนวเขตพื้นที่ปุาที่ไม่ชัดเจน อันก่อให้เกิดความขัดแย้งระหว่างประชาชนกับเจ้าหน้าที่รัฐ
  • 6. แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2558-2562 นโยบายด้านที่ 4 การศึกษาและเรียนรู้ การทะนุบารุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม จัดให้ มีการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ โดยให้ความสาคัญทั้งการศึกษาในระบบและการศึกษาทางเลือกไปพร้อม กัน เพื่อสร้างคุณภาพของคนไทยให้สามารถเรียนรู้ พัฒนาตนได้เต็มตามศักยภาพ โดยเน้นการเรียนรู้เพื่อ สร้างสัมมาชีพในพื้นที่ ลดความเหลื่อมล้า และพัฒนากาลังคนให้เป็นที่ต้องการเหมาะสมกับพื้นที่ ทั้งในด้าน การเกษตร อุตสาหกรรม และธุรกิจบริการระยะเฉพาะหน้า จะปรับเปลี่ยนการจัดสรรงบประมาณสนับสนุน การศึกษาให้สอดคล้องกับความจาเป็นของผู้เรียนและลักษณะพื้นที่ของสถานศึกษา จัดระบบการสนับสนุนให้ เยาวชนและประชาชนทั่วไปมีสิทธิเลือกรับบริการการศึกษาทั้งในระบบโรงเรียนและนอกโรงเรียน โดยจะ พิจารณาจัดให้มีคูปองการศึกษาเป็นแนวทางหนึ่งให้องค์กรภาคประชาสังคม ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นแลประขาชนทั่วไปมีโอกาสร่วมจัดการศึกษาที่มีคุณภาพและทั่วถึง และร่วมในการปฏิรูปการศึกษาและ การเรียนรู้ กระจายอานาจการบริหารจัดการศึกษาสู่สถานศึกษา โดยให้สถานศึกษาสามารถเป็นนิติบุคคล และบริหารจัดการได้อย่างอิสระและคล่องตัวขึ้น พัฒนาระบบการผลิตและพัฒนาครูที่มีคุณภาพและมีจิตวิญญาณของความเป็นครู เน้น ครูผู้สอนให้มีวุฒิตรงตามวิชาที่สอน นาเทคโนโลยีสารสนเทศและเครื่องมือที่เหมาะสมมาใช้ในการเรียนการ สอนเพื่อเป็นเครื่องมือช่วยครูหรือเพื่อการเรียนรู้ด้วยตัวเอง เช่น การเรียนทางไกล รวมทั้งระบบการประเมิน สมรรถนะที่สะท้อนประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนและพัฒนาคุณภาพผู้เรียนเป็นสาคัญทะนุบารุงและ อุปถัมภ์พระพุทธศาสนาและศาสนาอื่นๆ สนับสนุนให้องค์กรทางศาสนามีบทบาทสาคัญในการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ตลอดตนพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างสันติสุขและความปรองดองสมานฉันท์ในสังคมไทยอย่างยั่งยืน นโยบายด้านที่ 5 การยกระดับคุณภาพบริการด้านสาธารณสุข และสุขภาพของประชาชน โดยวางรากฐานให้ระบบหลักประกันสุขภาพครอบคลุมประชากรในทุกภาคส่วนอย่างมีคุณภาพโดยไม่มีความ เหลื่อมล้าของคุณภาพบริการในแต่ละระบบ และบูรณาการข้อมูลระหว่างทุกระบบหลักประกันสุขภาพ พัฒนาระบบบริหารสุขภาพ โดยเน้นการปูองกันโรคมากกว่ารอให้ปุวยแล้วจึงมารักษา สร้างกลไกจัดการ สุขภาพในระดับเขตแทนการกระจุกตัวอยู่ที่ส่วนกลาง ปรับระบบการจ้างงาน การกระจายบุคลากรและ ทรัพยากรสาธารณสุขให้เหมาะสมกับท้องถิ่น สนับสนุนความร่วมมือระหว่างรัฐและเอกชนในการพัฒนาระบบ บริการทางการแพทย์และสาธารณสุข ประสานการทางานระหว่างภาคส่วนต่างๆ ในสังคม เพื่อปูองกันและ แก้ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น และปัญหาด้านการแพทย์และจริยธรรมของการอุ้มบุญ การปลูกถ่ายอวัยวะ และสเต็มเซลล์ โดยจัดให้มีมาตรการและกฎหมายที่รัดกุม นโยบายด้านที่ 6 การเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ รัฐบาลจะดาเนินนโยบาย เศรษฐกิจเป็น 3 ระยะ คือ ระยะเร่งด่วนที่ต้องดาเนินการทันที ระยะต่อไปที่ต้องแก้ไขปัญหาพื้นฐานที่ค้าง คาอยู่ และระยะยาวที่ต้องวากรากฐานเพื่อความเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง ดังนี้ ในระยะเร่งด่วน เร่งจ่ายงบลงทุนของปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ที่ยังค้างอยู่ก่อนที่จะพ้น กาหนดภายในสิ้นปีนี้ และสานต่อนโยบายงบประมาณกระตุ้นเศรษฐกิจตามที่ คณะรักษาความสงบแห่งชาติได้ จัดท้าไว้ โดยติดตามให้มีการเบิกจ่ายอย่างคล่องตัวตั้งแต่ระดับ กระทรวงจนถึงระดับท้องถิ่น รวมทั้งจะดูแล ไม่ให้มีการใช้จ่ายที่สูญเปล่า เพื่อช่วยสร้างงานและ กระตุ้นการบริโภค ในระยะต่อไป ประสานนโยบายการเงินและการคลังให้สอดคล้องกัน เพื่อที่จะสนับสนุนการ ฟื้นตัวของเศรษฐกิจพร้อมกับการรักษาเสถียรภาพของราคาอย่างเหมาะสม
  • 7. แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2558-2562 ในระยะต่อไป ประสานนโยบายการเงินและการคลังให้สอดคล้องกัน เพื่อที่จะสนับสนุนการ ฟื้นตัวของเศรษฐกิจพร้อมกับการรักษาเสถียรภาพของราคาอย่างเหมาะสม นโยบายด้านที่ 7 การส่งเสริมบทบาทและการใช้โอกาสในประชาคมอาเซียน เร่งพัฒนา ความเชื่อมโยงด้านการขนส่งภายในอนุภูมิภาคและภูมิอาเซียน โดยเร่งขับเคลื่อนตามแผนงานการพัฒนาความ ร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง 6 ประเทศ (GMS) แผนความร่วมมือทางเศรษฐกิจอิระวดี- เจ้าพระยา-แม่โขง (ACMECS) แผนความร่วมมือแห่งอ่าวเบงกอลสาหรับความร่วมมือหลากหลายสาขาวิชา การและเศรษฐกิจ (BIMSTEC) และแผนแม่บทความเชื่อมโยงในอาเซียนพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ โดย เริ่มจากการพัฒนาด่านการค้าชายแดนและโครงข่ายการคมนาคมขนส่งบริเวณประตูการค้าหลักของประเทศ เพื่อรองรับการเชื่อมโยงกระบวนการผลิตและการลงทุนข้ามแดน พัฒนาระบบ National Single Window (NSW) โดยระยะแรกให้ความสาคัญกับด่านชายแดนที่สาคัญ 6 ด่าน ได้แก่ ปาดังเบซาร์ สะเดา อรัญประเทศ แม่สอด บ้านคลองลึก และบ้านคลองใหญ่ นโยบายด้านที่ 8 การพัฒนาและส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การ วิจัยและการพัฒนา และนวัตกรรมสนับสนุนการเพิ่มค่าใช้จ่ายในการวิจัยและพัฒนาของประเทศเพื่อมุ่ง เปูาหมายให้ไม่ต่ากว่า 1% ของรายได้ประชาชาติและมีสัดส่วนรัฐต่อเอกชน 30:70 ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ เพื่อให้ประเทศมีความสามารถในการแข่งขันส่งเสริมให้โครงการลงทุนขนาดใหญ่ของ ประเทศ เช่น ด้านพลังงานสะอาด ระบบราง ยานยนต์ ไฟฟูา การจัดการน้าและขยะ ใช้ประโยชน์จากผลการ ศึกษาวิจัย และพัฒนาและนวัตกรรมของไทยตามความเหมาะสม ในกรณีที่จาเป็นจะต้องซื้อวัสดุอุปกรณ์หรือ เทคโนโลยีจากต่างประเทศจะให้มีเงื่อนไขการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อให้สามารถพึ่งตนเองได้ในอนาคตด้วย นโยบายด้านที่ 9 การรักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากร และการสร้างสมดุลระหว่างการ อนุรักษ์กับการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน ในระยะเฉพาะหน้า เร่งปกปูองและฟื้นฟูพื้นที่อนุรักษ์ ทรัพยากรปุาไม้ และสัตว์ปุา โดยให้ความสาคัญในการแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ จัดทาแนวเขตที่ดินของรัฐให้ชัดเจน ส่งเสริมการปลูกไม้มีค่าทางเศรษฐกิจในพื้นที่เอกชนเพื่อลดแรงกดดันในการตัดไม้จากปุาธรรมชาติในระยะ ต่อไป พัฒนาระบบบริหารจัดการที่ดินและแก้ไขการบุกรุกที่ดินของรัฐโดยยึดแนวพระราชดาริที่ให้ประชาชน สามารถอยู่ร่วมกับปุาได้ เช่น กาหนดเขตปุาชุมชนให้ชัดเจน บริหารจัดการทรัพยากรน้าของประเทศให้เป็น เอกภาพในทุกมิติทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ จัดให้มีแผนบริหารน้าของประเทศ เพื่อให้การจัดทาแผนงานไม่ เกิดความซ้าซ้อนมีความเชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบเร่งรัดการควบคุมมลพิษทางอากาศ ขยะ และน้าเสีย ที่เกิด จากการผลิตและบริโภค ในพื้นที่ใดที่สามารถจัดการขยะมูลฝอยโดยการแปรรูปเป็นพลังงานก็จะสนับสนุนให้ ดาเนินการ ส่วนขยะอุตสาหกรรมนั้นจะวางระเบียบมาตรการเป็นพิเศษ โดยกาหนดให้ทิ้งในบ่อขยะ อุตสาหกรรมที่สร้างขึ้นแบบมีมาตรฐาน และพัฒนาระบบตรวจสอบไม่ให้มีการลักลอบทิ้งขยะติดเชื้อ และใช้ มาตรการทางกฎหมายและการบังคับใช้กฎหมายอย่างเด็ดขาด นโยบายด้านที่ 10 การส่งเสริมการบริหารราชการแผ่นดินที่มีธรรมาภิบาลและการปูองกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ ปรับปรุงระบบราชการในด้านองค์กรหรือหน่วยงานภาครัฐ ทั้งในระดับประเทศ ภูมิภาค และท้องถิ่น ทบทวนการจัดโครงสร้างหน่วยงานภาครัฐที่มีอานาจหน้าที่ ซ้าซ้อนหรือลักลั่นกันหรือมีเส้นทาง
  • 8. แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2558-2562 การปฏิบัติงานที่ยืดยาว ปรับปรุงวิธีปฏิบัติราชการให้ทันสมัย โดยนาเทคโนโลยีมาใช้ แก้ไขกฎระเบียบให้ โปร่งใส ชัดเจน สามารถบริการประชาชนได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ตลอดจนจัดระบบอัตรากาลังและ ปรับปรุงค่าตอบแทนบุคลากรภาครัฐให้เหมาะสม และเป็นธรรม ยึดหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี การ บริหารจัดการภาครัฐแบบใหม่ การตอบสนองความต้องการของประชาชนในฐานะที่เป็นศูนย์กลาง และการ อานวยความสะดวก แก่ผู้ใช้บริการเพื่อสร้างความเชื่อมั่นวางใจในระบบราชการ ลดต้นทุนด้านการดาเนินการ ของภาคธุรกิจ เพิ่มศักยภาพในการแข่งขันกับนานาประเทศ และการรักษาบุคลากรภาครัฐที่มีประสิทธิภาพ ไว้ในระบบราชการ โดยจะดาเนินการตั้งแต่ระยะเฉพาะหน้าไปตามลาดับความจาเป็น และตามที่ กฎหมายเอื้อให้สามารถดาเนินการได้ นโยบายด้านที่ 11 การปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม ในระยะเฉพาะหน้า จะเร่งปรับปรุงประมวลกฎหมายหลักของประเทศและกฎหมายอื่นๆ ที่ล้าสมัย ไม่เป็นธรรม ไม่สอดคล้อง กับความตกลงระหว่างประเทศ เป็นอุปสรรคต่อการบริหารราชการแผ่นดิน โดยจะใช้กลไกของหน่วยงานเดิมที่ มีอยู่และระดมผู้ทรงคุณวุฒิมาเป็นคณะกรรมการที่จะจัดตั้งขึ้นเฉพาะกิจเป็นผู้เร่งดาเนินการ เพิ่มศักยภาพ หน่วยงานที่มีหน้าที่ให้ความเห็นทางกฎหมาย และจัดทากฎหมายให้ปฏิบัติงานได้อย่างรวดเร็ว สามารถให้ ความช่วยเหลือภาคเอกชนและประชาชนได้ตามหลักเกณฑ์ที่เปิดกว้างขึ้นในระยะต่อไป จะจัดตั้งองค์กรปฏิรูป กระบวนการยุติธรรมที่ปราศจากการแทรกแซงของรัฐนาเทคโนโลยีทีทันสมัยและความรู้ทางนิติวิทยาศาสตร์มา ใช้เพื่อเร่งรัดการดาเนินคดีทุกขั้นตอนให้รวดเร็วเกิดความเป็นธรรมปรับปรุงระบบการช่วยเหลือทางกฎหมาย และค่าใช้จ่ายแก่ประชาชนที่ไม่ได้รับความเป็นธรรม โดยให้เข้าถึงความเป็นธรรมได้ง่ายและรวดเร็ว ส่งเสริม กองทุนยุติธรรมเพื่อช่วยเหลือคนจนและผู้ด้อยโอกาส คุ้มครองผู้ถูกละเมิดสิทธิเสรีภาพ และเยียวยาผู้บริสุทธิ์ หรือได้รับผลกระทบจากความไม่เป็นธรรมนามาตรการทางการเงิน ภาษี และการปูองกันการฟอกเงินมาใช้กับ การปูองกันและปราบปรามผู้มีอิทธิพลและเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ทุจริตประพฤติมิชอบ หรือกระทาผิดด้านค้า มนุษย์ แรงงานทาส การก่อการร้ายสากล ยาเสพติด อาชญากรรมข้ามชาติ 2. นโยบาย นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ ของรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2545 เห็นชอบ “นโยบายเทคโนโลยี สารสนเทศระยะ พ.ศ. 2544 – 2553 ของประเทศไทย” โดยมุ่งพัฒนาไปสู่การเป็นสังคมแห่งภูมิปัญญา และการเรียนรู้ เพื่อที่จะทาให้ประเทศไทยมีความแข็งแกร่งและพร้อมที่จะรับการท้าทายการแข่งขันในระบบ เศรษฐกิจใหม่ที่เรียกว่า “เศรษฐกิจแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้” โดยเน้นการพัฒนาใน 3 องค์ประกอบ ได้แก่ การลงทุนในการสร้างทรัพยากรมนุษย์ที่มีความรู้ที่เหมาะสมและทันการ การส่งเสริมให้มีนวัตกรรมที่ ทันการเปลี่ยนแปลงของโลกทั้งในระบบเศรษฐกิจและสังคม และการลงทุนและส่งเสริมให้มีโครงสร้างพื้นฐาน สารสนเทศและอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่องอย่างจริงจังและต่อเนื่อง ภายใต้วัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพิ่มขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือพัฒนาประเทศ เพื่อเลื่อน สถานภาพจากประเทศผู้ตามให้ไปสู่กลุ่มของประเทศที่มีศักยภาพเป็นผู้นา 2. เพิ่มความรู้ของจานวนแรงงานของประเทศจากร้อยละ 12 ของแรงงานทั้งหมดให้เป็น ร้อยละ 30 ตามสถิติขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ 3. พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ โดยเพิ่มสัดส่วนของมูลค่าอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้ ความรู้เป็นพื้นฐานให้มีมูลค่าถึงร้อยละ 50 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ
  • 9. แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2558-2562 3. การบริหารราชการจังหวัดแบบบูรณาการ ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารราชการจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2546 กาหนดให้ ทุกจังหวัดมีการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารจังหวัด เพื่อสนับสนุนการ ตัดสินใจของผู้บริหาร 2. วัตถุประสงค์การจัดทาแผนแม่บท 1. เพื่อให้เป็นกรอบแนวทางการบูรณาการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารของ องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยางให้มีทิศทางเดียวกัน 2. เพื่อให้บุคลากรได้นาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในการพัฒนาการ ปฏิบัติงานและการบริการอย่างเป็นระบบและมีความเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน 3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง ให้ไปสู่เปูาหมาย ที่กาหนด โดยมีเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นเครื่องมือในการดาเนินการเสริมสร้าง การแข่งขัน ทางเศรษฐกิจ การพัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้ การยกระดับคุณภาพชีวิต การพัฒนาการค้า การบริการ และการลงทุน 3. วิสัยทัศน์ องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง จะใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป็นเครื่องมือ สนับสนุนการบรรลุภารกิจการบริหารจัดการ โดยที่ประชาชนในตาบลมีโอกาสเข้าถึงและใช้ประโยชน์จาก เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อให้ประชาชนสามารถรับรู้ข่าวสารและความเคลื่อนไหวขององค์การ บริหารส่วนตาบลห้วยยาง โดยให้ได้รับบริการอย่างทั่วถึง มีคุณภาพและประสิทธิภาพ นาไปสู่การพัฒนา คุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืน เป็นสังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ 4. พันธกิจ นา ICT มาสนับสนุนการบริหารจัดการขององค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง ทั้งทางด้าน การบริการประชาชนและการบริหารงานโดยเน้น 1. การพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพการให้บริการประชาชน 2. การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการของจัองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง 3. การพัฒนาบุคลากรด้าน ICT ขององค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง 4. การจัดโครงสร้างพื้นฐาน ICT เพื่อการบริการประชาชนและการบริหารจัดการของ องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง
  • 10. แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2558-2562 5. เป้าประสงค์ 1. มีโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพได้มาตรฐานและเหมาะสม กับการใช้งานอย่างเพียงพอและทั่วถึงรวมทั้งมีความมั่นคงปลอดภัยของระบบเครือข่ายและระบบสารสนเทศ 2. มีการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างเป็น ระบบและต่อเนื่องเพื่อนาองค์ความรู้ที่ได้มาใช้ในการพัฒนาคณะไปสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ 3. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อพัฒนาการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ รวดเร็ว และทันต่อเหตุการณ์ 4. ปรับปรุงระบบคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการ การบริหารและการดูแลรักษาให้มี ประสิทธิภาพ 5. พัฒนาระบบการสื่อสารและการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านทางระบบอินเทอร์เน็ต
  • 11. แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2558-2562 ส่วนที่ ๒ สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน 1. ข้อมูลทั่วไป ลักษณะที่ตั้ง / อาณาเขตและเขตการปกครอง องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง เป็นหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ตั้งอยู่ในพื้นที่ อาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี เปลี่ยนแปลงฐานะมาจากสภาตาบลห้วยยาง เป็นองค์การบริหารส่วน ตาบลห้วยยางตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 มีพื้นที่ 140 ตาราง กิโลเมตร หรือประมาณ 87,500 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่การปกครอง จานวน 11 หมู่บ้าน ดังนี้ หมู่ที่ 1 บ้านห้วยยาง หมู่ที่ 2 บ้านหนองฮี หมู่ที่ 3 บ้านนาบัว หมู่ที่ 4 บ้านโพนแพง หมู่ที่ 5 บ้านดงดิบ หมู่ที่ 6 บ้านดงแถบ หมู่ที่ 7 บ้านบะไห หมู่ที่ 8 บ้านเหล่าเจริญ หมู่ที่ 9 บ้านนาบัวใต้ หมู่ที่10 บ้านดงแถบ หมู่ที่11 บ้านนาดอนใหญ่ ที่ตั้งและอาณาเขต ได้กาหนดการวางผังการปกครองให้สอดคล้องกับสภาพการขยายตัวของ ชุมชน เพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตาบลหนามแท่ง อาเภอศรีเมืองใหม่ และตาบลนา- โพธิ์กลางอาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ทิศใต้ ติดต่อกับ ตาบลห้วยไผ่ และตาบลหนองแสงใหญ่ อาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตาบลห้วยไผ่ และตาบลนาโพธิ์กลาง อาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตาบลคาไหล และตาบลนาคา อาเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี
  • 12. แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2558-2562 ลักษณะภูมิประเทศ สภาพพื้นที่องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง เป็นที่ราบสลับภูเขาลาดชัน ลักษณะดินเป็น ดินร่วนปนทรายมีปุาไม้ ค่อนข้างสมบูรณ์ มีลาห้วยไหลผ่านที่สาคัญคือ ลาห้วยยาง ห้วยเรือ ห้วยบัว ร่องดุน ร่องหินลับ ร่องหนองฮี ร่องโปุงเชือก ร่องแขนหัก ร่องห้วยหมาก ร่องดงดิบ ร่องหินลาด ห้วยหนองผือ ร่อง ขุม ห้วยส่อง ประชากร มีจานวนประชากร 8,494 คน แยกเป็น เพศหญิง 4,136 คน เพศชาย 4,358 คน และมีจานวนครัวเรือน 2,086 ครัวเรือน ความหนาแน่นโดยเฉลี่ยของประชากร 61 คนต่อตาราง กิโลเมตร ตารางแสดงข้อมูลจานวนประชากรของตาบลห้วยยาง มีดังนี้ หมูที่ ชื่อบ้าน ประชากร จานวน ครัวเรือนชาย (คน) หญิง (คน) รวม(คน) 1 ห้วยยาง 598 563 1,161 250 2 หนองฮี 422 409 831 199 3 นาบัว 343 323 666 171 4 โพนแพง 524 509 1,033 232 5 ดงดิบ 553 507 1,060 252 6 ดงแถบ 410 381 791 242 7 บะไห 552 472 1,024 269 8 เหล่าเจริญ 192 180 372 86 9 นาบัวใต้ 286 269 555 136 10 ดงแถบ 300 339 639 162 11 นาดอนใหญ่ 178 184 362 87 รวม 4,358 4,136 8,494 2,086 *ข้อมูลทะเบียนราษฎร์ อาเภอโขงเจียม ณ วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ.2558 - ผู้สูงอายุ 816 คน - ผู้พิการ 215 คน - ผู้ปุวยโรคเอดส์ 5 คน สภาพทางเศรษฐกิจ สภาพทางเศรษฐกิจของประชากรในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง ส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพ ทานา ทาไร่ และรับจ้างตามฤดูกาล หน่วยธุรกิจและการบริการ ในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง มีดังนี้ 1. ปั๊มน้ามัน ชนิดมือหมุน 20 แห่ง 2. ปั๊มน้ามัน ชนิดเติมด้วยเครื่อง 3 แห่ง
  • 13. แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2558-2562 3. ร้านค้า 63 แห่ง 4. โรงสี 19 แห่ง 5. ร้านซ่อมรถจักรยานยนต์ 11 แห่ง 6. ร้านรับซื้อยางพารา 7 แห่ง 7. ร้านรับซื้อมันสด – มันเส้น 2 แห่ง 8. บ้านพักหมอลา 2 แห่ง 9. ร้านรับจัดทางานเหล็ก 2 แห่ง 10. ร้านค้าจาหน่ายอาหาร 6 แห่ง 11. ร้านเสริมสวย 1 แห่ง 12. ร้านขายของส่ง 1 แห่ง ผลผลิตพื้นเมืองที่สาคัญของท้องถิ่น มีดังนี้ 1. ผลผลิตจากต้นกก ได้แก่ กระติบข้าว ผลิตที่บ้านดงดิบ หมูที่ 5 2. ผลผลิตจากฝูาย ได้แก่ ทอผ้าย้อมสีธรรมชาติ ผลิตที่บ้านหนองฮี หมู่ที่ 2 และบ้านนาบัว หมู่ที่ 3 3. ผลิตภัณฑ์แปรรูปทางการเกษตร ได้แก่ หน่อไม้ดองบรรจุปี๊บ ผลิตที่บ้านนาบัวใต้ หมู่ 9 4. ผลิตผลจากการปลูกหม่อนเลี้ยงไหม ผลิตที่บ้านดงแถบ หมู่ที่ 6 5. ผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่ ได้แก่ โคมไฟ ผลิตที่บ้านหนองฮี หมู่ที่ 2 การศึกษา มีโรงเรียนอยู่ในเขตพื้นที่ตาบลห้วยยาง จานวน 7 แห่ง โรงเรียนที่ทาการสอนตั้งแต่ระดับ อนุบาล ประถมศึกษา จานวน 4 โรงเรียน โรงเรียนที่สอนตั้งแต่ระดับอนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษา ตอนต้น (ขยายโอกาสทางการศึกษา) จานวน 2 โรงเรียน และโรงเรียนเอกชนจานวน 1 แห่ง ดังนี้ 1. โรงเรียนบ้านห้วยยาง (โรงเรียนขยายโอกาส) 2. โรงเรียนบ้านนาบัว (โรงเรียนขยายโอกาส) 3.โรงเรียนบ้านโพนแพง 4.โรงเรียนบ้านดงดิบ 5. โรงเรียนบ้านดงแถบ 6. โรงเรียนบ้านบะไห 7. โรงเรียนศรีแสงธรรม (โรงเรียนเอกชน) มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนวัยเรียน ที่อยู่ในความรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตาบล ห้วยยางจานวน 6 แห่ง ดังนี้ 1. ศูนย์พัฒนาเดเล็กบ้านหนองฮี 2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาบัว 3. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโพนแพง 5. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านดงดิบ 6. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบะไห
  • 14. แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2558-2562 การศาสนา ประชาชนส่วนใหญ่ในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง นับถือศาสนาพุทธและมี ประเพณีวัฒนธรรมพื้นบ้านที่ปฏิบัติสืบทอดต่อกันมา ในการทาบุญประเพณีในวันสาคัญทางศาสนา รวมทั้ง เทศกาลประเพณีต่างๆ เป็นประจาปี โดยมีศาสนาและสานักสงฆ์ ดังนี้ 1. วัดบรมคงคา ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านห้วยยาง หมู่ที่ 1 2. วัดหนองฮี ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านหนองฮี หมู่ที่ 2 3. สานักสงฆ์ถ้าช้างสาร ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านหนองฮี หมู่ที่ 2 4. วัดสว่างสมดี ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านนาบัว หมู่ที่ 3 5. ที่พักสงฆ์ดอนชาติพัฒนา ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านนาบัว หมู่ที่ 3 6. วัดโพนแพง ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านโพนแพง หมู่ที่ 4 7. วัดปุาดงเย็น ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านดงดิบ หมู่ที่ 5 8. วัดปุาศรีแสงธรรม ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านดงดิบ หมู่ที่ 5 9. วัดดงแถบ ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านดงแถบ หมู่ที่ 6 10. สานักสงฆ์ถ้าช้างศรี ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านดงแถบ หมู่ที่ 6 11. สานักสงฆ์ภูจันแดง ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านดงแถบ หมู่ที่ 6 12. สานักฐานพรตภูผา ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านดงแถบ หมู่ที่ 6 13. สานักสงฆ์ฐานประชุมทิพย์ ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านดงแถบ หมู่ที่ 6 14. วัดพุทธไพรสน (บ้านบะไห) ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านบะไห หมู่ที่ 7 15. สานักสงฆ์วัดถ้าสิงห์ ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านบะไห หมู่ที่ 7 16. วัดเหล่าเจริญ ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านเหล่าเจริญ หมู่ที่ 8 17. สานักสงฆ์ห้วยเรือ ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านนาบัว หมู่ที่ 9 18. สานักสงฆ์ภูหินกอง ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านนาบัว หมู่ที่ 9 19. สานักสงฆ์พลาญศิลาอาสน์ ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านดงแถบ หมู่ที่ 10 20. ที่พักสงฆ์นาดอนใหญ่ ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านนาดอนใหญ่ หมู่ที่ 11 การสาธารณสุข การให้บริการด้านการสาธารณสุขมีศูนย์สุขภาพชุมชน จานวน 1 แห่ง ที่ประชาชนในพื้นที่ ตาบลห้วยยางได้เข้ารับบริการด้านการรักษา คือ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขสภาพตาบลนาบัว ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านนาบัว หมู่ที่3 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน - ในเขตพื้นที่ตาบลห้วยยางไม่มีสถานีตารวจ - มีศูนย์อปพร.ตาบลห้วยยาง จานวน 1 แห่ง สมาชิก อปพร.จานวน 120 นาย
  • 15. แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2558-2562 ที่สาธารณะ ตาบลห้วยยาง มีพื้นที่ทั้งหมด จานวน 1,999 ไร่ 2 งาน 37 ตารางวา ประกอบด้วย 1. หมู่ที่ 1 บ้านห้วยยาง มีพื้นที่สาธารณะทั้งหมด 516 ไร่3 งาน 87 ตารางวา ประกอบด้วย - ดอนปูุตา จานวน 5 ไร่ 13 ตารางวา - ที่สาธารณะบ้านห้วยยาง จานวน 59 ไร่ 3 งาน 3 ตารางวา - ที่สาธารณะประจาบ้าน จานวน 153 ไร่ 2 งาน 35 ตารางวา - ปุาช้า จานวน 298 ไร่2 งาน 36 ตารางวา 2. หมู่ที่ 2 บ้านหนองฮี มีพื้นที่สาธารณะทั้งหมด 85 ไร่ 61 ตารางวา - หนองสิม จานวน 5 ไร่ 3 งาน 35 ตารางวา - หนองสระ จานวน 3 งาน 70 ตารางวา - ปุาช้า จานวน 40 ไร่ 27 ตารางวา - ศาลากลางหมู่บ้าน จานวน 1 งาน - ศูนย์สาธิต จานวน 80 ตารางวา - สนามกีฬาบ้านหนองฮี จานวน 37 ไร่ 3 งาน 49 ตารางวา 3. หมู่ที่ 3 บ้านนาบัว มีพื้นที่สาธารณะทั้งหมด 10 ไร่ 2 งาน 45 ตารางวา ประกอบด้วย - ดอนปูุตา จานวน 10 ไร่ 2 งาน 45 ตารางวา 4. หมู่ที่ 4 บ้านโพนแพง มีพื้นที่สาธารณะทั้งหมด 374 ไร่ 3 งาน 85 ตารางวา ประกอบด้วย - สนามเก่า จานวน 17 ไร่ 2 งาน 78 ตารางวา - ศาลากลางบ้าน จานวน 2 งาน 13 ตารางวา - สนามกีฬา จานวน 32 ไร่ 2 งาน 16 ตารางวา - ดอนปูุตา จานวน 115 ไร่ 3 งาน 12 ตารางวา - ดอนนายบี้ จานวน 58 ไร่ 1 งาน 10 ตารางวา - โนนสระใหญ่ จานวน 89 ไร่ 1 งาน 64 ตารางวา - โนนสนามน้อย จานวน 6 ไร่ 95 ตารางวา - ปุาช้าสาธารณะประโยชน์ จานวน 30 ไร่ 1 งาน 94 ตารางวา - สระน้าสาธารณะประโยชน์ จานวน 1 ไร่ 2 งาน 21 ตารางวา - โนนบ้านเก่า จานวน 22 ไร่ 1 งาน 82 ตารางวา 5. หมู่ที่ 5 บ้านดงดิบ มีพื้นที่สาธารณะทั้งหมด 600 ไร่ 96 ตารางวา - ดอนปูุตาดงดิบ จานวน 2 ไร่ 1 งาน 6 ตารางวา - สนามกีฬาบ้านดงดิบ จานวน 34 ไร่ 2 งาน 16 ตารางวา - ที่ทาเลเลี้ยงสัตว์ จานวน 316 ไร่ 1 งาน 93 ตารางวา - ที่สาธารณะบ้านดงดิบ จานวน 246 ไร่3 งาน 81 ตารางวา 6. หมู่ที่ 7 บ้านบะไห มีพื้นที่สาธารณะทั้งหมด 98 ไร่ 2 งาน 26 ตารางวา ประกอบด้วย - ปุาช้า จานวน 98 ไร่ 2 งาน 26 ตารางวา
  • 16. แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2558-2562 7. หมู่ที่ 9 บ้านนาบัว มีพื้นที่สาธารณะทั้งหมด 245 ไร่2 งาน 82 ตารางวา ประกอบด้วย - ปุาชุมชน จานวน 225 ไร่ - สนามกีฬาบ้านนาบัว จานวน 20 ไร่ 2 งาน 82 ตารางวา 8. หมู่ที่ 10 บ้านดงแถบ มีพื้นที่สาธารณะทั้งหมด 67 ไร่ 1 งาน 55 ตารางวา ประกอบด้วย - ศาลากลางบ้าน จานวน 1 งาน 55 ตารางวา - ดอนปูุตา จานวน 6 ไร่ 1 งาน 69 ตารางวา - ทาเลเลี้ยงสัตว์ จานวน 37 ไร่ 18 ตารางวา - ฝายห้วยซุง จานวน 3 งาน 99 ตารางวา - ปุาช้าสาธารณะประโยชน์ จานวน 23 ไร่ 2 งาน 14 ตารางวา *ข้อมูลจริง ตามเอกสาร ส.ธ.1 ออกให้โดยกรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทย 2. โครงสร้างองค์กรและการบริหารงาน องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง เป็นราชการส่วนท้องถิ่น มีฐานะเป็นนิติบุคคลมี โครงสร้างการบริหารงาน โดยแยกเป็น นายกองค์การบริหารส่วนตาบล และสภาองค์การบริหารส่วนตาบล - คณะบริหารและสมาชิก อบต. จานวน 27 คน ประกอบด้วย - ฝุายบริหาร อบต. จานวน 4 คน - ฝุายสมาชิก อบต. จานวน 23 คน ตารางแสดง จานวนบุคลากรฝ่ายบริหารองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง ประกอบด้วย ลาดับที่ ชื่อ - สกุล ตาแหน่ง 1 นายคาแดง เกษชาติ นายก อบต. 2 นางแดง ทองคา รองนายก อบต. 3 นายประกิจ ร่มโพธิ์ รองนายก อบต. 4 นายกัญญา พิมพ์ทรัพย์ เลขานายก อบต.
  • 17. แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2558-2562 ตารางแสดง จานวนบุคลากร ในฝ่ายสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง ประกอบด้วย ลาดับที่ ชื่อ - สกุล ตาแหน่ง 1 นายธนาสิน อิ่นแก้ว ประธานสภา อบต. 2 นางสาวนงคาร จวงจันทร์ รองประธานสภา อบต. 3 นางพนิตนันท์ วีสเพ็ญ เลขานุการสภา อบต. 4 นายประสันต์ บุญมั่น สมาชิกสภา อบต. หมู่ 1 5 นายขันอาษา พิมพ์วงษ์ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 2 6 นายบุญเจียง บุตรศรี สมาชิกสภา อบต. หมู่ 2 7 นายบัวเครือ จันทร์สด สมาชิกสภา อบต. หมู่ 3 8 นางสมนึก โคตะนนท์ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 3 9 นายชุมพล ปัสสาคา สมาชิกสภา อบต. หมู่ 4 10 นายแสงทอง ส่องแสง สมาชิกสภา อบต. หมู่ 4 11 นายธนพล จันสุตะ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 5 12 นายอารุณ อาจารีย์ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 5 13 นายนิคกี้ บัวงาม สมาชิกสภา อบต. หมู่ 6 14 นายสันติศักดิ์ หาสุข สมาชิกสภา อบต. หมู่ 7 15 นางสาวสุบรรณ ขันแก้ว สมาชิกสภา อบต. หมู่ 7 16 นายศรเพชร เกษชาติ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 8 17 นายทองแดง หอมพันธ์ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 8 18 นายประวิทย์ แสงใบ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 9 19 นายเฉลิมชัย ศรีบุระ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 9 20 นางสังวาล บุญมานัด สมาชิกสภา อบต. หมู่ 10 21 นางคาเพียร แพ่งพนม สมาชิกสภา อบต. หมู่ 10 22 นายอภินันท์ รถพรม สมาชิกสภา อบต. หมู่ 11 23 นายสมคิด ห้วยยาง สมาชิกสภา อบต. หมู่ 11
  • 18. แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2558-2562 ตารางแสดง จานวนกานัน ผู้ใหญ่บ้านที่ปกครองในตาบลห้วยยาง ประกอบด้วย หมู่ที่ ชื่อหมู่บ้าน ชื่อ –สกุล ตาแหน่ง 1 บ้านห้วยยาง นายอนันต์ จันทร์สุข ผู้ใหญ่บ้าน 2 บ้านหนองฮี นายทรงวิทย์ คามั่น กานันตาบลห้วยยาง 3 บ้านนาบัว นายสุดใจ ไชโย ผู้ใหญ่บ้าน 4 บ้านโพนแพง นายประพันธ์ วงศ์จันทร์ ” 5 บ้านดงดิบ นายรัศมี ศรีชุม ” 6 บ้านดงแถบ นายอดิษฐ์ บัวงาม ” 7 บ้านบะไห นายทองจันทร์ สังข์ทองทัศ ” 8 บ้านเหล่าเจริญ นายสมเกียรติ จันทร์สุข ” 9 บ้านนาบัวใต้ นายประพิน เกษชาติ ” 10 บ้านดงแถบ นายเกษม พันธ์อินทร์ ” 11 บ้านนาดอนใหญ่ นายเจนณรงค์ มั่นธรรม ” การบริหารงานบุคคล จานวนบุคลากร พนักงานส่วนตาบลขององค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง และพนักงานจ้าง รวมทั้งสิ้น 52 คน แบ่งส่วนราชการ 4 ส่วน ดังนี้ ตาแหน่งในสานักปลัด อบต. ห้วยยาง มีจานวน 23 ตาแหน่ง ปลัด อบต. 1 ตาแหน่ง รองปลัด อบต. 1 ตาแหน่ง นักบริหารงานทั่วไป (หัวหน้าสานักปลัด) - ตาแหน่งว่าง นักพัฒนาชุมชน 1 ตาแหน่ง เจ้าพนักงานธุรการ 1 ตาแหน่ง บุคลากร 1 ตาแหน่ง เจ้าพนักงานปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย - ตาแหน่งว่าง เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 1 ตาแหน่ง ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน (พนักงานจ้างตามภารกิจ) 1 ตาแหน่ง ผู้ช่วยนักวิชาการประชาสัมพันธ์ (พนักงานจ้างตามภารกิจ) 1 ตาแหน่ง ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ธุรการ (พนักงานจ้างตามภารกิจ) 1 ตาแหน่ง ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่การเกษตร (พนักงานจ้างตามภารกิจ) 1 ตาแหน่ง ผู้ช่วยนักพัฒนาชุมชน (พนักงานจ้างตามภารกิจ) 1 ตาแหน่ง ผู้ช่วยนักวิชาการสุขาภิบาล (พนักงานจ้างตามภารกิจ) 1 ตาแหน่ง พนักงานจ้างทั่วไป (คนสวน) 1 ตาแหน่ง
  • 19. แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2558-2562 พนักงานขับรถยนต์ (พนักงานจ้างทั่วไป) 1 ตาแหน่ง นักการภารโรง (พนักงานจ้างทั่วไป) 1 ตาแหน่ง จ้างเหมาบริการ (แม่บ้าน) 1 ตาแหน่ง จ้างเหมาบริการ (งานปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย) 3 ตาแหน่ง จ้างเหมาบริการ (งานกู้ชีพ) 4 ตาแหน่ง ตาแหน่งในส่วนการคลัง มีจานวน 5 ตาแหน่ง หัวหน้าส่วนการคลัง 1 ตาแหน่งว่าง นักวิชาการเงินและบัญชี - ตาแหน่งว่าง เจ้าหน้าที่พัสดุ - ตาแหน่งว่าง เจ้าหน้าที่จัดเก็บรายได้ - ตาแหน่งว่าง ผู้ช่วยนักวิชาการเงินและบัญชี (พนักงานจ้างตามภารกิจ) 1 ตาแหน่ง ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่จัดเก็บรายได้ (พนักงานจ้างตามภารกิจ) 1 ตาแหน่ง ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่พัสดุ 1 ตาแหน่ง ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ธุรการ (จ้างเหมาบริการ) 1 ตาแหน่ง ตาแหน่งในส่วนโยธา มีจานวน 6 ตาแหน่ง หัวหน้าส่วนโยธา 1 ตาแหน่ง ช่างโยธา 1 ตาแหน่ง ผู้ช่วยช่างโยธา (พนักงานจ้างตามภารกิจ) 1 ตาแหน่ง ผู้ช่วยช่างเขียนแบบ (พนักงานจ้างตามภารกิจ) 1 ตาแหน่ง คนงานทั่วไป 1 ตาแหน่ง ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ธุรการ (จ้างเหมาบริการ) 1 ตาแหน่ง ตาแหน่งในส่วนการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มีจานวน 18 ตาแหน่ง หัวหน้าส่วนการศึกษา - ตาแหน่งว่าง นักวิชาการศึกษา 1 ตาแหน่ง เจ้าพนักงานธุรการ 1 ตาแหน่ง ครูผู้ดูแลเด็ก 1 ตาแหน่ง ผู้ช่วยนักวิชาการศึกษา (พนักงานจ้างตามภารกิจ) 1 ตาแหน่ง ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก (พนักงานจ้างตามภารกิจ) 4 ตาแหน่ง ผู้ดูแลเด็ก (พนักงานจ้างทั่วไป) 5 ตาแหน่ง ผู้ดูแลเด็ก (จ้างเหมาบริการ) 5 ตาแหน่ง
  • 20. แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2558-2562 สานักงานปลัด (นักบริหารงานทั่วไป6) -งานบริหารทั่วไป -นโยบายและแผน -กฎหมายและคดี -ฝุายปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย -งานกิจการสภาอบต. -งานพัฒนาชุมชน -งานวิชาการเกษตร -งานสาธารณสุขและสุขาภิบาล ส่วนการคลัง (นักบริหารงานคลัง6) -งานการเงิน -งานบัญชี -งานพัฒนาและจัดเก็บรายได้ -ฝุายทะเบียนทรัพย์สินและพัสดุ โครงสร้างการแบ่งส่วนราชการองค์การบริหารส่วนตาบล ปลัดอบต. (นักบริหารงานอบต.8) กองช่าง (นักบริหารงานช่าง7) -งานก่อสร้าง -ออกแบบและควบคุมอาคาร -งานประสานสาธารณูปโภค -ฝุายผังเมือง ส่วนการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม (นักบริหารการศึกษา6) -งานบริหารการศึกษา -งานส่งเสริมการศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม -งานกีฬาและนันทนาการ -งานส่งเสริมการท่องเที่ยว รองปลัดอบต. (นักบริหารงานอบต.7)
  • 21. แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2558-2562 3. สถานภาพของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1. ระบบเครือข่ายภายใน (Local Area Network) องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง มีการเชื่อมระบบเครือข่ายภายในของอาคารด้วยระบบ เครือข่ายไร้สาย หรือ ระบบเครือข่ายแบบ Wireless LAN หรือ WLAN ทาให้บุคลากรขององค์การบริหารส่วน ตาบลห้วยยาง สามารถใช้ประโยชน์จากระบบเครือข่ายได้อย่างทั่วถึง องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง ได้ส่งเสริมและสนับสนุนให้ สานัก/กอง ต่างๆ ใน องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง นาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาใช้ในการปฏิบัติงานเพิ่มขึ้น แต่จานวนเครื่อง คอมพิวเตอร์สาหรับใช้งานยังมีจานวนไม่เพียงพอ และกว่า 50 % เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ล้าสมัย 2. สถานภาพด้านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยางได้เชื่อมต่อระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในเข้ากับ เครือข่ายระบบ Internet ด้วยระบบวงจรเช่า บริษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) ที่ความเร็ว 20 Mbps 3. สถานภาพด้านฐานข้อมูล องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง ได้จัดทาฐานข้อมูลของจังหวัดและฐานข้อมูลสารสนเทศ ทางภูมิศาสตร์โดยมอบหมายให้บุคลากรในองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง เป็นผู้ดูแลและพัฒนาระบบ 4. สถานภาพบุคลากรผู้ปฏิบัติงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีการจัดทาโครงการเพื่อพัฒนาบุคลากรขององค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง ด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตลอดจนสนับสนุนให้บุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีโอกาสเข้าร่วมประชุมสัมมนากับหน่วยงานอื่นๆ เพื่อเพิ่มพูนความรู้ 4. สภาพแวดล้อมที่เป็นจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และภัยคุกคาม จุดแข็ง(Strengths) 1. นโยบายระดับชาติให้ความสาคัญต่อการพัฒนา และการใช้ ICT 2. ผู้บริหารขององค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง ให้การสนับสนุนด้วยดี 3. ระบบ ICT ที่มีอยู่เดิมได้รับการพัฒนามาแล้วระดับหนึ่ง จุดอ่อน(Weaknesses) 1. การบริหารจัดการงานด้าน ICT ยังมีรูปแบบไม่ชัดเจน 2. ยังขาดบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ ความชานาญ ทั้งในด้านระบบเครือข่าย และ ระบบการจัดการสารสนเทศ ที่เพียงพอ 3. เครื่องคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีเครือข่ายยังมีประสิทธิภาพ และปริมาณไม่เพียงพอ ทั่วถึง 4. ได้รับการสนับสนุนด้านงบประมาณ บุคลากร ค่อนข้างน้อย
  • 22. แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2558-2562 โอกาส(Opportunities) 1. รัฐบาลมีนโยบาย ICT ที่ชัดเจน มีกระทรวง ICT เป็นหน่วยงานรับผิดชอบระดับชาติ 2. ประเทศมีแผนแม่บทในการพัฒนา ICT ส่งผลต่อการพัฒนาลงไปถึงระดับท้องถิ่นให้ สามารถบรรลุภารกิจขององค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยางได้ในที่สุด 3. การพัฒนาประเทศมีทิศทางไปสู่สังคมแห่งภูมปัญญาและการเรียนรู้ 4. การกระจายความเสมอภาคด้านโครงสร้างพื้นฐานได้รับการปรับปรุงพัฒนาขึ้น 5. ความตื่นตัวของคนไทยด้าน ICT เพิ่มขึ้น 6. ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสูงขึ้นในขณะที่ราคาลดลงตามลาดับ ภัยคุกคาม(Threats) 1. ขาดแคลนบุคลากรด้าน ICT ที่มีความรู้ความสามารถ 2. โอกาสการเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ของประชาชนยังน้อยและไม่ทั่วถึง 3. ศักยภาพการแข่งขันด้าน ICT ของไทยยังต่า ต้องพึ่งพาต่างชาติจานวนมาก 4. ขาดเอกภาพในการพัฒนาและการใช้ ICT