SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 5
Baixar para ler offline
ประเภทของสารสนเทศท้องถิ่น
เนื้อหาความรู้เกี่ยวกับสารสนเทศท้องถิ่น มีลักษณะองค์รวมของสารสนเทศท้องถิ่นที่เด่นชัดใน
หลายด้าน จากการรวบรวมสามารถจาแนกได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ โดยจาแนกตามลักษณะของ
สื่อ จาแนกตามเนื้อหา และจาแนกตามแหล่งสารสนเทศ โดยมีรายละเอียดดังนี้
1. จาแนกตามลักษณะของสื่อ
สารสนเทศท้องถิ่นจาแนกตามลักษณะของสื่อ (ฉวีลักษณ์ บุณยะกาญจน และ
น้าทิพย์ วิภาวิน. 2554 : 1-14-1-15) ดังนี้
1.1 สื่อสิ่งพิมพ์ ได้แก่ ทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่นที่อยู่รูปหนังสือทั่วไป ตารา
วิชาการ หนังสืออ้างอิง วารสาร นิตยสาร จดหมายข่าว วิทยานิพนธ์ รายงาน สิทธิบัตร
แผ่นพับ แผ่นปลิว
1.2 สื่อโสตทัศน์ ได้แก่ ทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่นที่อยู่รูปเทป ซีดีรอม แผนที่
ลูกโลก โปสเตอร์
1.3 สื่อดิจิทัล ได้แก่ ทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่นที่อยู่ไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ ไฟล์ภาพ ไฟล์
เสียง ไฟล์ภาพเคลื่อนไหว เว็บไซต์ ฐานข้อมูล ทั้งในระบบออนไลน์และ
ออฟไลน์ 1.4 สื่อบุคคล ได้แก่ ทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่นที่อยู่ในตัวของ
บุคคลที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญและได้รับการยอมรับให้เป็นผู้นาชุมชนในแต่ละท้องถิ่น อาทิ ปราชญ์
ชาวบ้าน
พระครูภูมิปัญญาไทย และบุคคลที่ได้รับการยอมรับนับถือในท้องถิ่น
1.4 สื่อพื้นบ้าน ได้แก่ สื่อที่มีการถ่ายทอดโดยอาศัยคาบอกเล่า โดยไม่ปรากฏ
ผู้แต่งและผู้คิดค้นเดิม เช่น การละเล่นของคนในแต่ละท้องถิ่น บทเพลง ดนตรี หัตถกรรม
สถาปัตยกรรม วัฒนธรรม วิถีชีวิตของคนในชุมชนที่ปฏิบัติสืบต่อกันมา
1.5 วัสดุจริง ได้แก่ สิ่งของที่มีมาในอดีตในรูปแบบที่สัมผัสและจับต้องได้ เช่น
ภาพถ่าย เหรียญ ของใช้เครื่องมือ เป็นต้น
สรุปได้ว่า ประเภทของสารสนเทศท้องถิ่นสามารถจาแนกตามลักษณะของสื่อ ได้6
ประเภท ได้แก่ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ สื่อดิจิทัล สื่อบุคคล สื่อพื้นบ้าน และวัสดุจริง
2. จาแนกตามเนื้อหา
ขวัญชฎิล พิศาลพงศ์ (2554 : 2-17-2-20) ; สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2551 : 11-12) ได้
จาแนกภูมิปัญญาท้องถิ่นตามลักษณะเนื้อหาและขอบเขตที่เหมือนและใกล้เคียงกัน โดยสามารถประมวลได้
เป็น 9 สาขา ดังนี้
2.1 สาขาเกษตรกรรม ได้แก่ ความสามารถในการผสมผสานองค์ความรู้ ทักษะและเทคนิค
ด้านการเกษตรกับเทคโนโลยี โดยการพัฒนาบนพื้นฐานคุณค่าดั้งเดิม ซึ่งคนสามารถพึ่งตนเองใน
สภาวการณ์ต่าง ๆ ได้ ทั้งนี้องค์ความรู้ภูมิปัญญาด้านการเกษตรเกิดจากการที่ชาวบ้านประกอบอาชีพด้าน
เกษตรกรรมถึงร้อยละ 80 ชุมชนส่วนใหญ่ผูกพันกับอาชีพทาไร่ ทานา เพาะปลูก เลี้ยงสัตว์มีการจับสัตว์น้า
การทาเกษตรกรรมแบบผสมผสาน การรู้จักปรับใช้เทคโนโลยีให้เหมาะสมกับการเกษตร และการแก้ไข
ปัญหาด้านการผลิต เช่น แก้ไขโรคแมลง เป็นต้น
2.2 สาขาอุตสาหกรรมและหัตถกรรม หมายถึง การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการแปร
รูปผลิตเพื่อการบริโภคอย่างปลอดภัย ประหยัด และเป็นธรรม อันเป็นกระบวนการให้ชุมชนท้องถิ่น
สามารถพึ่งตนเองทางเศรษฐกิจได้ ตลอดทั้งการผลิตและการจาหน่ายผลผลิตทางหัตถกรรม เช่น การ
รวมกลุ่มของกลุ่มโรงงานยางพารา กลุ่มโรงสี กลุ่มหัตถกรรม เป็นต้น
2.3 สาขาแพทย์แผนไทย หมายถึง ความสามารถในการจัดการป้ องกันและรักษา
สุขภาพของคนในชุมชน โดยประยุกต์ความเชื่อของท้องถิ่น เน้นให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองทางด้าน
สุขภาพและอนามัยได้ การแพทย์แผนไทยหรือที่เคยเรียกกันว่า การแพทย์แผนโบราณ เช่น ยาจาก
สมุนไพร ลูกประคบ การนวดแผนโบราณ การดูแลและรักษาสุขภาพแบบพื้นบ้าน เป็นต้น
2.4 สาขาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หมายถึง ความสามารถ
เกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทั้งการอนุรักษ์ การพัฒนา และการใช้
ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน การนาภูมิปัญญาชาวบ้านมาใช้ใน
เรื่องของการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมจะสะท้อนออกมาในแนวทางของการใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านด้านคติความ
เชื่อแล้วประยุกต์ออกมาสู่การพัฒนาชีวิต และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เช่น การเคารพแม่น้า การสืบชะตา
แม่น้า การอนุรักษ์ป่าไม้ การบวชป่า การอนุรักษ์ป่าชายเลน การจัดการป่าต้นน้า ป่าชุมชน และการทา
แนวปะการังเทียม เป็นต้น
2.5 สาขาการจัดการธุรกิจชุมชนและสวัสดิการ หมายถึง การบริหารจัดการการดาเนินงานด้าน
ต่าง ๆ ทั้งขององค์กรชุมชน องค์กรทางสังคมอื่น ๆ ในสังคมไทย เช่น ความสามารถในบริหารจัดการด้าน
การสะสมและการบริการกองทุนและธุรกิจในชุมชน ทั้งที่เป็นเงินตราและโภคทรัพย์ เพื่อเสริมชีวิตความ
เป็นอยู่ของสมาชิกในชุมชน รวมถึงความสามารถในการจัดสวัสดิการในการประกันคุณภาพชีวิตของคนให้
เกิดความมั่นคงทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
2.6 สาขาศิลปกรรม หมายถึง สิ่งที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้นเพื่อความงดงามที่ให้คุณค่าทาง
จิตใจ หรือเพื่อประโยชน์ใช้สอย ความสามารถในการผลิตผลงานทางด้านศิลปะสาขาต่าง ๆ
เช่น ทัศนศิลป์ คีตศิลป์ จิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปัตยกรรม เป็นต้น ทั้งนี้คาสั่งสอนทางพุทธ
ศาสนารวมทั้งประเพณีวัฒนธรรมมีส่วนสาคัญต่อการสร้างภูมิปัญญาสาขาศิลปกรรมหลาย
อย่าง เช่น วิธีการหล่อพระพุทธรูป การแกะต้นเทียน การแกะสลักไม้ รวมทั้งงานออกแบบก่อสร้างอาคาร
ทางพุทธศาสนา ได้แก่ สถูปเจดีย์ อาคารโบสถ์วิหาร รวมทั้งภาพจิตรกรรมฝาผนัง เป็นต้น รวมถึงในการ
ก่อสร้างที่อยู่อาศัยนับเป็นภูมิปัญญาทางสถาปัตยกรรมที่มีการสั่งสมสืบต่อกันมาตั้งแต่ครั้งโบราณกาล ภูมิ
ปัญญาดังกล่าวนี้จะเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของชุมชนที่อาศัยอยู่ในแต่ละท้องถิ่น ที่จะปรับประยุกต์ให้
สอดคล้องกับสภาพภูมิศาสตร์ของแต่ละท้องถิ่น
2.7 สาขาภาษาและวรรณกรรม หมายถึง สิ่งที่สื่อความหมายด้วยอักษรที่กาหนดไว้เป็นแบบ
แผนเพื่อใช้เป็นสื่อสร้างความเข้าใจซึ่งกันและกัน การติดต่อสื่อสารกัน ภูมิปัญญาด้านภาษาและ
วรรณกรรมเป็นความสามารถในการผลิตผลงานด้านภาษา ทั้งภาษาท้องถิ่น ภาษาโบราณ ภาษาไทยและ
การใช้ภาษา ตลอดจนด้านวรรณกรรมทุกประเภท ชาติไทยมีการประดิษฐ์และใช้อักษรไทยและเลขไทยที่
เป็นเอกลักษณ์ทางภูมิปัญญาของตนเอง ภาษาไทยมีลักษณะเฉพาะตัวหลายประการ อันแสดงถึงภูมิปัญญา
ไทย อาทิ เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์ มีลักษณะนาม มีการเล่นคาผวน รวมทั้งนิยมความมีสัมผัสคล้อง
จอง เห็นได้จากคาประพันธ์ประเภทโคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ภูมิปัญญาท้องถิ่นประเภทภาษาและ
วรรณกรรมพื้นบ้าน เช่น คาประพันธ์ประเภทร้อยแก้วและร้อยกรอง เรื่องเล่าพื้นบ้าน กวีนิพนธ์
พื้นบ้าน ปริศนาพื้นบ้าน เพลงกล่อมเด็ก เพลง
พื้นบ้าน เป็นต้น
2.8 สาขาปรัชญา ศาสนาและประเพณี หมายถึง ความสามารถประยุกต์และปรับใช้หลักธรรมคา
สอนทางศาสนา ปรัชญาความเชื่อและประเพณีดั้งเดิมที่มีคุณค่าให้เหมาะสมต่อการประพฤติปฏิบัติ ให้
บังเกิดผลดีต่อบุคคลและสิ่งแวดล้อม ความเชื่อในกฎเกณฑ์ประเพณีเป็นระเบียบทางสังคมของชุมชน
ดั้งเดิม เช่น การถ่ายทอดวรรณกรรม คาสอน การบวชป่า การประยุกต์ประเพณี พิธีสู่ขวัญข้าว งานบุญ
ต่าง ๆ เป็นต้น
2.9 สาขาอาหารและโภชนาการ หมายถึง ความสามารถในการเลือกสรร ประดิษฐ์และปรุงแต่ง
อาหาร การถนอมอาหารให้เหมาะสมกับความต้องการของร่างกายในสภาวการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนอาหาร
พื้นบ้านในท้องถิ่นต่าง ๆ ผลิตเป็นสินค้าและบริการส่งออกได้รับความนิยมแพร่หลายมาก เนื่องจากอาหาร
ไทยเป็นที่ยอมรับว่ามีรสชาติความอร่อย มีคุณค่าทางโภชนาการ อีกทั้งมีการตกแต่งอย่าง
สวยงาม ประณีต ก็เป็นภูมิปัญญาอีกอย่างหนึ่งที่ทาให้อาหารดูน่ารับประทานยิ่งขึ้น จึงทาให้อาหารไทย
ได้รับความนิยมไปทั่วโลก นับเป็นภูมิปัญญาประเภทหนึ่งที่สามารถบ่งบอกความเป็นไทยได้เป็นอย่างดี
สรุปได้ว่า การจาแนกภูมิปัญญาท้องถิ่นตามเนื้อหา สามารถจาแนกเป็น 9 สาขา คือ สาขา
เกษตรกรรม สาขาหัตถกรรมและอุตสาหกรรม สาขาแพทย์แผนไทย สาขาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม สาขาการจัดการธุรกิจชุมชนและสวัสดิการ สาขาศิลปกรรม สาขาภาษาและ
วรรณกรรม สาขาปรัชญา ศาสนาและประเพณี และสาขาอาหารและโภชนาการ
3. จาแนกตามแหล่งสารสนเทศ
จาแนกแหล่งสารสนเทศตามประเภทสถาบัน ประเภทบุคคล และบนอินเทอร์เน็ต
(ฉวีลักษณ์ บุณยะกาญจน และน้าทิพย์ วิภาวิน. 2554 : 1-17-1-18) ดังนี้
3.1 แหล่งสารสนเทศท้องถิ่นประเภทสถาบัน ได้แก่ สถาบันที่มีหน้าที่หลักในการ
รวบรวมองค์ความรู้ และจัดบริการเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ของท้องถิ่น ประกอบด้วย ห้องสมุด
พิพิธภัณฑ์ สถานศึกษา ศาสนสถาน ศูนย์วัฒนธรรม ศูนย์กีฬาและนันทนาการ ศูนย์ศึกษา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศูนย์ศึกษาการเกษตร และสถานที่สาคัญในท้องถิ่น ดังนี้
3.1.1 ห้องสมุด ศูนย์ข้อมูลท้องถิ่น ศูนย์การเรียนรู้ ได้แก่ สื่อการเรียนรู้ที่อยู่ในรูปสื่อ
สิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ และสื่อดิจิทัล
ห้องสมุดหรือศูนย์ข้อมูลท้องถิ่น หมายถึง ศูนย์รวมความรู้ท้องถิ่นที่มีการจัดการ
ทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่น อาทิ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ และสื่อดิจิทัล มีการวิเคราะห์สารสนเทศและ
จัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ มีการบริการและเผยแพร่ความรู้อย่างต่อเนื่องตามประเภทของ
ห้องสมุด ได้แก่ ห้องสมุดประชาชน ห้องสมุดเฉพาะ ห้องสมุดมหาวิทยาลัย ห้องสมุดโรงเรียน และ
ห้องสมุดประจาบ้านหรือห้องสมุดส่วนตัว
ศูนย์การเรียนรู้ หมายถึง สถานที่ที่เป็นศูนย์กลางการจัดการเรียนรู้ของท้องถิ่น มี
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ และการฝึกปฏิบัติการโดยบุคคลในท้องถิ่นมีส่วนร่วมใน
กระบวนการเรียนรู้ เน้นการใช้สื่อบุคคล ตัวอย่างเช่น ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน
ศูนย์ข้อมูลท้องถิ่น เป็นต้น
3.1.2 ศูนย์วัฒนธรรม พิพิธภัณฑ์
จากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พิพิธภัณฑ์ หมายถึง สถานที่เก็บรวบรวมและ
แสดงสิ่งต่าง ๆ ที่มีความสาคัญด้านวัฒนธรรมหรือด้านวิทยาศาสตร์ โดยมีความมุ่งหมายเพื่อให้เป็น
ประโยชน์ต่อการศึกษา และก่อให้เกิดความเพลิดเพลินใจ (ราชบัณฑิตยสถาน. 2556 : 836)
พิพิธภัณฑ์สถาน มีหน้าที่ในการอนุรักษ์หลักฐานทางมรดกวัฒนธรรม เพื่อประโยชน์
ต่อการศึกษา มีหน้าที่เสริมความรู้ให้แก่บุคคลทั่วไป พร้อมด้วยการอนุรักษ์มีการพัฒนาคุณภาพและ
ประสานกับสถานศึกษาในทุกระดับ
สื่อที่เกี่ยวข้องในการสะท้อนภาพภูมิปัญญาไทยตามช่วงเวลาและท้องถิ่น ได้แก่ วัสดุ
จริงที่เป็นภาชนะสาหรับใส่ข้าวเหนียวนึ่ง เรียกว่า ก่องข้าว และกระติบ เป็นภาชนะที่ทาใช้กันในกลุ่มชน
ที่บริโภคข้าวเหนียวในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และกลุ่มชนที่บริโภคข้าวเหนียวซึ่งกระจายอยู่
ในท้องถิ่นต่าง ๆ ในภาคกลาง กรรมวิธีการสานและรูปแบบของก่องข้าวและกระติบจะต่างกันไปตาม
ค่านิยมทางความงามแต่ละกลุ่มชน
3.1.3 ศูนย์ข้อมูลเฉพาะด้านในสื่อมวลชน ชุมชน และท้องถิ่นนั้น ๆ ได้แก่
รายการโทรทัศน์ วิทยุ การบริการข่าวสารในรูปแบบอื่น การจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวของท้องถิ่น การ
ถ่ายทอดวัฒนธรรมชุมชน เช่น ตลาดน้า การจัดนิทรรศการในสถานที่จริง เป็นต้น
3.2 แหล่งสารสนเทศท้องถิ่นประเภทบุคคล ได้แก่ ผู้รู้ ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ
ท้องถิ่น ผู้ที่มีความรู้เกี่ยวกับท้องถิ่นนั้น เป็นบุคคลที่มีความรู้ประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านจะ
เป็นที่ยอมรับของวงวิชาการและสังคม รวมถึงบุคคลที่เป็นผู้นาชุมชน ครู พระ ปราชญ์ชาวบ้าน ศิลปิน
แห่งชาติ และผู้บริหารการปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นการนาศักยภาพของคนในท้องถิ่น ผู้นาและปราชญ์
ท้องถิ่นให้มีโอกาสแสดงศักยภาพด้านภูมิปัญญาและพัฒนาความรู้ความสามารถได้อย่างเต็มที่ เพื่อให้
สัมพันธ์กับการศึกษาในระบบ และส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัยอันจะนาไปสู่การ
อนุรักษ์ สร้างสรรค์ พัฒนาคนให้สืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น และต่อยอดองค์ความรู้
3.3 แหล่งสารสนเทศท้องถิ่นบนอินเทอร์เน็ต ได้แก่ ฐานข้อมูลสารสนเทศท้องถิ่นและเว็บไซต์
สารสนเทศท้องถิ่น ได้แก่ ไฟล์ดิจิทัลที่เผยแพร่ผ่านอินเทอร์เน็ต และฐานข้อมูลการจัดการระบบ
สารสนเทศท้องถิ่น ประกอบด้วย ฐานข้อมูลสารสนเทศท้องถิ่นเฉพาะเรื่องที่จัดทาขึ้นโดยหน่วยงานใด
หน่วยงานหนึ่งเป็นการจัดทาในระดับหน่วยงาน และฐานข้อมูลสารสนเทศท้องถิ่นที่ร่วมกันจัดทาใน
ลักษณะเครือข่าย อาทิ ระดับภูมิภาค ระดับจังหวัด ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุดบทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุดPloykarn Lamdual
 
อ.วนิดา บทที่-9-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-22-aug-57
อ.วนิดา บทที่-9-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-22-aug-57อ.วนิดา บทที่-9-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-22-aug-57
อ.วนิดา บทที่-9-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-22-aug-57นางสาวอัมพร แสงมณี
 
ทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศSupaporn Khiewwan
 
ประเภทห้องสมุด
ประเภทห้องสมุดประเภทห้องสมุด
ประเภทห้องสมุดSupaporn Khiewwan
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศSrion Janeprapapong
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศเฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศSupaporn Khiewwan
 
LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ
LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศLibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ
LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศPloykarn Lamdual
 
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดChuleekorn Rakchart
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศSrion Janeprapapong
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุดความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุดพัน พัน
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560Supaporn Khiewwan
 
ประวัติห้องสมุด
ประวัติห้องสมุดประวัติห้องสมุด
ประวัติห้องสมุดSupaporn Khiewwan
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7chunkidtid
 
แบบทดสอบเรื่อง ประวัติห้องสมุด
แบบทดสอบเรื่อง ประวัติห้องสมุดแบบทดสอบเรื่อง ประวัติห้องสมุด
แบบทดสอบเรื่อง ประวัติห้องสมุดSupaporn Khiewwan
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้น
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้นบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้น
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้นLtid_2017
 
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศบทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศPa'rig Prig
 
วัสดุสารนิเทศ
วัสดุสารนิเทศวัสดุสารนิเทศ
วัสดุสารนิเทศO Phar O Amm
 
นิทานหนังสืออ่านเพิ่มเติม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมหลักปรัชญาเศษฐ...
นิทานหนังสืออ่านเพิ่มเติม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมหลักปรัชญาเศษฐ...นิทานหนังสืออ่านเพิ่มเติม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมหลักปรัชญาเศษฐ...
นิทานหนังสืออ่านเพิ่มเติม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมหลักปรัชญาเศษฐ...ครูแชมป์ ฟักอ่อน
 

Mais procurados (20)

บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุดบทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
 
อ.วนิดา บทที่-9-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-22-aug-57
อ.วนิดา บทที่-9-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-22-aug-57อ.วนิดา บทที่-9-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-22-aug-57
อ.วนิดา บทที่-9-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-22-aug-57
 
บทที่ 2 แหล่งสารสนเทศท้องถิ่น
บทที่ 2 แหล่งสารสนเทศท้องถิ่นบทที่ 2 แหล่งสารสนเทศท้องถิ่น
บทที่ 2 แหล่งสารสนเทศท้องถิ่น
 
ทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศ
 
ประเภทห้องสมุด
ประเภทห้องสมุดประเภทห้องสมุด
ประเภทห้องสมุด
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศเฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
 
LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ
LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศLibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ
LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ
 
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุดความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
 
ประวัติห้องสมุด
ประวัติห้องสมุดประวัติห้องสมุด
ประวัติห้องสมุด
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
 
แบบทดสอบเรื่อง ประวัติห้องสมุด
แบบทดสอบเรื่อง ประวัติห้องสมุดแบบทดสอบเรื่อง ประวัติห้องสมุด
แบบทดสอบเรื่อง ประวัติห้องสมุด
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้น
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้นบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้น
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้น
 
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศบทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
 
วัสดุสารนิเทศ
วัสดุสารนิเทศวัสดุสารนิเทศ
วัสดุสารนิเทศ
 
นิทานหนังสืออ่านเพิ่มเติม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมหลักปรัชญาเศษฐ...
นิทานหนังสืออ่านเพิ่มเติม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมหลักปรัชญาเศษฐ...นิทานหนังสืออ่านเพิ่มเติม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมหลักปรัชญาเศษฐ...
นิทานหนังสืออ่านเพิ่มเติม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมหลักปรัชญาเศษฐ...
 

Destaque

Prancha6opçOes(2)
Prancha6opçOes(2)Prancha6opçOes(2)
Prancha6opçOes(2)guest262f33
 
อปท.ต้นแบบด้านการป้องกันการทุจริต ประจำปี2559
อปท.ต้นแบบด้านการป้องกันการทุจริต ประจำปี2559 อปท.ต้นแบบด้านการป้องกันการทุจริต ประจำปี2559
อปท.ต้นแบบด้านการป้องกันการทุจริต ประจำปี2559 ฉัตรกุล ชื่นสุวรรณกุล
 
บทที่ 6 การจัดการทรัพยากรสารสนเทศสำหรับครู
บทที่ 6 การจัดการทรัพยากรสารสนเทศสำหรับครูบทที่ 6 การจัดการทรัพยากรสารสนเทศสำหรับครู
บทที่ 6 การจัดการทรัพยากรสารสนเทศสำหรับครูBeauso English
 
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1IT Management in Healthcare Organizations: Part 1
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1Nawanan Theera-Ampornpunt
 
TÁC ĐỘNG CỦA FDI ĐẾN TĂNG TRƯỞNG KINH TẾ Ở VIỆT NAM
TÁC ĐỘNG CỦA FDI ĐẾN TĂNG TRƯỞNG KINH TẾ Ở VIỆT NAMTÁC ĐỘNG CỦA FDI ĐẾN TĂNG TRƯỞNG KINH TẾ Ở VIỆT NAM
TÁC ĐỘNG CỦA FDI ĐẾN TĂNG TRƯỞNG KINH TẾ Ở VIỆT NAMTrangABC
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
4 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ใบความรู้)
4 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ใบความรู้)4 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ใบความรู้)
4 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ใบความรู้)phatrinn555
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 
การจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนการจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนananphar
 

Destaque (20)

บทที่ 4 การจัดการสารสนเทศท้องถิ่น
บทที่ 4 การจัดการสารสนเทศท้องถิ่นบทที่ 4 การจัดการสารสนเทศท้องถิ่น
บทที่ 4 การจัดการสารสนเทศท้องถิ่น
 
ลักษณะของสารสนเทศท้องถิ่น
ลักษณะของสารสนเทศท้องถิ่นลักษณะของสารสนเทศท้องถิ่น
ลักษณะของสารสนเทศท้องถิ่น
 
Prancha6opçOes(2)
Prancha6opçOes(2)Prancha6opçOes(2)
Prancha6opçOes(2)
 
อปท.ต้นแบบด้านการป้องกันการทุจริต ประจำปี2559
อปท.ต้นแบบด้านการป้องกันการทุจริต ประจำปี2559 อปท.ต้นแบบด้านการป้องกันการทุจริต ประจำปี2559
อปท.ต้นแบบด้านการป้องกันการทุจริต ประจำปี2559
 
บทที่ 6 การจัดการทรัพยากรสารสนเทศสำหรับครู
บทที่ 6 การจัดการทรัพยากรสารสนเทศสำหรับครูบทที่ 6 การจัดการทรัพยากรสารสนเทศสำหรับครู
บทที่ 6 การจัดการทรัพยากรสารสนเทศสำหรับครู
 
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1IT Management in Healthcare Organizations: Part 1
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3
 
คำถามท้ายบทบทที่ 8
คำถามท้ายบทบทที่ 8คำถามท้ายบทบทที่ 8
คำถามท้ายบทบทที่ 8
 
คำถามท้ายบทบทที่ 9
คำถามท้ายบทบทที่ 9คำถามท้ายบทบทที่ 9
คำถามท้ายบทบทที่ 9
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  8แผนบริหารการสอนประจำบทที่  8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
 
TÁC ĐỘNG CỦA FDI ĐẾN TĂNG TRƯỞNG KINH TẾ Ở VIỆT NAM
TÁC ĐỘNG CỦA FDI ĐẾN TĂNG TRƯỞNG KINH TẾ Ở VIỆT NAMTÁC ĐỘNG CỦA FDI ĐẾN TĂNG TRƯỞNG KINH TẾ Ở VIỆT NAM
TÁC ĐỘNG CỦA FDI ĐẾN TĂNG TRƯỞNG KINH TẾ Ở VIỆT NAM
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
 
คำถามท้ายบทบทที่ 7
คำถามท้ายบทบทที่ 7คำถามท้ายบทบทที่ 7
คำถามท้ายบทบทที่ 7
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  5แผนบริหารการสอนประจำบทที่  5
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
 
4 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ใบความรู้)
4 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ใบความรู้)4 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ใบความรู้)
4 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ใบความรู้)
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
การจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนการจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอน
 

Semelhante a ประเภทของสารสนเทศท้องถิ่น

วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลังวรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลังchontee55
 
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายวรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายchontee55
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมอำนาจ ศรีทิม
 
ทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศอิ่' เฉิ่ม
 
ความภูมิใจในท้องถิ่น ป.1+518+55t2his p01 f13-1page
ความภูมิใจในท้องถิ่น ป.1+518+55t2his p01 f13-1pageความภูมิใจในท้องถิ่น ป.1+518+55t2his p01 f13-1page
ความภูมิใจในท้องถิ่น ป.1+518+55t2his p01 f13-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่น+518+dltvhisp1+55t2his p01 f13-1page
สไลด์  ความภูมิใจในท้องถิ่น+518+dltvhisp1+55t2his p01 f13-1pageสไลด์  ความภูมิใจในท้องถิ่น+518+dltvhisp1+55t2his p01 f13-1page
สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่น+518+dltvhisp1+55t2his p01 f13-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ความภูมิใจในท้องถิ่น ป.1+518+55t2his p01 f13-4page
ความภูมิใจในท้องถิ่น ป.1+518+55t2his p01 f13-4pageความภูมิใจในท้องถิ่น ป.1+518+55t2his p01 f13-4page
ความภูมิใจในท้องถิ่น ป.1+518+55t2his p01 f13-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่น+518+dltvhisp1+55t2his p01 f13-4page
สไลด์  ความภูมิใจในท้องถิ่น+518+dltvhisp1+55t2his p01 f13-4pageสไลด์  ความภูมิใจในท้องถิ่น+518+dltvhisp1+55t2his p01 f13-4page
สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่น+518+dltvhisp1+55t2his p01 f13-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
บทที่ 1 ภาษาศาสตร์คืออะไร
บทที่ 1 ภาษาศาสตร์คืออะไรบทที่ 1 ภาษาศาสตร์คืออะไร
บทที่ 1 ภาษาศาสตร์คืออะไรWilawun Wisanuvekin
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีRuangrat Watthanasaowalak
 
อ.วนิดา บทที่ 2 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา  บทที่ 2 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57อ.วนิดา  บทที่ 2 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา บทที่ 2 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57นางสาวอัมพร แสงมณี
 

Semelhante a ประเภทของสารสนเทศท้องถิ่น (18)

วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลังวรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
 
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่นใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
 
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายวรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
 
Lesson4 refer22
Lesson4 refer22Lesson4 refer22
Lesson4 refer22
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
Wordpress2
Wordpress2Wordpress2
Wordpress2
 
Nuntanakan2
Nuntanakan2Nuntanakan2
Nuntanakan2
 
Nuntanakan2
Nuntanakan2Nuntanakan2
Nuntanakan2
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
 
ทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศ
 
ภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลายภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลาย
 
ความภูมิใจในท้องถิ่น ป.1+518+55t2his p01 f13-1page
ความภูมิใจในท้องถิ่น ป.1+518+55t2his p01 f13-1pageความภูมิใจในท้องถิ่น ป.1+518+55t2his p01 f13-1page
ความภูมิใจในท้องถิ่น ป.1+518+55t2his p01 f13-1page
 
สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่น+518+dltvhisp1+55t2his p01 f13-1page
สไลด์  ความภูมิใจในท้องถิ่น+518+dltvhisp1+55t2his p01 f13-1pageสไลด์  ความภูมิใจในท้องถิ่น+518+dltvhisp1+55t2his p01 f13-1page
สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่น+518+dltvhisp1+55t2his p01 f13-1page
 
ความภูมิใจในท้องถิ่น ป.1+518+55t2his p01 f13-4page
ความภูมิใจในท้องถิ่น ป.1+518+55t2his p01 f13-4pageความภูมิใจในท้องถิ่น ป.1+518+55t2his p01 f13-4page
ความภูมิใจในท้องถิ่น ป.1+518+55t2his p01 f13-4page
 
สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่น+518+dltvhisp1+55t2his p01 f13-4page
สไลด์  ความภูมิใจในท้องถิ่น+518+dltvhisp1+55t2his p01 f13-4pageสไลด์  ความภูมิใจในท้องถิ่น+518+dltvhisp1+55t2his p01 f13-4page
สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่น+518+dltvhisp1+55t2his p01 f13-4page
 
บทที่ 1 ภาษาศาสตร์คืออะไร
บทที่ 1 ภาษาศาสตร์คืออะไรบทที่ 1 ภาษาศาสตร์คืออะไร
บทที่ 1 ภาษาศาสตร์คืออะไร
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดี
 
อ.วนิดา บทที่ 2 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา  บทที่ 2 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57อ.วนิดา  บทที่ 2 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา บทที่ 2 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
 

Mais de นางสาวอัมพร แสงมณี

อ.วนิดา บทที่ 3 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา  บทที่ 3 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57อ.วนิดา  บทที่ 3 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา บทที่ 3 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57นางสาวอัมพร แสงมณี
 

Mais de นางสาวอัมพร แสงมณี (16)

คำถามท้ายบทบทที่ 6
คำถามท้ายบทบทที่ 6คำถามท้ายบทบทที่ 6
คำถามท้ายบทบทที่ 6
 
คำถามท้ายบทบทที่ 5
คำถามท้ายบทบทที่ 5คำถามท้ายบทบทที่ 5
คำถามท้ายบทบทที่ 5
 
คำถามท้ายบทบทที่ 4
คำถามท้ายบทบทที่ 4คำถามท้ายบทบทที่ 4
คำถามท้ายบทบทที่ 4
 
คำถามท้ายบทบทที่ 3
คำถามท้ายบทบทที่ 3คำถามท้ายบทบทที่ 3
คำถามท้ายบทบทที่ 3
 
คำถามท้ายบทบทที่ 2
คำถามท้ายบทบทที่ 2คำถามท้ายบทบทที่ 2
คำถามท้ายบทบทที่ 2
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 9
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 9แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 9
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 9
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  7แผนบริหารการสอนประจำบทที่  7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6 new2
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  6 new2แผนบริหารการสอนประจำบทที่  6 new2
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6 new2
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  4แผนบริหารการสอนประจำบทที่  4
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3
 
บทที่2 ระบบการเรียนการสอน
บทที่2  ระบบการเรียนการสอนบทที่2  ระบบการเรียนการสอน
บทที่2 ระบบการเรียนการสอน
 
อ.วนิดา บทที่ 3 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา  บทที่ 3 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57อ.วนิดา  บทที่ 3 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา บทที่ 3 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
 

ประเภทของสารสนเทศท้องถิ่น

  • 1. ประเภทของสารสนเทศท้องถิ่น เนื้อหาความรู้เกี่ยวกับสารสนเทศท้องถิ่น มีลักษณะองค์รวมของสารสนเทศท้องถิ่นที่เด่นชัดใน หลายด้าน จากการรวบรวมสามารถจาแนกได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ โดยจาแนกตามลักษณะของ สื่อ จาแนกตามเนื้อหา และจาแนกตามแหล่งสารสนเทศ โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. จาแนกตามลักษณะของสื่อ สารสนเทศท้องถิ่นจาแนกตามลักษณะของสื่อ (ฉวีลักษณ์ บุณยะกาญจน และ น้าทิพย์ วิภาวิน. 2554 : 1-14-1-15) ดังนี้ 1.1 สื่อสิ่งพิมพ์ ได้แก่ ทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่นที่อยู่รูปหนังสือทั่วไป ตารา วิชาการ หนังสืออ้างอิง วารสาร นิตยสาร จดหมายข่าว วิทยานิพนธ์ รายงาน สิทธิบัตร แผ่นพับ แผ่นปลิว 1.2 สื่อโสตทัศน์ ได้แก่ ทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่นที่อยู่รูปเทป ซีดีรอม แผนที่ ลูกโลก โปสเตอร์ 1.3 สื่อดิจิทัล ได้แก่ ทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่นที่อยู่ไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ ไฟล์ภาพ ไฟล์ เสียง ไฟล์ภาพเคลื่อนไหว เว็บไซต์ ฐานข้อมูล ทั้งในระบบออนไลน์และ ออฟไลน์ 1.4 สื่อบุคคล ได้แก่ ทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่นที่อยู่ในตัวของ บุคคลที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญและได้รับการยอมรับให้เป็นผู้นาชุมชนในแต่ละท้องถิ่น อาทิ ปราชญ์ ชาวบ้าน พระครูภูมิปัญญาไทย และบุคคลที่ได้รับการยอมรับนับถือในท้องถิ่น 1.4 สื่อพื้นบ้าน ได้แก่ สื่อที่มีการถ่ายทอดโดยอาศัยคาบอกเล่า โดยไม่ปรากฏ ผู้แต่งและผู้คิดค้นเดิม เช่น การละเล่นของคนในแต่ละท้องถิ่น บทเพลง ดนตรี หัตถกรรม สถาปัตยกรรม วัฒนธรรม วิถีชีวิตของคนในชุมชนที่ปฏิบัติสืบต่อกันมา 1.5 วัสดุจริง ได้แก่ สิ่งของที่มีมาในอดีตในรูปแบบที่สัมผัสและจับต้องได้ เช่น ภาพถ่าย เหรียญ ของใช้เครื่องมือ เป็นต้น สรุปได้ว่า ประเภทของสารสนเทศท้องถิ่นสามารถจาแนกตามลักษณะของสื่อ ได้6 ประเภท ได้แก่ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ สื่อดิจิทัล สื่อบุคคล สื่อพื้นบ้าน และวัสดุจริง
  • 2. 2. จาแนกตามเนื้อหา ขวัญชฎิล พิศาลพงศ์ (2554 : 2-17-2-20) ; สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2551 : 11-12) ได้ จาแนกภูมิปัญญาท้องถิ่นตามลักษณะเนื้อหาและขอบเขตที่เหมือนและใกล้เคียงกัน โดยสามารถประมวลได้ เป็น 9 สาขา ดังนี้ 2.1 สาขาเกษตรกรรม ได้แก่ ความสามารถในการผสมผสานองค์ความรู้ ทักษะและเทคนิค ด้านการเกษตรกับเทคโนโลยี โดยการพัฒนาบนพื้นฐานคุณค่าดั้งเดิม ซึ่งคนสามารถพึ่งตนเองใน สภาวการณ์ต่าง ๆ ได้ ทั้งนี้องค์ความรู้ภูมิปัญญาด้านการเกษตรเกิดจากการที่ชาวบ้านประกอบอาชีพด้าน เกษตรกรรมถึงร้อยละ 80 ชุมชนส่วนใหญ่ผูกพันกับอาชีพทาไร่ ทานา เพาะปลูก เลี้ยงสัตว์มีการจับสัตว์น้า การทาเกษตรกรรมแบบผสมผสาน การรู้จักปรับใช้เทคโนโลยีให้เหมาะสมกับการเกษตร และการแก้ไข ปัญหาด้านการผลิต เช่น แก้ไขโรคแมลง เป็นต้น 2.2 สาขาอุตสาหกรรมและหัตถกรรม หมายถึง การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการแปร รูปผลิตเพื่อการบริโภคอย่างปลอดภัย ประหยัด และเป็นธรรม อันเป็นกระบวนการให้ชุมชนท้องถิ่น สามารถพึ่งตนเองทางเศรษฐกิจได้ ตลอดทั้งการผลิตและการจาหน่ายผลผลิตทางหัตถกรรม เช่น การ รวมกลุ่มของกลุ่มโรงงานยางพารา กลุ่มโรงสี กลุ่มหัตถกรรม เป็นต้น 2.3 สาขาแพทย์แผนไทย หมายถึง ความสามารถในการจัดการป้ องกันและรักษา สุขภาพของคนในชุมชน โดยประยุกต์ความเชื่อของท้องถิ่น เน้นให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองทางด้าน สุขภาพและอนามัยได้ การแพทย์แผนไทยหรือที่เคยเรียกกันว่า การแพทย์แผนโบราณ เช่น ยาจาก สมุนไพร ลูกประคบ การนวดแผนโบราณ การดูแลและรักษาสุขภาพแบบพื้นบ้าน เป็นต้น 2.4 สาขาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หมายถึง ความสามารถ เกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทั้งการอนุรักษ์ การพัฒนา และการใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน การนาภูมิปัญญาชาวบ้านมาใช้ใน เรื่องของการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมจะสะท้อนออกมาในแนวทางของการใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านด้านคติความ เชื่อแล้วประยุกต์ออกมาสู่การพัฒนาชีวิต และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เช่น การเคารพแม่น้า การสืบชะตา แม่น้า การอนุรักษ์ป่าไม้ การบวชป่า การอนุรักษ์ป่าชายเลน การจัดการป่าต้นน้า ป่าชุมชน และการทา แนวปะการังเทียม เป็นต้น 2.5 สาขาการจัดการธุรกิจชุมชนและสวัสดิการ หมายถึง การบริหารจัดการการดาเนินงานด้าน ต่าง ๆ ทั้งขององค์กรชุมชน องค์กรทางสังคมอื่น ๆ ในสังคมไทย เช่น ความสามารถในบริหารจัดการด้าน การสะสมและการบริการกองทุนและธุรกิจในชุมชน ทั้งที่เป็นเงินตราและโภคทรัพย์ เพื่อเสริมชีวิตความ
  • 3. เป็นอยู่ของสมาชิกในชุมชน รวมถึงความสามารถในการจัดสวัสดิการในการประกันคุณภาพชีวิตของคนให้ เกิดความมั่นคงทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม 2.6 สาขาศิลปกรรม หมายถึง สิ่งที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้นเพื่อความงดงามที่ให้คุณค่าทาง จิตใจ หรือเพื่อประโยชน์ใช้สอย ความสามารถในการผลิตผลงานทางด้านศิลปะสาขาต่าง ๆ เช่น ทัศนศิลป์ คีตศิลป์ จิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปัตยกรรม เป็นต้น ทั้งนี้คาสั่งสอนทางพุทธ ศาสนารวมทั้งประเพณีวัฒนธรรมมีส่วนสาคัญต่อการสร้างภูมิปัญญาสาขาศิลปกรรมหลาย อย่าง เช่น วิธีการหล่อพระพุทธรูป การแกะต้นเทียน การแกะสลักไม้ รวมทั้งงานออกแบบก่อสร้างอาคาร ทางพุทธศาสนา ได้แก่ สถูปเจดีย์ อาคารโบสถ์วิหาร รวมทั้งภาพจิตรกรรมฝาผนัง เป็นต้น รวมถึงในการ ก่อสร้างที่อยู่อาศัยนับเป็นภูมิปัญญาทางสถาปัตยกรรมที่มีการสั่งสมสืบต่อกันมาตั้งแต่ครั้งโบราณกาล ภูมิ ปัญญาดังกล่าวนี้จะเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของชุมชนที่อาศัยอยู่ในแต่ละท้องถิ่น ที่จะปรับประยุกต์ให้ สอดคล้องกับสภาพภูมิศาสตร์ของแต่ละท้องถิ่น 2.7 สาขาภาษาและวรรณกรรม หมายถึง สิ่งที่สื่อความหมายด้วยอักษรที่กาหนดไว้เป็นแบบ แผนเพื่อใช้เป็นสื่อสร้างความเข้าใจซึ่งกันและกัน การติดต่อสื่อสารกัน ภูมิปัญญาด้านภาษาและ วรรณกรรมเป็นความสามารถในการผลิตผลงานด้านภาษา ทั้งภาษาท้องถิ่น ภาษาโบราณ ภาษาไทยและ การใช้ภาษา ตลอดจนด้านวรรณกรรมทุกประเภท ชาติไทยมีการประดิษฐ์และใช้อักษรไทยและเลขไทยที่ เป็นเอกลักษณ์ทางภูมิปัญญาของตนเอง ภาษาไทยมีลักษณะเฉพาะตัวหลายประการ อันแสดงถึงภูมิปัญญา ไทย อาทิ เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์ มีลักษณะนาม มีการเล่นคาผวน รวมทั้งนิยมความมีสัมผัสคล้อง จอง เห็นได้จากคาประพันธ์ประเภทโคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ภูมิปัญญาท้องถิ่นประเภทภาษาและ วรรณกรรมพื้นบ้าน เช่น คาประพันธ์ประเภทร้อยแก้วและร้อยกรอง เรื่องเล่าพื้นบ้าน กวีนิพนธ์ พื้นบ้าน ปริศนาพื้นบ้าน เพลงกล่อมเด็ก เพลง พื้นบ้าน เป็นต้น 2.8 สาขาปรัชญา ศาสนาและประเพณี หมายถึง ความสามารถประยุกต์และปรับใช้หลักธรรมคา สอนทางศาสนา ปรัชญาความเชื่อและประเพณีดั้งเดิมที่มีคุณค่าให้เหมาะสมต่อการประพฤติปฏิบัติ ให้ บังเกิดผลดีต่อบุคคลและสิ่งแวดล้อม ความเชื่อในกฎเกณฑ์ประเพณีเป็นระเบียบทางสังคมของชุมชน ดั้งเดิม เช่น การถ่ายทอดวรรณกรรม คาสอน การบวชป่า การประยุกต์ประเพณี พิธีสู่ขวัญข้าว งานบุญ ต่าง ๆ เป็นต้น 2.9 สาขาอาหารและโภชนาการ หมายถึง ความสามารถในการเลือกสรร ประดิษฐ์และปรุงแต่ง อาหาร การถนอมอาหารให้เหมาะสมกับความต้องการของร่างกายในสภาวการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนอาหาร พื้นบ้านในท้องถิ่นต่าง ๆ ผลิตเป็นสินค้าและบริการส่งออกได้รับความนิยมแพร่หลายมาก เนื่องจากอาหาร ไทยเป็นที่ยอมรับว่ามีรสชาติความอร่อย มีคุณค่าทางโภชนาการ อีกทั้งมีการตกแต่งอย่าง
  • 4. สวยงาม ประณีต ก็เป็นภูมิปัญญาอีกอย่างหนึ่งที่ทาให้อาหารดูน่ารับประทานยิ่งขึ้น จึงทาให้อาหารไทย ได้รับความนิยมไปทั่วโลก นับเป็นภูมิปัญญาประเภทหนึ่งที่สามารถบ่งบอกความเป็นไทยได้เป็นอย่างดี สรุปได้ว่า การจาแนกภูมิปัญญาท้องถิ่นตามเนื้อหา สามารถจาแนกเป็น 9 สาขา คือ สาขา เกษตรกรรม สาขาหัตถกรรมและอุตสาหกรรม สาขาแพทย์แผนไทย สาขาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม สาขาการจัดการธุรกิจชุมชนและสวัสดิการ สาขาศิลปกรรม สาขาภาษาและ วรรณกรรม สาขาปรัชญา ศาสนาและประเพณี และสาขาอาหารและโภชนาการ 3. จาแนกตามแหล่งสารสนเทศ จาแนกแหล่งสารสนเทศตามประเภทสถาบัน ประเภทบุคคล และบนอินเทอร์เน็ต (ฉวีลักษณ์ บุณยะกาญจน และน้าทิพย์ วิภาวิน. 2554 : 1-17-1-18) ดังนี้ 3.1 แหล่งสารสนเทศท้องถิ่นประเภทสถาบัน ได้แก่ สถาบันที่มีหน้าที่หลักในการ รวบรวมองค์ความรู้ และจัดบริการเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ของท้องถิ่น ประกอบด้วย ห้องสมุด พิพิธภัณฑ์ สถานศึกษา ศาสนสถาน ศูนย์วัฒนธรรม ศูนย์กีฬาและนันทนาการ ศูนย์ศึกษา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศูนย์ศึกษาการเกษตร และสถานที่สาคัญในท้องถิ่น ดังนี้ 3.1.1 ห้องสมุด ศูนย์ข้อมูลท้องถิ่น ศูนย์การเรียนรู้ ได้แก่ สื่อการเรียนรู้ที่อยู่ในรูปสื่อ สิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ และสื่อดิจิทัล ห้องสมุดหรือศูนย์ข้อมูลท้องถิ่น หมายถึง ศูนย์รวมความรู้ท้องถิ่นที่มีการจัดการ ทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่น อาทิ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ และสื่อดิจิทัล มีการวิเคราะห์สารสนเทศและ จัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ มีการบริการและเผยแพร่ความรู้อย่างต่อเนื่องตามประเภทของ ห้องสมุด ได้แก่ ห้องสมุดประชาชน ห้องสมุดเฉพาะ ห้องสมุดมหาวิทยาลัย ห้องสมุดโรงเรียน และ ห้องสมุดประจาบ้านหรือห้องสมุดส่วนตัว ศูนย์การเรียนรู้ หมายถึง สถานที่ที่เป็นศูนย์กลางการจัดการเรียนรู้ของท้องถิ่น มี กิจกรรมการแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ และการฝึกปฏิบัติการโดยบุคคลในท้องถิ่นมีส่วนร่วมใน กระบวนการเรียนรู้ เน้นการใช้สื่อบุคคล ตัวอย่างเช่น ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน ศูนย์ข้อมูลท้องถิ่น เป็นต้น
  • 5. 3.1.2 ศูนย์วัฒนธรรม พิพิธภัณฑ์ จากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พิพิธภัณฑ์ หมายถึง สถานที่เก็บรวบรวมและ แสดงสิ่งต่าง ๆ ที่มีความสาคัญด้านวัฒนธรรมหรือด้านวิทยาศาสตร์ โดยมีความมุ่งหมายเพื่อให้เป็น ประโยชน์ต่อการศึกษา และก่อให้เกิดความเพลิดเพลินใจ (ราชบัณฑิตยสถาน. 2556 : 836) พิพิธภัณฑ์สถาน มีหน้าที่ในการอนุรักษ์หลักฐานทางมรดกวัฒนธรรม เพื่อประโยชน์ ต่อการศึกษา มีหน้าที่เสริมความรู้ให้แก่บุคคลทั่วไป พร้อมด้วยการอนุรักษ์มีการพัฒนาคุณภาพและ ประสานกับสถานศึกษาในทุกระดับ สื่อที่เกี่ยวข้องในการสะท้อนภาพภูมิปัญญาไทยตามช่วงเวลาและท้องถิ่น ได้แก่ วัสดุ จริงที่เป็นภาชนะสาหรับใส่ข้าวเหนียวนึ่ง เรียกว่า ก่องข้าว และกระติบ เป็นภาชนะที่ทาใช้กันในกลุ่มชน ที่บริโภคข้าวเหนียวในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และกลุ่มชนที่บริโภคข้าวเหนียวซึ่งกระจายอยู่ ในท้องถิ่นต่าง ๆ ในภาคกลาง กรรมวิธีการสานและรูปแบบของก่องข้าวและกระติบจะต่างกันไปตาม ค่านิยมทางความงามแต่ละกลุ่มชน 3.1.3 ศูนย์ข้อมูลเฉพาะด้านในสื่อมวลชน ชุมชน และท้องถิ่นนั้น ๆ ได้แก่ รายการโทรทัศน์ วิทยุ การบริการข่าวสารในรูปแบบอื่น การจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวของท้องถิ่น การ ถ่ายทอดวัฒนธรรมชุมชน เช่น ตลาดน้า การจัดนิทรรศการในสถานที่จริง เป็นต้น 3.2 แหล่งสารสนเทศท้องถิ่นประเภทบุคคล ได้แก่ ผู้รู้ ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ ท้องถิ่น ผู้ที่มีความรู้เกี่ยวกับท้องถิ่นนั้น เป็นบุคคลที่มีความรู้ประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านจะ เป็นที่ยอมรับของวงวิชาการและสังคม รวมถึงบุคคลที่เป็นผู้นาชุมชน ครู พระ ปราชญ์ชาวบ้าน ศิลปิน แห่งชาติ และผู้บริหารการปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นการนาศักยภาพของคนในท้องถิ่น ผู้นาและปราชญ์ ท้องถิ่นให้มีโอกาสแสดงศักยภาพด้านภูมิปัญญาและพัฒนาความรู้ความสามารถได้อย่างเต็มที่ เพื่อให้ สัมพันธ์กับการศึกษาในระบบ และส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัยอันจะนาไปสู่การ อนุรักษ์ สร้างสรรค์ พัฒนาคนให้สืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น และต่อยอดองค์ความรู้ 3.3 แหล่งสารสนเทศท้องถิ่นบนอินเทอร์เน็ต ได้แก่ ฐานข้อมูลสารสนเทศท้องถิ่นและเว็บไซต์ สารสนเทศท้องถิ่น ได้แก่ ไฟล์ดิจิทัลที่เผยแพร่ผ่านอินเทอร์เน็ต และฐานข้อมูลการจัดการระบบ สารสนเทศท้องถิ่น ประกอบด้วย ฐานข้อมูลสารสนเทศท้องถิ่นเฉพาะเรื่องที่จัดทาขึ้นโดยหน่วยงานใด หน่วยงานหนึ่งเป็นการจัดทาในระดับหน่วยงาน และฐานข้อมูลสารสนเทศท้องถิ่นที่ร่วมกันจัดทาใน ลักษณะเครือข่าย อาทิ ระดับภูมิภาค ระดับจังหวัด ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ