SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 30
Baixar para ler offline
การวิเคราะห์ข้อมูลจาก
สถานการณ์จริง
และแปรผลข้อมูล สำหรับงาน
วิจัยด้านการบริหารการศึกษา
Damrong Tumthong, Ph.D.
คะแนนช่วงที่ 2 คิดเป็นร้อยละ 50%
คะแนนสอบปลายภาค 25 คะแนน
คะแนน จิตพิสัย 5 คะแนน
คะแนน Concept Paper 15 คะแนน (ไม่เกิน 20 หน้า) พร้อมนำ
เสนอ
คะแนนแบบฝึกหัด 5 คะแนน
กระบวนทัศน์ในการวิจัย (Research Paradigm)
กระบวนทัศน์ในการวิจัย
ธรรมชาติของความจริงคืออะไร
1.
2. วิธีการที่นักวิจัยที่จะใช้แสวงหาความจริง
คืออะไร
อธิบายการเปลี่ยนแปลงกระบวนการ
(Paradigm Shift) กล่าวว่า เมื่อกระบวน
ทัศน์เกี่ยวกับโลกเปลี่ยนแปลง จะทำให้เกิด
คำถามใหม่ในการค้นคว้าหาความรู้ และเมื่อ
คำถามเปลี่ยน ข้อมูลที่ต้องการตอบคำถาม
เปลี่ยนไปในที่สุดจะนำไปสู่การค้นพบความ
รู้ใหม่ ๆ
Thomas Kuhn นักฟิสิกส์ เสนอ
เกี่ยวกับมโนทัศน์ เรื่อง กระบวน
ทัศน์ หนังสือเรื่อง "The
structure of Scientific
Revolution" 1962
ปรัชญากระบวนทัศน์ในการวิจัย
ภววิทยา (Ontology) ธรรมชาติของความจริง
(Nature of reality)
ญาณวิทยา (Epismology) วิธีแสวงหาความ
จริง และ ลักษณะของความจริง หรือความรู้เป็น
อย่างไร
Vs นัยนิยม (Interpretism)
ปฏิฐานนิยม (Positivism)
Objective
Subjective
Quantitative
Qualitative
การวิเคราะห์ข้อมูล
กระบวนการจัดทำข้อมูลดิบให้เป็นข้อมูลสารสนเทศสำหรับ
ตอบคำถามการวิจัย กระบวนการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบ
ด้วยการจัดกระทำข้อมูลดิบ โดยการแยกแยะข้อมูล จัดกลุ่ม
ข้อมูล คำนวณค่าสถิติต่าง ๆ เชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่าง
ตัวแปร ทดสอบสมมติฐาน แปลความหมาย และสรุปผลเพื่อ
ตอบคำถามวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูลมีหลักการแนวคิด
1.ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล
1) รวบรวมข้อมูลดิบ (Raw Data)
2) บรรณาธิกรข้อมูล (Data Editing)
3) เตรียมแฟ้มข้อมูลและลงรหัสข้อมูล
(Data Coding)
ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล
1.
4.1) กำหนดเป้าหมายของการวิเคราะห์
และเลือกสถิติวิเคราะห์
4.2) ใช้คอมพิวเตอร์ทำการวิเคราะห์ข้อมูล
คำนวณค่าสถิติต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
4) วิเคราะห์ข้อมูล (Data Analyzing)
4.3) แปลความหมายและนำเสนอผลการวิเคราะห์
รวบรวมข้อมูลดิบ
(Raw Data)
บรรณาธิการ
ข้อมูล
(Data Editing)
เตรียมแฟ้มข้อมูล
และลงรหัสข้อมูล
(Data Coding)
วิเคราะห์ข้อมูล
(Data Analying)
-การสอบถาม
-การทดสอบ
-การสัมภาษณ์
-การสังเกต
-การประเมิน
-การสนทนากลุ่ม
-การจดบันทึกจากแหล่งทุติยภูมิ
กำหนดเป้าหมายของการวิเคราะห์และเลือกสถิติวิเคราะห์
หลักการวิเคราะห์ข้อมูล
ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับวิเคราาะห์ข้อมูลเพื่อ
คำนวณค่าสถิติต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
แปลความหมายและนำเสนอผลการวิเคราะห์
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
(Quantitative Data Analysis)
Scale of measurements
Ordinal Scale (จัดอันดับ)
Ratio Scale (อัตราส่วน)
Nominal Scale (นามบัญญัติ)
Interval Scale (อันตรภาคชั้น)
เช่น เพศ (ชาย หญิง) เชื้อชาติ สถานภาพสมรส เลขที่บ้าน
เช่น ระดับการศึกษา ระดับชั้นเรียน
เช่น อุณหภูมิ วันในปฏิทิน ความสูงจากระดับน้ำทะเล คะแนน
เช่น ความสูง ความยาว น้ำหนัก รายได้
ประเภทสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล
1) สถิติเชิงบรรยาย (Descriptive Statistic)
2) สถิติสรุปอ้างอิง (Inferential Statistic)
เป็นสถิติบรรยายถึงสภาพของประชากร หรือกลุ่มตัวอย่าง
เช่น จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
เป็นสถิติที่คำนวณจากกลุ่มตัวอย่าง (Sample) เพื่ออ้างอิง
สรุปผลไปยัง ค่าพารามิเตอร์ (Paramiters) ของประชากร
(Population) เช่น Z, t, F
(ทิพย์สิริ กาญจนวาสี และ ศิริชัย กาญจนวาสี, 2564)
ประเภทของสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล
(ทิพย์สิริ กาญจนวาสี และ ศิริชัย กาญจนวาสี, 2564: 199 ; พูลพงศ์ สุขสว่าง, 2564)
Nominal Scale
1. 2. Ordinal Scale
(ล้วน สายยศ และ อังคณา สายยศ, 2538: 224 -225)
One Sample case ใช้ Binomial Test
One-Sample case แบบRelated
Sample ใช้ McNemar Test
Two Sample Case ใช้ แบบ
Independent Sample ใช้ Fisher exac
probability test
One Sample case ใช้เทคนิค
Kolmogorov-Smirnov One
Sample Test
มากกว่า 2 กลุ่ม เป็นลักษณะ
Independent Sample ใช้แบบ K
independent Sample
Two Sample case ชนิด Related
หรือ Dependent Sample ใช้ Sign
Test หรือ Wilcoxon Matched-
Pairs signed ranks test
มากกว่า 2 กลุ่มใช้ Friedman Test,
Kruskal - Walis one way analysis
Two-Sample Case ชนิด
Independent Samples ใช้เทคนิค
Median Test, Man Whitney U
test
3. Interval Scale 4. Ratio Scale
(ล้วน สายยศ และ อังคณา สายยศ, 2538: 224 -225)
เทคนิคเดียวกับ Interval Scale
One Sample T-test
Dependent Sample T-
test
Independent Sample
T-test
ANOVA
Correlation
โปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
Jamovi
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
(Qualitative Data Analysis)
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
เป็นการจัดระบบจำแนกข้อมูลเกี่ยวกับปรากฎการณ์ทางสังคมหรือปรากฎ
การณ์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้เกิดความเข้าใจ สามารถอธิบายสาเหตุการเกิด
และการเปลี่ยนแปลงของปรากฏการณ์ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่าง
ปรากฏการณ์ นั้น ๆ ภายใต้เงื่อนไข สิ่งแวดล้อม (Context) บองสภาพทาง
สังคมชุมชนและวัฒนธรรมนั้น ๆ ซึ่งจะเห็นว่า การวิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัยเชิง
คุณภาพ มุ่งอธิบายความสัมพันธ์ของปรากฏการณ์ หรือตัวแปร เช่นเดียวกับ
งานวิจัยเชิงปริมาณ แต่จุดแตกต่างคือ งานวิจัยเชิงคุณภาพมุ่งเน้นอธิบาย
ความสัมพันธ์ภายใต้เงื่อนไขแวดล้อมหรือบริบทใดบริบทหนึ่ง
รัตนะ บัวสนธ์ (2560: 138)
สุภางค์ จันทวานิช (2540: 10-11 อ้างถึงใน รัตนะ บัวสนธ์,2560: 138)
เงื่อนไข
สามารถวิเคราะห์ข้อมูลพร้อมๆ กับการเก็บรวบรวมข้อมูล
1.
2. การวิเคราะห์ข้อมูลต้องมีข้อมูลจากมุมมองของคนใน
3. การวิเคราะห์ข้อมูลอาศัยสมมติฐานชั่วคราว
4. ผู้วิจัยเป็นผู้วิเคราะห์ข้อมูลด้วยตนเอง
เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูล
1) การจำแนกและจัดระบบข้อมูล (Typology and Taxnomy)
2) การวิเคราะห์สรุปอุปนัย (Analytic induction)
3) การเปรียบเทียบเหตุการณ์ (Constant Comparison)
4) การวิเคราะห์ส่วนประกอบ (Componential Analysis)
เน้นการจำแนกหมวดหมู่ปรากฏการณ์ และจัดปรากฏการณ์ออกเป็นกลุ่ม ๆ
เป็นการสร้างบทสรุปที่มีลักษณะนามธรรมโดยอาศัยข้อมูลรูปธรรมหลาย ๆ ส่วน
ค้นหาคุณสมบัติส่วนประกอบที่มีความหมายของข้อมูลแต่ละชุดแล้วนำมาเปรียบ
เทียบแล้วเขียนบรรยายสรุป
เป็นการเปรียบเทียบหาคุณลักษณะที่เหมือนกันและแตกต่างกันของข้อมูลเหตุการณ์
งานวิจัยทฤษฎีฐานราก (Grounded Theory)
เน้นกระบวนการที่เป็นระบบ (Systematic Procedure) ซึ่งเป็นแนวทางของ Strauss and Corbin’s
grounded theory (2014)
แนวทางดังกล่าวนี้ มุ่งเน้นที่จะมีการทบทวนวรรณกรรมหรือปรากฎการณ์ที่สนใจเสียก่อนเพื่อค้นคนหา
ช่องว่างของความรู้ (gap of Knowledge) และใช้เป็นแนวทางในการตั้งคำถามของการวิจัยโดยดำเนินการ
สร้างกระบวนการใส่รหัส (Coding) กระบวนการเลือกกลุ่มตัวอย่าง (sample procedures) และการ
วิเคราะห์แบบ Conditional Matrix เพื่อใช้แนวทางในการค้นหาภาพจริงที่เป็นตัวแทน (visual
representation) ของปรากฏการณ์ที่ศึกษา เช่นดำเนินการ ทบทวนวรรณกรรมจากนั้น ตั้งคำถามการ
วิจัย ทำการเลือกกลุ่มตัวอย่างที่เหมาะสมเช่น ครูผู้ช่วยปฏิบัติหน้าที่มาแล้ว 1 ปี รวบรวมข้อมูลด้วยการ
สัมภาษณ์ สังเกต และทำการให้รหัส เพื่อจัดหมวดหมู่หลักที่เป็นการอธิบายตามคำถามการวิจัยที่ตั้งไว้
โดยกำหนดรหัสข้อมูล (Codes) จากคำถาม (Questions) และ จัดกลุ่มรหัสข้อมูลอยู่ใน
กลุ่มต่าง ๆ จากนั้นกำหนดทีม (themes) ภายใต้วัตถุประสงค์การวิจัย และมีการ
วิเคราะห์เครือข่าย (Network) ของรหัสข้อมูลด้วย
3) กระบวนการกำหนดรหัสข้อมูล (Coding) ในโปรแกรมสำเร็จรูปประกอบไปด้วย
1) ระยะการแยกตัวได้แก่ การปรับตัว ระเบียบการแต่งตัว การสละความเป็นตนเอง
2) ระยะการเปลี่ยนผ่าน ได้แก่ กิจกรรมส่งเสริมความเป็นครู พิธีกรรมการประเมินครู
พิธีกรรมการสังเกตการสอนและการฝึกสอน พิธีกรรมการปฐมนิเทศ และพิธีกรรมการรับ
น้องในสาขาวิชา
3) ระยะเปลี่ยนสถานะ ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงในความรู้สึกต่อความเป็นครู การ
เปลี่ยนแปลงตำแหน่งหน้าที่ครู และการสำเร็จการศึกษา
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยโปรแกรม Atlast ti
การสร้างแฟ้มข้อมูล
1.
2. การกำหนด CODE
1) ระยะแยกตัว
-การแต่งตัว
-การปรับตัว
-การสละความเป็นตัวตน
-ระเบียบการแต่งตัว
2. การกำหนด CODE
2) ระยะเปลี่ยนผ่าน
-กิจกรรมส่งเสริมความเป็นครู
-พิธีกรรมการประเมินครู
-พิธีกรรมสังเกตการสอน
-พิธีกรรมการปฐมนิเทศ
-พิธีกรรมรับน้อง
3) ระยะเปลี่ยนสถานะ
-การเปลี่ยนแปลงตำแหน่งหน้าที่ครู
-การสำเร็จการศึกษา
-พิธีกรรมการปฐมนิเทศ
-พิธีกรรมรับน้อง
2. การกำหนด CODE
3. การสร้าง Network

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a การวิเคราะห์ข้อมูลจากสถานการณ์จริงและแปลผลจากการวิจัย.pdf

วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณวิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณSaiiew
 
อีกหนึ่งตัวอย่างงานนำเสนอ ของ อ.อธิพงษ์
อีกหนึ่งตัวอย่างงานนำเสนอ ของ อ.อธิพงษ์ อีกหนึ่งตัวอย่างงานนำเสนอ ของ อ.อธิพงษ์
อีกหนึ่งตัวอย่างงานนำเสนอ ของ อ.อธิพงษ์ บังอร บัวพิทักษ์
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนsalinkarn sampim
 
เทคนิคการวิเคราะห์อภิมานด้วยโมเดลสมการเชิงโครงสร้าง
เทคนิคการวิเคราะห์อภิมานด้วยโมเดลสมการเชิงโครงสร้างเทคนิคการวิเคราะห์อภิมานด้วยโมเดลสมการเชิงโครงสร้าง
เทคนิคการวิเคราะห์อภิมานด้วยโมเดลสมการเชิงโครงสร้างTwatchai Tangutairuang
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณtanongsak
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2chaiwat vichianchai
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)kaew393
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)kaew393
 
เอกสารบรรยาย เรื่อง แนวทางการใช้สถิติเพื่อการวิจัยทางการศึกษาและการใช้คอมพิวเ...
เอกสารบรรยาย เรื่อง แนวทางการใช้สถิติเพื่อการวิจัยทางการศึกษาและการใช้คอมพิวเ...เอกสารบรรยาย เรื่อง แนวทางการใช้สถิติเพื่อการวิจัยทางการศึกษาและการใช้คอมพิวเ...
เอกสารบรรยาย เรื่อง แนวทางการใช้สถิติเพื่อการวิจัยทางการศึกษาและการใช้คอมพิวเ...ชวนพบ เอี่ยวสานุรักษ์
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยsudaphud
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยChamada Rinzine
 

Semelhante a การวิเคราะห์ข้อมูลจากสถานการณ์จริงและแปลผลจากการวิจัย.pdf (20)

Systematic Reviews
Systematic ReviewsSystematic Reviews
Systematic Reviews
 
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณวิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
 
อีกหนึ่งตัวอย่างงานนำเสนอ ของ อ.อธิพงษ์
อีกหนึ่งตัวอย่างงานนำเสนอ ของ อ.อธิพงษ์ อีกหนึ่งตัวอย่างงานนำเสนอ ของ อ.อธิพงษ์
อีกหนึ่งตัวอย่างงานนำเสนอ ของ อ.อธิพงษ์
 
2222
22222222
2222
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
Process
ProcessProcess
Process
 
Week 8 conceptual_framework
Week 8 conceptual_frameworkWeek 8 conceptual_framework
Week 8 conceptual_framework
 
เทคนิคการวิเคราะห์อภิมานด้วยโมเดลสมการเชิงโครงสร้าง
เทคนิคการวิเคราะห์อภิมานด้วยโมเดลสมการเชิงโครงสร้างเทคนิคการวิเคราะห์อภิมานด้วยโมเดลสมการเชิงโครงสร้าง
เทคนิคการวิเคราะห์อภิมานด้วยโมเดลสมการเชิงโครงสร้าง
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
maisooree
maisooreemaisooree
maisooree
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
 
Evidence-Based Medicine: Systematic Reviews
Evidence-Based Medicine: Systematic ReviewsEvidence-Based Medicine: Systematic Reviews
Evidence-Based Medicine: Systematic Reviews
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
Research10 sample selection
Research10 sample selectionResearch10 sample selection
Research10 sample selection
 
เอกสารบรรยาย เรื่อง แนวทางการใช้สถิติเพื่อการวิจัยทางการศึกษาและการใช้คอมพิวเ...
เอกสารบรรยาย เรื่อง แนวทางการใช้สถิติเพื่อการวิจัยทางการศึกษาและการใช้คอมพิวเ...เอกสารบรรยาย เรื่อง แนวทางการใช้สถิติเพื่อการวิจัยทางการศึกษาและการใช้คอมพิวเ...
เอกสารบรรยาย เรื่อง แนวทางการใช้สถิติเพื่อการวิจัยทางการศึกษาและการใช้คอมพิวเ...
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 
Sh 20130606104049[1]
Sh 20130606104049[1]Sh 20130606104049[1]
Sh 20130606104049[1]
 

การวิเคราะห์ข้อมูลจากสถานการณ์จริงและแปลผลจากการวิจัย.pdf