SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 37
Baixar para ler offline
“ ”
“ “ ””
“ ”
“ ”
“ ”
“ ”
“ ”
“ ”
“ ”
“ ”
“ ”
ความไม่เข้าใจการใช้คา การใช้ภาษา
ความไม่เข้าใจการใช้คา การใช้ภาษา ซึ่ง
เป็นที่นิยมยอมรับของเจ้าของภาษาว่า ไม่
สามารถเปิดหาความหมายจากพจนานุกรม
มาใช้แทนกันได้ ถ้าแปลเป็นศัพท์และวิธีใช้
ศัพท์ในภาษาของผู้เรียนแล้ว นามาใช้กับ
ภาษาไทย ก็น่าจะเป็นเรื่องตลก เช่น คาใน
ภาษาไทย คาว่า “ล้าง” “อาบน้า” “สระผม”
ในภาษาอังกฤษใช้ wash แทนได้ แม้ว่าเขา
จะรู้ว่ามีคาอื่นที่ใช้ได้อีก เช่น take a bath,
shampoo ก็ตาม แต่เขาก็พอใช้แทนกันได้
ในภาษาไทยเราไม่สามารถใช้แทนกันได้
C.A. (Contrastive Analysis) ในทางปฏิบัติ (ต่อ)
แต่สาหรับผู้สอนที่คาดหมายผู้เรียนไม่ได้ หรือมีผู้เรียนคละกันหลาย
ภาษาในชั้นเดียว ย่อมต้องระมัดระวังข้อได้เปรียบเสียเปรียบที่จะเกิดขึ้น
ทั้งนี้ การใช้ C.A.ไทย – อังกฤษ อาจทาให้ผู้เรียนที่ไม่พูดภาษาอังกฤษรู้สึก
ต่อต้านได้ เพราะแม้เพียงการให้คาแปลศัพท์เป็นภาษาอังกฤษหรือผู้สอน
เผลอใช้ภาษาอังกฤษมากไป ก็ทาให้ผู้เรียนชาวญี่ปุ่นเกาศีรษะได้ หรืออาจมี
ความรู้สึกขัดแย้งขึ้นมาว่า “ครูละเลย มิหนายังเอาภาระมาใส่หัวฉัน ให้ฉัน
ต้องรู้ศัพท์ภาษาอังกฤษเพิ่มเข้ามาอีก” การทาความเข้าใจลักษณะ
ภาษาไทย จึงดีกว่าการทา C.A. ในกรณีเช่นนี้
C.A. (Contrastive Analysis) ในทางปฏิบัติ (ต่อ)
ดังนั้น การที่ผู้สอนบรรยายถึงลักษณะภาษาไทย ซึ่งเป็น
ภาษาเป้าหมายของผู้เรียนทุกคนในชั้นเรียนจึงเป็นกลางที่สุด และ
ง่ายแก่ผู้สอนที่สุด เพราะจะให้ผู้สอนทา C.A. ทุกภาษาของผู้เรียน
ก็คงไม่ได้เริ่มการสอนตามเวลาเป็นแน่
C.A. (Contrastive Analysis) ในทางปฏิบัติ
ในทางปฏิบัติผู้ที่จะสอนภาษาไทยให้กับชาวต่างประเทศ ต้องทราบ
ล่วงหน้าเพื่อมีเวลาในการเตรียมตัวและรู้แน่ชัดว่า ผู้เรียนนั้นเป็นผู้พูดภาษา
ใด เพื่อที่จะได้ศึกษาการวิเคราะห์ความแตกต่างของภาษาแม่กับ
ภาษาเป้าหมาย (Contrastive Analysis) หรือ C.A. ของภาษานั้นๆ ที่มี
ผู้ทาไว้ หรือถ้าไม่มีก็ควรทาวิจัยด้วยตนเอง เช่น เมื่อทราบว่าต้องไปสอน
ผู้เรียนประเทศเกาหลี มหาวิทยาลัยปูซาน ผู้สอนต้องเตรียม C.A.
ภาษาไทย – เกาหลี หรืออ่านงานวิทยานิพนธ์ของผู้วิจัยที่ศึกษาไว้ เช่น
ของซูเคียง แบ เป็นต้น แล้วหลังจากนั้นเริ่มทาแบบฝึกไว้ล่วงหน้า
ความเหมือนกันของภาษา
ภาษาเป็นเครื่องมือแสดงความคิดของคน และความเป็นคนนั้นก็
ย่อมมีความเหมือนกันบ้างทางแนวคิด ด้วยเหตุนี้จึงทาให้ภาษาของคนแต่
ละชาติ นอกจากจะมีความต่างกันแล้ว ยังมีความเหมือนกันอีกด้วย ทั้ง
ลักษณะของภาษาที่เป็นสากล (Linguistic Universal) กับลักษณะของ
ภาษาที่เป็นเอกลักษณ์ (Uniqueness of Language) และเพื่อเป็น
ประโยชน์และเป็นพื้นฐานความคิดของผู้สอนภาษาไทยให้ก่ผู้เรียนชาว
ต่างประเทศ ควรที่จะศึกษาลึกลงไปในรายละเอียดถึงความแตกต่างของ
ภาษาไทยกับภาษาแม่ของผู้เรียน
ความเหมือนกันของภาษา (ต่อ)
โดยอาศัยหลักวิชาการที่เรียกว่า C.A. คือ การศึกษาเปรียบเทียบ
ความแตกต่างของภาษาแม่กับภาษาเป้าหมาย (Contrastive Analysis)
ย่อมเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการสอนภาษาไทย และถ้าหาเวลาทางาน
วิจัยเองไม่ได้ ก็เพียงใช้เวลาทาความเข้าใจความเป็นสากลของภาษา และ
ความเป็นเอกลักษณ์ของภาษาไทยให้เข้าใจ แล้วจึงจัดเตรียมบทชี้นา
เบื้องต้นให้ผู้เรียน ก่อนที่ที่จะได้เริ่มต้นเรียนภาษาไทย ทั้งนี้ผู้เรียนจะได้มี
กรอบแห่งจินตภาพล่วงหน้าถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นในการเรียนภาษาไทย ทั้งที่
ความรู้เก่าจากภาษาแม่ที่นามาใช้ได้และความรู้ใหม่ที่จะต้องเรียนรู้ในการ
เรียนภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
ภาษาไทยมีลักษณะหลาย
อย่างที่แปลกไปจากภาษาอื่น ซึ่ง
สะท้อนให้ครูสอนภาษาไทยในฐานะ
ภาษาต่างประเทศ ได้เห็นถึงภาษาไทย
ในมุมมองของชาวต่างประเทศ ซึ่ง
ลักษณะภาษาไทยที่สาคัญ ที่ผู้เรียน
ภาษาไทยในฐานะ ชาวต่างประเทศ
ต้องเตรียมใจรับ คือ
ลักษณะภาษาไทย (ต่อ)
๑. ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีเสียงขึ้นลง หรือมีเสียงวรรณยุกต์เป็นสาคัญ
(Tonal Language) ซึ่งเรื่องเสียงวรรณยุกต์นี้ถือว่าเป็นจุดยากที่สุดของ
ภาษา จึงมีการอธิบายลักษณะเสียงโดยเขียนเป็นเส้นกราฟ แสดงจุดเริ่มต้น
และเส้นขึ้นลงของเสียงไว้ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนภาษาไทยที่ไม่คุ้นกับการออก
เสียงวรรณยุกต์ได้ออกเสียงตาม
Mary R. Hass ได้แสดงเส้นระดับเสียงและการขึ้นลงของเสียง
วรรณยุกต์ไทย โดยแบ่งเป็น ๕ แบบ แต่ยังทาให้ผู้เรียนชาวต่างประเทศ
ประสบปัญหาการออกเสียงวรรณยุกต์มาก แม้จะอยู่เมืองไทยนาน ถ้าไม่เอา
จริงก็จะพูดภาษาไทยยานๆ แบบรักษาศูนย์กลางเอาไว้ มีผู้เรียนที่เก่งศัพท์
พูดคาว่า “ขวยเขิน” แต่กลับพูดออกเสียงไม่ถูกเป็น “ควยเคิน” ซึ่งเห็นได้
ว่าการที่จะพูดออกเสียงภาษาไทยได้ถูกต้องนั้น จาเป็นต้องฝึกฝนอย่าง
จริงจัง
๒. ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีเสียงสั้น – ยาว และมีเสียงท้ายที่สาคัญต่อความหมาย
ภาษาจีนได้ชื่อว่าเป็นภาษาที่มีเสียงขึ้นลงเหมือนภาษาไทย แต่ความยากที่คนจีน
ออกเสียงไม่เป็นไทยก็คือ เสียงสั้นยาว และเสียงพยัญชนะท้าย ตัวอย่างเช่น สถา
บาน จบจักจูฬา ดีจาย ภาษาทาย อาคาร เป็นต้น
ลักษณะภาษาไทย (ต่อ)
เสียงพยัญชนะท้ายของไทยมี ๘ เสียง ตามมาตราตัวสะกด ได้แก่ กง กน
กม เกย เกอว กก กด กบ จึงเป็นปัญหาสาหรับผู้เรียนที่ในภาษาแม่ไม่มีตัวสะกดที่
เหมือน หรือมีแต่ไม่สาคัญ อย่างเช่น ภาษาญี่ปุ่น มีตัวสะกดน้อยและเสียง กง กน
กม อาจออกเสียงทดแทนกันได้ โดยไม่มีความสาคัญต่อความหมาย เช่น คาว่า
“ประตู” จะออกเป็นม่อง ม่อม ม่อน ก็ได้ นอกจากนี้เสียงสั้นยาวก็สาคัญ คนญี่ปุ่น
มักเรียกคนไทยว่า คนตาย หรือเวลาสอนนักศึกษาหนุ่มๆ สอนคาว่า “ใส่นม” กับ
“ส่ายนม” พวกเขาจะจาขึ้นใจว่าต้องพูดเสียงสั้นยาวให้ถูกต้อง
๑ ไม่ลงน้าหนัก (Unstressed) พยางค์เปิดมักจะเป็นพยางค์ที่ไม่ลงน้าหนัก คา
ไวยากรณ์ก็ไม่ลงน้าหนัก รวมทั้งพยางค์ที่มีส่วนประกอบพยางค์ ซึ่งจะกลายเป็น
พยางค์เบาได้ ก็มักไม่ลงน้าหนัก เมื่อมีพยางค์ที่ลงน้าหนักมารับข้างท้ายเช่น คาว่า
“และ” “จะ” “กับ” “ที่” ตัวอย่างเช่น พ่อและแม่ ข้าวกับไข่ อยู่ที่บ้าน ช่างไม้ ไป
เที่ยว ฟังเขาว่า เงียบเสียเถอะ
ลักษณะภาษาไทย (ต่อ)
๓. ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีการลงและไม่ลงน้าหนักเสียง
ตาราของกาญจนา นาคสกุล (๒๕๔๑) แบ่งเป็น ๔ ระดับ คือ
ลักษณะภาษาไทย (ต่อ)
๒ การลงน้าหนัก (Stressed) คาที่ทาหน้าที่เป็นองค์ประกอบสาคัญของประโยค
เช่น เป็นประธานหรือกรรม เป็นคากริยา มักลงน้าหนัก แต่ถ้าคานั้นมีหลายพยางค์
บางพยางค์จะไม่ลงน้าหนัก ตัวอย่างเช่น
ความกตัญญูกตเวทีเป็นเครื่องหมายของคนดี
อะไรที่ควรเรียน ควรรู้ ก็เรียนรู้ไปเถิด
๓ การลงเสียงเน้นหนัก (Emphatic) หมายถึง จงใจออกเสียงเน้นบางพยางค์
ตัวอย่างเช่น
ขอดินสอแดง ไม่ใช่ดินสอดา
ฉันบอกให้เธอทาเดี๋ยวนี้
ลักษณะภาษาไทย (ต่อ)
๔ เน้นหนักพิเศษ (Intensified) เป็นการเน้นความหมายพิเศษหรือแสดง
อารมณ์ จึงอาจทาให้เสียงวรรณยุกต์ต่างจากปกติไปด้วย ตัวอย่างเช่น
ยุ๊ง ยุ่ง ! ดีใจ๊ ดีใจ! เธอนี่บ๊า บ้า
ลักษณะภาษาไทย (ต่อ)
๔. ภาษาไทยมีช่วงต่อของเสียงชิดและห่าง
ช่วงต่อชิด (close juncture) เช่น น้าเดือด สิบสอง แนะนา
ประพฤติ ไปบ้าน ปวดท้อง คนหนึ่ง
ช่วงต่อห่าง (open juncture) ช่วงต่อห่างต่างกัน ทาให้ความหมาย
เปลี่ยน
ตัวอย่างเช่น
รถบรรทุกของ + ไปตลาด
รถ + บรรทุกของไปตลาด
จะเอาข้าวคลุกกะปิ + ก็หมด
จะเอาข้าวคลุก + กะปิก็หมด
ลักษณะภาษาไทย (ต่อ)
๕. ภาษาไทยมีทานองเสียงขึ้นหรือตก ความจริงทานองเสียง (intonation)
ไม่ใช่ลักษณะสาคัญของภาษาไทย แต่ก็มีการใช้ทานองเสียง ๒ อย่างนี้ เพื่อ
ช่วยแสดงความหมายของประโยคคาถาม คาสั่ง คาตอบ อ้อนวอน สงสัย
ฯลฯ
ตัวอย่างเช่น
ทานองเสียงขึ้น ทาอะไรอยู่จ๊ะ (คาถาม)
ไปด้วยกันหน่อยนะ (คาสั่ง)
เขาจะมางานนี้หรือ (คาถาม)
ทานองเสียงตก ทาอะไรอยู่จ๊ะ (คาตอบ)
ไปด้วยกันหน่อยน่ะ (อ้อนวอน)
เขาจะมางานนี้หรือ (สงสัย)
ลักษณะภาษาไทย (ต่อ)
๖. ภาษาไทยใช้ลักษณะนาม ลักษณะนามเป็นเรื่องจาเป็นที่ต้องสอน และ
สอนแบบค่อยเป็นค่อยไป ไม่ใช่สอนในคราวเดียวอย่างที่เราสอนนักเรียนไทย
๗. ภาษาไทยมีบุรุษสรรพนาม บุรุษสรรพนามสาคัญต่อความสุภาพ การยก
ย่องให้เกียรติและชั้นของคนในสังคมด้านตาแหน่งหน้าที่การงาน อายุ เพศ
วัย ที่จะต้องใช้ให้เหมาะสม เป็นเรื่องที่ต้องสอนและฝึกใช้ให้ถูกต้อง
เช่นเดียวกับลักษณะนาม
ลักษณะภาษาไทย (ต่อ)
๘. ภาษาไทยมีคาราชาศัพท์หรือคาสุภาพ ด้วยเหตุนี้จึงมีเรื่องของคาภาษาต่างประเทศที่
เป็นพื้นฐานของภาษาไทยอันได้แก่ ภาษาบาลี สันสกฤต และภาษาเขมร เมื่อสอนใน
ระดับสูง ขั้นอ่านเขียนและศึกษาสังคมและวัฒนธรรมไทย ผู้เรียนจาต้องประสบกับความ
ยากของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยที่ใช้ในราชาศัพท์และคาสุภาพ ตลอดจนคาศัพท์
ต่างๆ ตัวอย่างเช่น
เมื่อพบคาว่า “นพ” แปลว่า เก้า ผู้เรียนก็อยากจะทราบให้ครบสิบ ก็เป็น
หน้าที่ของผู้สอนที่จะต้องจัดทาบทเรียนที่น่าสนใจ ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับเป้าหมายและเวลาใน
การเรียนของผู้เรียนว่าต้องการระดับความลึกซึ้งในการเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมไทย
มากน้อยเพียงใด
ลักษณะภาษาไทย (ต่อ)
๙. ภาษาไทยก็มีภาษาพูดและภาษาเขียน การใช้ภาษาตามจริงย่อมมี
ภาษาพูดเป็นจานวนมาก แต่ในบทอ่านและบทฟังได้ใช้ภาษาที่ปรับเป็น
ภาษาเขียนมากขึ้น เช่น คาว่า “นิดหน่อย” ใช้ในบทสนทนา แต่เมื่อใช้ใน
ภาษาเขียนใช้ คาว่า “เล็กน้อย” เป็นต้น
ลักษณะภาษาไทย (ต่อ)
๑๐. ภาษาไทยใช้การเรียงคาเพื่อเข้าประโยค ประโยคของไทยจะเรียงแบบ
ประธาน กริยา กรรม จะเห็นว่า ชาวต่างประเทศใช้ภาษาของเขา มีการ
เรียงคาขยายไว้หน้าคาที่ถูกขยาย ก็จะติดนิสัยมาทาเช่นเดียวกันในภาษา
ใหม่ที่เขาเรียนคือภาษาไทย ซึ่งถือว่าผิดไวยากรณ์ไทย ซึ่งผู้เรียนบอกว่า
เขาจะงงมากเมื่อคากริยามี ๒ คา แยกกันได้ และไม่รู้ว่าจะเอากรรมใดใส่ไว้
ตรงไหน เช่น เก็บ…….ไว้ โดยที่เขาจะเขียนว่า“ผมเก็บไว้สมุดในชักลิ้นโต๊ะ”
สรุปได้ว่า ลักษณะภาษาไทยเหล่านี้จึงเป็นเรื่องสาคัญที่ต้องเรียนรู้ และ
การเรียนแบบไวยากรณ์ที่ต้องแปลนั้นถือว่าล้าสมัย จะใช้ได้ดีก็ขึ้นอยู่
กับจุดประสงค์ที่จะชี้ให้เห็นลักษณะแตกต่างของภาษาไทยเท่านั้น
จบการนาเสนอ
ขอบคุณค่ะ

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยbambookruble
 
สำนวนสุภาษิต คำพังเพย
สำนวนสุภาษิต คำพังเพยสำนวนสุภาษิต คำพังเพย
สำนวนสุภาษิต คำพังเพย0856124557
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทยvp12052499
 
โครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำโครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำkruying pornprasartwittaya
 
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์คุณานนต์ ทองกรด
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยkruthai40
 
หน่วยที่๑
หน่วยที่๑หน่วยที่๑
หน่วยที่๑panjit
 
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย rattasath
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพกึม จันทิภา
 

Mais procurados (18)

Eng2550
Eng2550Eng2550
Eng2550
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
สำนวนสุภาษิต คำพังเพย
สำนวนสุภาษิต คำพังเพยสำนวนสุภาษิต คำพังเพย
สำนวนสุภาษิต คำพังเพย
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
โครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำโครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำ
 
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
หน่วยที่๑
หน่วยที่๑หน่วยที่๑
หน่วยที่๑
 
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
 
สุภาษิตไทย
สุภาษิตไทยสุภาษิตไทย
สุภาษิตไทย
 
Report
ReportReport
Report
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 
นุกูล
นุกูลนุกูล
นุกูล
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
thai Research
thai  Researchthai  Research
thai Research
 

Destaque

Seth Hutchinson - Progress Toward a Robotic Bat
Seth Hutchinson -  Progress Toward a Robotic BatSeth Hutchinson -  Progress Toward a Robotic Bat
Seth Hutchinson - Progress Toward a Robotic BatDaniel Huber
 
Escuela normal-experimental-de-el-fuerte
Escuela normal-experimental-de-el-fuerteEscuela normal-experimental-de-el-fuerte
Escuela normal-experimental-de-el-fuerteIren Santos
 
CurrencyManipulationAssignment
CurrencyManipulationAssignmentCurrencyManipulationAssignment
CurrencyManipulationAssignmentChelsea Williams
 
706 Steel Brochure '05 V2 lowres
706 Steel Brochure '05 V2 lowres706 Steel Brochure '05 V2 lowres
706 Steel Brochure '05 V2 lowresEnda Conboy
 
PBP_AnnualReport_2016_FINAL_PROOFED
PBP_AnnualReport_2016_FINAL_PROOFEDPBP_AnnualReport_2016_FINAL_PROOFED
PBP_AnnualReport_2016_FINAL_PROOFEDDavid Beasley
 
49C9D647-48FA-40AF-87FB-C9C33C8F1E79:Maranda
49C9D647-48FA-40AF-87FB-C9C33C8F1E79:Maranda49C9D647-48FA-40AF-87FB-C9C33C8F1E79:Maranda
49C9D647-48FA-40AF-87FB-C9C33C8F1E79:MarandaMaranda Patton
 
Funcións e compoñentes do S.O.
Funcións e compoñentes do S.O.Funcións e compoñentes do S.O.
Funcións e compoñentes do S.O.antonio freire
 
Before and After Belt Rd
Before and After Belt RdBefore and After Belt Rd
Before and After Belt RdIleana Schinder
 
College Retention Rate Research
College Retention Rate ResearchCollege Retention Rate Research
College Retention Rate ResearchQai Gordon
 
What’s new in version 5 of AskoziaPBX? - webinar 2016, English
What’s new in version 5 of AskoziaPBX? - webinar 2016, EnglishWhat’s new in version 5 of AskoziaPBX? - webinar 2016, English
What’s new in version 5 of AskoziaPBX? - webinar 2016, EnglishAskozia
 

Destaque (17)

Seth Hutchinson - Progress Toward a Robotic Bat
Seth Hutchinson -  Progress Toward a Robotic BatSeth Hutchinson -  Progress Toward a Robotic Bat
Seth Hutchinson - Progress Toward a Robotic Bat
 
Escuela normal-experimental-de-el-fuerte
Escuela normal-experimental-de-el-fuerteEscuela normal-experimental-de-el-fuerte
Escuela normal-experimental-de-el-fuerte
 
Resume
ResumeResume
Resume
 
CurrencyManipulationAssignment
CurrencyManipulationAssignmentCurrencyManipulationAssignment
CurrencyManipulationAssignment
 
Briick Resume
Briick ResumeBriick Resume
Briick Resume
 
ronald_cv
ronald_cvronald_cv
ronald_cv
 
706 Steel Brochure '05 V2 lowres
706 Steel Brochure '05 V2 lowres706 Steel Brochure '05 V2 lowres
706 Steel Brochure '05 V2 lowres
 
Psychology r
Psychology rPsychology r
Psychology r
 
Doc
DocDoc
Doc
 
PBP_AnnualReport_2016_FINAL_PROOFED
PBP_AnnualReport_2016_FINAL_PROOFEDPBP_AnnualReport_2016_FINAL_PROOFED
PBP_AnnualReport_2016_FINAL_PROOFED
 
49C9D647-48FA-40AF-87FB-C9C33C8F1E79:Maranda
49C9D647-48FA-40AF-87FB-C9C33C8F1E79:Maranda49C9D647-48FA-40AF-87FB-C9C33C8F1E79:Maranda
49C9D647-48FA-40AF-87FB-C9C33C8F1E79:Maranda
 
Primera reseña
Primera reseñaPrimera reseña
Primera reseña
 
Funcións e compoñentes do S.O.
Funcións e compoñentes do S.O.Funcións e compoñentes do S.O.
Funcións e compoñentes do S.O.
 
Before and After Belt Rd
Before and After Belt RdBefore and After Belt Rd
Before and After Belt Rd
 
College Retention Rate Research
College Retention Rate ResearchCollege Retention Rate Research
College Retention Rate Research
 
What’s new in version 5 of AskoziaPBX? - webinar 2016, English
What’s new in version 5 of AskoziaPBX? - webinar 2016, EnglishWhat’s new in version 5 of AskoziaPBX? - webinar 2016, English
What’s new in version 5 of AskoziaPBX? - webinar 2016, English
 
Ruby on Rails for beginners
Ruby on Rails for beginnersRuby on Rails for beginners
Ruby on Rails for beginners
 

Semelhante a กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.

หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษาsukuman139
 
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย Kun Cool Look Natt
 
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง 20 เมษายน 2562
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง 20 เมษายน 2562อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง 20 เมษายน 2562
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง 20 เมษายน 2562Visanu Euarchukiati
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยNook Kanokwan
 
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้องPiyarerk Bunkoson
 
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรกิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรkruthai40
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนmonnawan
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทยguestd57bc7
 
9789740333449
97897403334499789740333449
9789740333449CUPress
 
9789740329886
97897403298869789740329886
9789740329886CUPress
 

Semelhante a กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย. (20)

Unit 1
Unit 1Unit 1
Unit 1
 
2 004
2 0042 004
2 004
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
Unit 1 nouns & articles
Unit 1   nouns & articlesUnit 1   nouns & articles
Unit 1 nouns & articles
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทยใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง 20 เมษายน 2562
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง 20 เมษายน 2562อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง 20 เมษายน 2562
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง 20 เมษายน 2562
 
เล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทานเล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทาน
 
สุภาษิตไทย
สุภาษิตไทยสุภาษิตไทย
สุภาษิตไทย
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
 
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรกิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียน
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
9789740333449
97897403334499789740333449
9789740333449
 
Dictionary
DictionaryDictionary
Dictionary
 
9789740329886
97897403298869789740329886
9789740329886
 

กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.

  • 1.
  • 2.
  • 3.
  • 4.
  • 11.
  • 16.
  • 17. ความไม่เข้าใจการใช้คา การใช้ภาษา ความไม่เข้าใจการใช้คา การใช้ภาษา ซึ่ง เป็นที่นิยมยอมรับของเจ้าของภาษาว่า ไม่ สามารถเปิดหาความหมายจากพจนานุกรม มาใช้แทนกันได้ ถ้าแปลเป็นศัพท์และวิธีใช้ ศัพท์ในภาษาของผู้เรียนแล้ว นามาใช้กับ ภาษาไทย ก็น่าจะเป็นเรื่องตลก เช่น คาใน ภาษาไทย คาว่า “ล้าง” “อาบน้า” “สระผม” ในภาษาอังกฤษใช้ wash แทนได้ แม้ว่าเขา จะรู้ว่ามีคาอื่นที่ใช้ได้อีก เช่น take a bath, shampoo ก็ตาม แต่เขาก็พอใช้แทนกันได้ ในภาษาไทยเราไม่สามารถใช้แทนกันได้
  • 18. C.A. (Contrastive Analysis) ในทางปฏิบัติ (ต่อ) แต่สาหรับผู้สอนที่คาดหมายผู้เรียนไม่ได้ หรือมีผู้เรียนคละกันหลาย ภาษาในชั้นเดียว ย่อมต้องระมัดระวังข้อได้เปรียบเสียเปรียบที่จะเกิดขึ้น ทั้งนี้ การใช้ C.A.ไทย – อังกฤษ อาจทาให้ผู้เรียนที่ไม่พูดภาษาอังกฤษรู้สึก ต่อต้านได้ เพราะแม้เพียงการให้คาแปลศัพท์เป็นภาษาอังกฤษหรือผู้สอน เผลอใช้ภาษาอังกฤษมากไป ก็ทาให้ผู้เรียนชาวญี่ปุ่นเกาศีรษะได้ หรืออาจมี ความรู้สึกขัดแย้งขึ้นมาว่า “ครูละเลย มิหนายังเอาภาระมาใส่หัวฉัน ให้ฉัน ต้องรู้ศัพท์ภาษาอังกฤษเพิ่มเข้ามาอีก” การทาความเข้าใจลักษณะ ภาษาไทย จึงดีกว่าการทา C.A. ในกรณีเช่นนี้
  • 19. C.A. (Contrastive Analysis) ในทางปฏิบัติ (ต่อ) ดังนั้น การที่ผู้สอนบรรยายถึงลักษณะภาษาไทย ซึ่งเป็น ภาษาเป้าหมายของผู้เรียนทุกคนในชั้นเรียนจึงเป็นกลางที่สุด และ ง่ายแก่ผู้สอนที่สุด เพราะจะให้ผู้สอนทา C.A. ทุกภาษาของผู้เรียน ก็คงไม่ได้เริ่มการสอนตามเวลาเป็นแน่
  • 20. C.A. (Contrastive Analysis) ในทางปฏิบัติ ในทางปฏิบัติผู้ที่จะสอนภาษาไทยให้กับชาวต่างประเทศ ต้องทราบ ล่วงหน้าเพื่อมีเวลาในการเตรียมตัวและรู้แน่ชัดว่า ผู้เรียนนั้นเป็นผู้พูดภาษา ใด เพื่อที่จะได้ศึกษาการวิเคราะห์ความแตกต่างของภาษาแม่กับ ภาษาเป้าหมาย (Contrastive Analysis) หรือ C.A. ของภาษานั้นๆ ที่มี ผู้ทาไว้ หรือถ้าไม่มีก็ควรทาวิจัยด้วยตนเอง เช่น เมื่อทราบว่าต้องไปสอน ผู้เรียนประเทศเกาหลี มหาวิทยาลัยปูซาน ผู้สอนต้องเตรียม C.A. ภาษาไทย – เกาหลี หรืออ่านงานวิทยานิพนธ์ของผู้วิจัยที่ศึกษาไว้ เช่น ของซูเคียง แบ เป็นต้น แล้วหลังจากนั้นเริ่มทาแบบฝึกไว้ล่วงหน้า
  • 21. ความเหมือนกันของภาษา ภาษาเป็นเครื่องมือแสดงความคิดของคน และความเป็นคนนั้นก็ ย่อมมีความเหมือนกันบ้างทางแนวคิด ด้วยเหตุนี้จึงทาให้ภาษาของคนแต่ ละชาติ นอกจากจะมีความต่างกันแล้ว ยังมีความเหมือนกันอีกด้วย ทั้ง ลักษณะของภาษาที่เป็นสากล (Linguistic Universal) กับลักษณะของ ภาษาที่เป็นเอกลักษณ์ (Uniqueness of Language) และเพื่อเป็น ประโยชน์และเป็นพื้นฐานความคิดของผู้สอนภาษาไทยให้ก่ผู้เรียนชาว ต่างประเทศ ควรที่จะศึกษาลึกลงไปในรายละเอียดถึงความแตกต่างของ ภาษาไทยกับภาษาแม่ของผู้เรียน
  • 22. ความเหมือนกันของภาษา (ต่อ) โดยอาศัยหลักวิชาการที่เรียกว่า C.A. คือ การศึกษาเปรียบเทียบ ความแตกต่างของภาษาแม่กับภาษาเป้าหมาย (Contrastive Analysis) ย่อมเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการสอนภาษาไทย และถ้าหาเวลาทางาน วิจัยเองไม่ได้ ก็เพียงใช้เวลาทาความเข้าใจความเป็นสากลของภาษา และ ความเป็นเอกลักษณ์ของภาษาไทยให้เข้าใจ แล้วจึงจัดเตรียมบทชี้นา เบื้องต้นให้ผู้เรียน ก่อนที่ที่จะได้เริ่มต้นเรียนภาษาไทย ทั้งนี้ผู้เรียนจะได้มี กรอบแห่งจินตภาพล่วงหน้าถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นในการเรียนภาษาไทย ทั้งที่ ความรู้เก่าจากภาษาแม่ที่นามาใช้ได้และความรู้ใหม่ที่จะต้องเรียนรู้ในการ เรียนภาษาไทย
  • 24. ลักษณะภาษาไทย (ต่อ) ๑. ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีเสียงขึ้นลง หรือมีเสียงวรรณยุกต์เป็นสาคัญ (Tonal Language) ซึ่งเรื่องเสียงวรรณยุกต์นี้ถือว่าเป็นจุดยากที่สุดของ ภาษา จึงมีการอธิบายลักษณะเสียงโดยเขียนเป็นเส้นกราฟ แสดงจุดเริ่มต้น และเส้นขึ้นลงของเสียงไว้ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนภาษาไทยที่ไม่คุ้นกับการออก เสียงวรรณยุกต์ได้ออกเสียงตาม Mary R. Hass ได้แสดงเส้นระดับเสียงและการขึ้นลงของเสียง วรรณยุกต์ไทย โดยแบ่งเป็น ๕ แบบ แต่ยังทาให้ผู้เรียนชาวต่างประเทศ ประสบปัญหาการออกเสียงวรรณยุกต์มาก แม้จะอยู่เมืองไทยนาน ถ้าไม่เอา จริงก็จะพูดภาษาไทยยานๆ แบบรักษาศูนย์กลางเอาไว้ มีผู้เรียนที่เก่งศัพท์ พูดคาว่า “ขวยเขิน” แต่กลับพูดออกเสียงไม่ถูกเป็น “ควยเคิน” ซึ่งเห็นได้ ว่าการที่จะพูดออกเสียงภาษาไทยได้ถูกต้องนั้น จาเป็นต้องฝึกฝนอย่าง จริงจัง
  • 25.
  • 26. ๒. ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีเสียงสั้น – ยาว และมีเสียงท้ายที่สาคัญต่อความหมาย ภาษาจีนได้ชื่อว่าเป็นภาษาที่มีเสียงขึ้นลงเหมือนภาษาไทย แต่ความยากที่คนจีน ออกเสียงไม่เป็นไทยก็คือ เสียงสั้นยาว และเสียงพยัญชนะท้าย ตัวอย่างเช่น สถา บาน จบจักจูฬา ดีจาย ภาษาทาย อาคาร เป็นต้น ลักษณะภาษาไทย (ต่อ) เสียงพยัญชนะท้ายของไทยมี ๘ เสียง ตามมาตราตัวสะกด ได้แก่ กง กน กม เกย เกอว กก กด กบ จึงเป็นปัญหาสาหรับผู้เรียนที่ในภาษาแม่ไม่มีตัวสะกดที่ เหมือน หรือมีแต่ไม่สาคัญ อย่างเช่น ภาษาญี่ปุ่น มีตัวสะกดน้อยและเสียง กง กน กม อาจออกเสียงทดแทนกันได้ โดยไม่มีความสาคัญต่อความหมาย เช่น คาว่า “ประตู” จะออกเป็นม่อง ม่อม ม่อน ก็ได้ นอกจากนี้เสียงสั้นยาวก็สาคัญ คนญี่ปุ่น มักเรียกคนไทยว่า คนตาย หรือเวลาสอนนักศึกษาหนุ่มๆ สอนคาว่า “ใส่นม” กับ “ส่ายนม” พวกเขาจะจาขึ้นใจว่าต้องพูดเสียงสั้นยาวให้ถูกต้อง
  • 27. ๑ ไม่ลงน้าหนัก (Unstressed) พยางค์เปิดมักจะเป็นพยางค์ที่ไม่ลงน้าหนัก คา ไวยากรณ์ก็ไม่ลงน้าหนัก รวมทั้งพยางค์ที่มีส่วนประกอบพยางค์ ซึ่งจะกลายเป็น พยางค์เบาได้ ก็มักไม่ลงน้าหนัก เมื่อมีพยางค์ที่ลงน้าหนักมารับข้างท้ายเช่น คาว่า “และ” “จะ” “กับ” “ที่” ตัวอย่างเช่น พ่อและแม่ ข้าวกับไข่ อยู่ที่บ้าน ช่างไม้ ไป เที่ยว ฟังเขาว่า เงียบเสียเถอะ ลักษณะภาษาไทย (ต่อ) ๓. ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีการลงและไม่ลงน้าหนักเสียง ตาราของกาญจนา นาคสกุล (๒๕๔๑) แบ่งเป็น ๔ ระดับ คือ
  • 28. ลักษณะภาษาไทย (ต่อ) ๒ การลงน้าหนัก (Stressed) คาที่ทาหน้าที่เป็นองค์ประกอบสาคัญของประโยค เช่น เป็นประธานหรือกรรม เป็นคากริยา มักลงน้าหนัก แต่ถ้าคานั้นมีหลายพยางค์ บางพยางค์จะไม่ลงน้าหนัก ตัวอย่างเช่น ความกตัญญูกตเวทีเป็นเครื่องหมายของคนดี อะไรที่ควรเรียน ควรรู้ ก็เรียนรู้ไปเถิด ๓ การลงเสียงเน้นหนัก (Emphatic) หมายถึง จงใจออกเสียงเน้นบางพยางค์ ตัวอย่างเช่น ขอดินสอแดง ไม่ใช่ดินสอดา ฉันบอกให้เธอทาเดี๋ยวนี้
  • 29. ลักษณะภาษาไทย (ต่อ) ๔ เน้นหนักพิเศษ (Intensified) เป็นการเน้นความหมายพิเศษหรือแสดง อารมณ์ จึงอาจทาให้เสียงวรรณยุกต์ต่างจากปกติไปด้วย ตัวอย่างเช่น ยุ๊ง ยุ่ง ! ดีใจ๊ ดีใจ! เธอนี่บ๊า บ้า
  • 30. ลักษณะภาษาไทย (ต่อ) ๔. ภาษาไทยมีช่วงต่อของเสียงชิดและห่าง ช่วงต่อชิด (close juncture) เช่น น้าเดือด สิบสอง แนะนา ประพฤติ ไปบ้าน ปวดท้อง คนหนึ่ง ช่วงต่อห่าง (open juncture) ช่วงต่อห่างต่างกัน ทาให้ความหมาย เปลี่ยน ตัวอย่างเช่น รถบรรทุกของ + ไปตลาด รถ + บรรทุกของไปตลาด จะเอาข้าวคลุกกะปิ + ก็หมด จะเอาข้าวคลุก + กะปิก็หมด
  • 31. ลักษณะภาษาไทย (ต่อ) ๕. ภาษาไทยมีทานองเสียงขึ้นหรือตก ความจริงทานองเสียง (intonation) ไม่ใช่ลักษณะสาคัญของภาษาไทย แต่ก็มีการใช้ทานองเสียง ๒ อย่างนี้ เพื่อ ช่วยแสดงความหมายของประโยคคาถาม คาสั่ง คาตอบ อ้อนวอน สงสัย ฯลฯ ตัวอย่างเช่น ทานองเสียงขึ้น ทาอะไรอยู่จ๊ะ (คาถาม) ไปด้วยกันหน่อยนะ (คาสั่ง) เขาจะมางานนี้หรือ (คาถาม) ทานองเสียงตก ทาอะไรอยู่จ๊ะ (คาตอบ) ไปด้วยกันหน่อยน่ะ (อ้อนวอน) เขาจะมางานนี้หรือ (สงสัย)
  • 32. ลักษณะภาษาไทย (ต่อ) ๖. ภาษาไทยใช้ลักษณะนาม ลักษณะนามเป็นเรื่องจาเป็นที่ต้องสอน และ สอนแบบค่อยเป็นค่อยไป ไม่ใช่สอนในคราวเดียวอย่างที่เราสอนนักเรียนไทย ๗. ภาษาไทยมีบุรุษสรรพนาม บุรุษสรรพนามสาคัญต่อความสุภาพ การยก ย่องให้เกียรติและชั้นของคนในสังคมด้านตาแหน่งหน้าที่การงาน อายุ เพศ วัย ที่จะต้องใช้ให้เหมาะสม เป็นเรื่องที่ต้องสอนและฝึกใช้ให้ถูกต้อง เช่นเดียวกับลักษณะนาม
  • 33. ลักษณะภาษาไทย (ต่อ) ๘. ภาษาไทยมีคาราชาศัพท์หรือคาสุภาพ ด้วยเหตุนี้จึงมีเรื่องของคาภาษาต่างประเทศที่ เป็นพื้นฐานของภาษาไทยอันได้แก่ ภาษาบาลี สันสกฤต และภาษาเขมร เมื่อสอนใน ระดับสูง ขั้นอ่านเขียนและศึกษาสังคมและวัฒนธรรมไทย ผู้เรียนจาต้องประสบกับความ ยากของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยที่ใช้ในราชาศัพท์และคาสุภาพ ตลอดจนคาศัพท์ ต่างๆ ตัวอย่างเช่น เมื่อพบคาว่า “นพ” แปลว่า เก้า ผู้เรียนก็อยากจะทราบให้ครบสิบ ก็เป็น หน้าที่ของผู้สอนที่จะต้องจัดทาบทเรียนที่น่าสนใจ ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับเป้าหมายและเวลาใน การเรียนของผู้เรียนว่าต้องการระดับความลึกซึ้งในการเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมไทย มากน้อยเพียงใด
  • 34. ลักษณะภาษาไทย (ต่อ) ๙. ภาษาไทยก็มีภาษาพูดและภาษาเขียน การใช้ภาษาตามจริงย่อมมี ภาษาพูดเป็นจานวนมาก แต่ในบทอ่านและบทฟังได้ใช้ภาษาที่ปรับเป็น ภาษาเขียนมากขึ้น เช่น คาว่า “นิดหน่อย” ใช้ในบทสนทนา แต่เมื่อใช้ใน ภาษาเขียนใช้ คาว่า “เล็กน้อย” เป็นต้น
  • 35. ลักษณะภาษาไทย (ต่อ) ๑๐. ภาษาไทยใช้การเรียงคาเพื่อเข้าประโยค ประโยคของไทยจะเรียงแบบ ประธาน กริยา กรรม จะเห็นว่า ชาวต่างประเทศใช้ภาษาของเขา มีการ เรียงคาขยายไว้หน้าคาที่ถูกขยาย ก็จะติดนิสัยมาทาเช่นเดียวกันในภาษา ใหม่ที่เขาเรียนคือภาษาไทย ซึ่งถือว่าผิดไวยากรณ์ไทย ซึ่งผู้เรียนบอกว่า เขาจะงงมากเมื่อคากริยามี ๒ คา แยกกันได้ และไม่รู้ว่าจะเอากรรมใดใส่ไว้ ตรงไหน เช่น เก็บ…….ไว้ โดยที่เขาจะเขียนว่า“ผมเก็บไว้สมุดในชักลิ้นโต๊ะ”
  • 36. สรุปได้ว่า ลักษณะภาษาไทยเหล่านี้จึงเป็นเรื่องสาคัญที่ต้องเรียนรู้ และ การเรียนแบบไวยากรณ์ที่ต้องแปลนั้นถือว่าล้าสมัย จะใช้ได้ดีก็ขึ้นอยู่ กับจุดประสงค์ที่จะชี้ให้เห็นลักษณะแตกต่างของภาษาไทยเท่านั้น