SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 39
Baixar para ler offline
Pain
Management
นศภ.ชุตินันท์ แซ่เจว และ นศภ. ปุญญิศา ตะเพียนทอง
ปี 6 มหาวิทยาลัยรังสิต ฝึกงานเภสัชกรรมชุมชน 1 ผลัด 1 ร้านยาศิวพรเภสัช
PAIN
อาการปวด เป็นอาการที่พบได้ทุกส่วนของร่างกาย อาจทาให้ผู้ป่วยเกิดความทุกข์ทรมานจากอาการปวดได้
อาการปวดเป็นกลไกสาคัญในการบอกอันตรายที่เกิดขึ้นภายในและนอกร่างกาย
นิยาม
อาการปวด คือ ประสบการณ์ทางความรู้สึกและ
อารมณ์ที่ไม่สบาย ซึ่งเกิดขึ้นกับการที่เนื้อเยื่อถูกทาลาย
หรือถูกบรรยายประหนึ่งว่ามีลักษณะของการทาลาย
เนื้อเยื่อนั้น
ประเภทของอาการปวด
► Acute pain เกิดขึ้นหลังจากเกิดการตึงตัวของ
กล้ามเนื้อและมีการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อ เช่น
อุบัติเหตุ การผ่าตัด และอาจเกิดนานมากกว่า 30
วัน ทาให้ผู้ป่วยรู้สึกกังวล หากไม่ได้รับการรักษา
นานมากกว่า 3 เดือนจะพัฒนาเป็นปวดเรื้อรัง
► Chronic pain อาการปวดที่ปวดนานมากกว่า 3 เดือนหรืออาจ
มากกว่า 6 เดือน ทั้งๆที่มีการรักษาด้วยการผสมผสานหลายวิธี
แล้ว อาการปวดแบบนี้จะทาให้ผู้ป่วยเกิดภาวะซึมเศร้าเพราะ
ได้รับความทุกข์ทรมานมาก อาการปวดชนิดนี้มีลักษณะเฉพาะ
ดังนี้ คือ เส้นประสาทถูกทาลาย, ไม่สามารถหายได้เอง, แม้แผล
หายแล้วอาการปวดยังคงเกิดขึ้น, ไม่สามารถบอกสาเหตุและ
กลไกที่แน่ชัดได้, ปวดผิดปกติ เช่น คล้ายเข็มทิ่มแทง , ไม่มี
ตัวกระตุ้นหรือปวดแม้แต่การถูกกระตุ้นเบาๆ
จาแนกอาการปวดแบ่งเป็น 2 แบบ คือ
1. จาแนกตามระยะเวลาของการเกิดอาการปวด
ประเภทของอาการปวด
► Nociceptive pain เกิดจากการบาดเจ็บหรืออักเสบ
หรือเกิดการทาลายเนื้อเยื่อ แบ่งเป็น
- Somatic pain การปวดของอวัยวะภายนอก เช่น
กระดูก ข้อ กล้ามเนื้อ
- Visceral pain การปวดของอวัยวะภายใน เช่น ตับ
อ่อน ลาไส้ กระเพาะอาหาร กระเพาะปัสสาวะ
- เมื่อเซลล์ได้รับบาดเจ็บ เช่น จากความร้อน ของมีคม
สารเคมี
► Neuropathic หรือ Neurogenic pain ปวดที่
เกิดจากระบบประสาทเกิดการบาดเจ็บหรือทางาน
ผิดปกติ ยกเว้นที่สัมพันธ์กับโรคมะเร็ง อาการปวด
ชนิดนี้รักษายากและตอบสนองต่อยาระงับปวดไม่
ค่อยดี ต้องใช้ระยะเวลาในการปรับยานาน สาเหตุ
เช่น ปวดเส้นประสาทหลังเป็นงูสวัด โรคเบาหวาน
และ postherapeutic neuralgia
จาแนกอาการปวดแบ่งเป็น 2 แบบ คือ
2. จาแนกตามพยาธิกาเนิด
Prostaglandin pathway
การรักษาอาการปวดตามคาแนะนาของ WHO analgesic ladder
eg
Tramadol,
Codeine
eg
Morphine,
Fentanyl,
Pethidine
Non-steroidal Anti-inflammatory Drugs
(NSAIDs)
ชนิดของยากลุ่ม NSAIDs แบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ
1. แบ่งตามค่าครึ่งชีวิต
- Short acting : Ibuprofen , Diclofenac, Indomethacin, Mefenamic acid
- Long acting : Naproxen, Salicylate, Piroxicam, Meloxicam, Phenylbutazone, Sulindac
2. จาแนกตามโครงสร้างทางเคมี
- กลุ่มอนุพันธ์ enolic acid : Piroxicam, Meloxicam
- กลุ่ม fanamates : Mefenamic acid, Meclofenamate
- กลุ่มอนุพันธ์ :heteroayl acetic acid : Diclofenac, Ketorolac
- กลุ่มอนุพันธ์ : propionic acid : Ibuprofen, Naproxen, fenoprofen, ketoprofen
NSAIDs
Structure
NSAIDs
DOSE & FDA USE
► Fever, Pain (Mild to Moderate)
• 650 to 1000 mg orally every 4 to 6 hours
► Osteoarthritis (Non-FDA Uses)
• 1000 mg orally 4 times daily for four weeks
MAX: 4000 mg/24 hours
Paracetamol Adult
Dosing
325 mg, 500 mg
► Fever, Pain (Mild to Moderate)
• infants and children, less than 60 kg
10 -15 mg/kg/dose orally every 4 to 6 hours
Paracetamol
Pediatric
Dosing
MAX 75 mg/kg/day
120 mg/5ml, 160 mg/5
ml, 250 mg/5ml,
60mg/0.6ml
Non-selective NSAIDs (COX-1 and 2 inhibitors)
► Fever, Headache, Pain
200 to 400 mg orally every 4 to 6 hours
► Migraine
400 mg ORALLY once daily
► Osteoarthritis, Rheumatoid arthritis
1200 to 3200 mg/day ORALLY divided in 3 to 4 doses
► Primary dysmenorrhea
400 mg ORALLY every 4 hours
Ibuprofen
MAX: 1200 mg/day
Adult
Dosing
200 mg, 400 mg,
600 mg
► Fever, Pain
• 6 months to 12 years old: 5 to 10 mg/kg orally every 6 to 8 hours as needed
• 12 years and older: 200 to 400 mg orally every 4 to 6 hours
► Headache
• 5.4 to 7.7 kg or 6 to 11 months of age, 50 mg every 6 to 8 hours
• 7.8 to 10.5 kg or 12 to 23 months of age, 75 mg
• 10.6 to 15.9 kg or 2 to 3 years of age, 100 mg
• 16 to 21.3 kg or 4 to 5 years of age, 150 mg
• 21.4 to 26.8 kg or 6 to 8 years of age, 200 mg
• 26.9 to 32.2 kg or 9 to 10 years of age, 250 mg
• 32.3 to 43 kg or 11 years of age, 300 mg
► Rheumatoid arthritis
• 30 to 50 mg/kg/day ORALLY in 3 to 4 divided doses
Ibuprofen
MAX: 1200 mg/day
Pediatric
Dosing
MAX: 4 doses/day
MAX: 2.4 doses/day
100 mg/5ml
Diclofenac
► Osteoarthritis, Pain
• 35 mg orally 3 times daily
► Pain, acute, Mild to Moderate
• 18 or 35 mg ORALLY 3 times daily
25 mg, 50 mg
Indomethacin
► Ankylosing spondylitis, Osteoarthritis, Rheumatoid arthritis
• 25 to 50 mg 2 to 3 times a day,
► Gouty arthritis, acute
• 50 mg three times a day
► Pain, acute, Mild to Moderate
• 20 mg 3 times/day or 40 mg ORALLY 2 or 3 times/day
► Pain, acute - Shoulder pain
• 75 to 150 mg/day ORALLY in 3 to 4 divided doses
MAX: 200 mg/day, 100 mg/dose
25 mg
Mefenamic acid
► Dysmenorrhea
▪ initial dose 500 mg, followed by 250 mg every 6 hours
► Pain, Low back pain
▪ initial dose 500 mg, followed by 250 mg every 6 hours
250 mg, 500 mg
Naproxen
► Ankylosing spondylitis, Osteoarthritis, Rheumatoid arthritis
250 to 500 mg ORALLY twice a day
► Pain, Primary dysmenorrhea, Bursitis, Tendinitis(acute),
initial, 500 mg; maintenance, 250 mg ORALLY every 6 to 8 hours as needed or 500
mg every 12 hours as needed
► Gout, acute
initial, 750 mg; maintenance, 250 mg ORALLY every 8 hours
MAX: 1,500 mg/day
275 mg, 550 mg
Piroxicam
► Osteoarthritis, Rheumatoid arthritis
20 mg/day ORALLY taken in a single or divided dose
10 mg, 20 mg
Aspirin
► Fever, Generalized aches and pains
325 to 650 mg ORALLY every 4 to 6 hours as needed;
► Headache
500 mg to 1000 mg ORALLY every 4 to 6 hours
► Migraine
1000 mg ORALLY one time
► Osteoarthritis
up to 3 g ORALLY a day in divided doses
► Rheumatoid arthritis
initial, 3 g ORALLY a day (divide every 4 to 6 hours)
MAX: 4 g/day
300 mg
Meloxicam
► Osteoarthritis
Initial, 5 mg orally once daily; may increase to 10 mg once daily
► Rheumatoid arthritis
7.5 mg ORALLY once a day
MAX: 15 mg/day
Selective NSAIDs (COX 2 inhibitors)
7.5 mg, 15 mg
Celecoxib
► Ankylosing spondylitis
initial, 200 mg ORALLY once daily or 100 mg twice daily
► Gout, acute
High dose: 800 mg orally immediately, followed by 400 mg 12 hours later and then 400 mg every 12 hours for 7 days
► Osteoarthritis
100 mg ORALLY twice a day or 200 mg ORALLY once a day
► Pain(acute), Primary dysmenorrhea
initial dose, 400 mg ORALLY once plus one additional 200 mg dose ORALLY if needed on the first day; maintenance, 200
mg ORALLY twice a day as needed
► Postoperative pain, acute
400 mg ORALLY postprocedure (study dosing)
► Rheumatoid arthritis
100 to 200 mg ORALLY twice a day
Specific COX 2 inhibitors
200 mg, 400 mg
► Ankylosing spondylitis
90 mg orally once daily
► Dental pain
90 mg orally once daily for up to 3 days after molar extraction
► Gout, acute
120 mg orally once daily for up to 8 days
► Osteoarthritis
30 mg orally once daily; may increase to 60 mg once daily
Etoricoxib
Non-FDA Uses
30 mg, 60 mg,
90 mg, 120 mg
Tramadol
► Dental pain
50, 70, or 100 mg orally as a single dose
► Pain, Moderate to moderately severe
50 to 100 mg orally every 4 to 6 hours
Opioids
50 mg
ผลข้างเคียงต่อไต
• ผลแทรกซ้อนทางไต แบ่งได้ 3 แบบ
1. ผลออกฤทธิ์ยับยั้งการสังเคราะห์ PGs
2. แพ้ยาแบบ idiosyncrasy
3. ผลการตกตะกอนของ uric acid ในท่อไต (ยาเร่งการขับ uric acid ออกทางไต)
• ระวังในผู้ที่มี Renal blood flow ลดจากสาเหตุต่างๆ เช่น dehydration, blood loss, Cardiac failure, Chronic
renal failure, diuretic use, ผู้ป่วยโรคไต,ผู้ป่วยสูงอายุ
• Side effect : renal impairment, hyperkalemia, hypertension และ edema (เกิดการคั่งของน้าและเกลือ BP↑)
การป้องกันผลแทรกซ้อนทางไต
• ดื่มน้ามากๆ
• หาปัจจัยเสี่ยงก่อนจ่ายยาในผู้สูงอายุ
• ผู้ป่วยที่มีปัจจัยเสี่ยง ให้เลือกยาที่มีผลกระทบต่อไตน้อย และใช้ยาในขนาดต่า และระยะเวลาสั้นที่สุด
• ควรเลือกยา → Sulindac มีการขับออกทางไตในรูปของ Sulfone metabolite ที่ไม่ออกฤทธิ์มีผล
ต่อ RBF น้อย (ไม่มีผลยับยั้ง PGs ที่ไต)
• หลีกเลี่ยงการใช้ยากลุ่มออกฤทธิ์นาน
• หลีกเลี่ยงยา Indomethacin เพราะมีรายงานเกิดการอักเสบของไตบ่อย
ผลข้างเคียงต่อตับ
• มักไม่มีอาการ มีเอนไซม์ตับสูงขึ้นชั่วคราวและลดลงเองได้แม้กินยาต่อ พบตัวเหลืองตาเหลืองได้
• ยาที่มีปัญหา : Sulindac, Diclofenac, Phenylbutazone, Nimesulide
• ปัจจัยเสี่ยง
ผู้สูงอายุ - ใช้ยา NSAIDs ร่วมกันหลายตัว ขนาดสูง เวลานาน
ไตบกพร่อง - ผู้ป่วย RA ในเด็ก และ SLE
• ควรเลือกยา → Ibuprofen, Naproxen, Ketoprofen
ผลข้างเคียงต่อ
cardiovascular risk
• ปลอดภัยที่สุด : Naproxen
• มีผลต่อหัวใจและหลอดเลือด : Diclofenac, Rofecoxib, Celecoxib (>400 mg/d)
การใช้ยาในเด็ก
▪Paracetamol
10-15 mg/kg/dose(max 75 mg/kg/day)
▪Ibuprofen (6 เดือน – 2 ปี)
ไข้ < 39°C : 5 mg/kg/dose
ไข้ > 39°C : 10 mg/kg/dose
การใช้ยาในหญิง
ตั้งครรภ์
• Paracetamol (B)
• NSAIDs  Cat B ในไตรมาส 1 และ 2
 Cat D ในไตรมาส 3
• ไม่แนะนาให้ใช้ COX-2 inhibitors ในสตรีมีครรภ์
• หากใช้ Paracetamol ไม่ได้ผล ให้ใช้ Paracetamol +Codeine(C)
การใช้ยาในสตรีให้นมบุตร
• Paracetamol
• Ibuprofen
Adjuvant drug
▪Antidepressant
- Tricyclic antidepressant(TCA) : Amitriptyline, Nortriptyline
- Monoamine oxidase inhibitor(MAOIs) : Selegiline, pargyline
- SSRIs : Fluoxetine, Paroxetine
- SNRIs : Duloxetine
- Dopamine uptake inhibitors : Bupropion
▪Anticonvulsant
- Carbamazepine, Phenobarbital, Valproate
- Benzodiazepines : Diazepam, Clonazepam
- Gabapentin, Pregabalin
Drug Dose
Gabapentin 300-1,800 mg/day แบ่งให้วันละ 3 ครั้ง (เริ่มต้น 100 mg TID)
Amitriptyline 100 mg/day (increasing to 200 to 300 mg/day)
Adjuvant drug
กล้ามเนื้อ เอ็น
อาการปวดเมื่อยเกิดได้จากสาเหตุ ดังนี้
1. จากกล้ามเนื้อ : กล้ามเนื้อทางานมากในบางตาแหน่ง ทาให้เกิดความล้าหรือเกิดอาการหดเกร็งเฉพาะที่ ส่วนใหญ่อาการ
ปวดแบบนี้จะปวดเมื่อย
2. จากเส้นเอ็น : บริเวณที่มีการเคลื่อนไหวข้อมาก ๆ เช่น บริเวณไหล่ ศอก ข้อมือ ส้นเท้า เอ็นร้อยหวาย
• ใช้เป็นยาเสริม (Adjunct therapy) ร่วมกับ NSIADs, Acetaminophen
• มีอาการเฉียบพลัน (Acute)
• ช่วงระยะเวลาสั้นๆ (Short-term)
• เพื่อบรรเทาอาการที่เกี่ยวข้องกับความเจ็บปวดของระบบกล้ามเนื้อและกระดูก (Musculoskeletal) เนื่องจาก
กล้ามเนื้อหดเกร็ง (Muscle spasm)
• ไม่มีการระบุข้อบ่งใช้ในโรคของข้อ เช่น Osteoarthritis, Rheumatoid arthritis
Treatment
• Orphenadrine 100 mg 1x2 pc
• Tolperisone(Mydocalm®) 150-300 mg แบ่งให้วันละ 3 ครั้ง
Methyl salicylate หรือ Wintergreen oil
• กระตุ้นปลายประสาทรับความรู้สึกถึงความร้อน - อบอุ่น
• ทาให้เกิดการตอบสนองถึงการบรรเทาอาการปวดลดลง
Reference
• อชิดา จารุโชติกมล, เบญจมาศ คุชนี, วิระพล ภิมาลย์, จันทร์ทิพย์ กาญจนศิลป์, พีรยา ศรีผ่อง, สายทิพย์ สุทธิรักษา และคณะ. แนวทางการ
จ่ายยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านยา. 4. ขอนแก่น: โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา; 2558. 95-110.
• Truven Health Analytics. Micromedex. 2016; [1]. Available at:
http://www.micromedexsolutions.com/micromedex2/librarian/PFDefaultActionId/evidencexpert.ShowDrugInteractionsRes
ults. Accessed July 5, 2016.
• Medscape. Selective Immediate Hypersensitivity Reaction to NSAIDs. 2016; [1]. Available at:
http://reference.medscape.com. Accessed July 5, 2016.
• Baumann TJ, Herndon CM, Strickland JM. Chapter 44. Pain Management. In:DiPiro JT, Talbert RL, Yee GC, Matzke GR,
Wells BG, Posey L. eds.Pharmacotherapy: A Pathophysiologic Approach, 9e. New York, NY: McGraw-Hill;
2014. http://accesspharmacy.mhmedical.com/content.aspx?bookid=689&Sectionid=45310494. Accessed July 05, 2016.
THANKS!
Any questions?

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
Rofus Yakoh
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
Fmz Npaz
 
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)
firstnarak
 
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
Surang Judistprasert
 

Mais procurados (20)

Drug
DrugDrug
Drug
 
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reactionAntibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
Naranjo
NaranjoNaranjo
Naranjo
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)
 
Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
 
Ppt. HAD
Ppt. HADPpt. HAD
Ppt. HAD
 
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
 
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
 
คู่มือ PCA เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้าคู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA เล่มฟ้า
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
 
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัชเรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
 

Semelhante a การใช้ยาแก้ปวดในร้านยา

โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
benze2542
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
benze2542
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
benze2542
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
benze2542
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
benze2542
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
benze2542
 
Cm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟัน
Cm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟันCm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟัน
Cm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟัน
4LIFEYES
 

Semelhante a การใช้ยาแก้ปวดในร้านยา (20)

PC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pcPC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pc
 
611026-5.doc
611026-5.doc611026-5.doc
611026-5.doc
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555
 
Home visit palliative care
 Home visit   palliative care Home visit   palliative care
Home visit palliative care
 
Sample 4 lifeyes
Sample 4 lifeyesSample 4 lifeyes
Sample 4 lifeyes
 
PC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsPC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptoms
 
New thai hiv guideline 2010
New thai hiv guideline 2010New thai hiv guideline 2010
New thai hiv guideline 2010
 
ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้
ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้
ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
Cancer pain พระนั่งเกล้า
Cancer pain พระนั่งเกล้าCancer pain พระนั่งเกล้า
Cancer pain พระนั่งเกล้า
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 
Cm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟัน
Cm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟันCm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟัน
Cm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟัน
 
โรคกระเพาะ
โรคกระเพาะโรคกระเพาะ
โรคกระเพาะ
 

Mais de Ziwapohn Peecharoensap

Mais de Ziwapohn Peecharoensap (15)

การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยา
การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยาการให้บริการเภสัชกรรมในร้านยา
การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยา
 
การให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลัก
การให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลักการให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลัก
การให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลัก
 
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้าน
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้านเลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้าน
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้าน
 
The pharmacy-guild-of-australia
The pharmacy-guild-of-australiaThe pharmacy-guild-of-australia
The pharmacy-guild-of-australia
 
การสร้างความจงรักภักดีต่อแบรนด์สินค้า
การสร้างความจงรักภักดีต่อแบรนด์สินค้าการสร้างความจงรักภักดีต่อแบรนด์สินค้า
การสร้างความจงรักภักดีต่อแบรนด์สินค้า
 
การจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไร
การจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไรการจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไร
การจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไร
 
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยา
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยาการเลิกบุหรี่ในร้านขายยา
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยา
 
ยาคุมกำเนิด
ยาคุมกำเนิดยาคุมกำเนิด
ยาคุมกำเนิด
 
โครงการบริการงานส่งเสริมสุขภาพในร้านยา
โครงการบริการงานส่งเสริมสุขภาพในร้านยาโครงการบริการงานส่งเสริมสุขภาพในร้านยา
โครงการบริการงานส่งเสริมสุขภาพในร้านยา
 
การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยา
การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยาการให้บริการเภสัชกรรมในร้านยา
การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยา
 
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
 
ตอบคำถามจาก Soap note พรศิริ
ตอบคำถามจาก Soap note พรศิริตอบคำถามจาก Soap note พรศิริ
ตอบคำถามจาก Soap note พรศิริ
 
แนะนำหัวข้อในการฝึกงาน ผลัด 2 (1)
แนะนำหัวข้อในการฝึกงาน ผลัด 2 (1)แนะนำหัวข้อในการฝึกงาน ผลัด 2 (1)
แนะนำหัวข้อในการฝึกงาน ผลัด 2 (1)
 
ปฐมนิเทศนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 6
ปฐมนิเทศนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 6 ปฐมนิเทศนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 6
ปฐมนิเทศนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 6
 
ปฐมนิเทศนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 4
ปฐมนิเทศนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 4ปฐมนิเทศนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 4
ปฐมนิเทศนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 4
 

การใช้ยาแก้ปวดในร้านยา

  • 1. Pain Management นศภ.ชุตินันท์ แซ่เจว และ นศภ. ปุญญิศา ตะเพียนทอง ปี 6 มหาวิทยาลัยรังสิต ฝึกงานเภสัชกรรมชุมชน 1 ผลัด 1 ร้านยาศิวพรเภสัช
  • 2. PAIN อาการปวด เป็นอาการที่พบได้ทุกส่วนของร่างกาย อาจทาให้ผู้ป่วยเกิดความทุกข์ทรมานจากอาการปวดได้ อาการปวดเป็นกลไกสาคัญในการบอกอันตรายที่เกิดขึ้นภายในและนอกร่างกาย นิยาม อาการปวด คือ ประสบการณ์ทางความรู้สึกและ อารมณ์ที่ไม่สบาย ซึ่งเกิดขึ้นกับการที่เนื้อเยื่อถูกทาลาย หรือถูกบรรยายประหนึ่งว่ามีลักษณะของการทาลาย เนื้อเยื่อนั้น
  • 3. ประเภทของอาการปวด ► Acute pain เกิดขึ้นหลังจากเกิดการตึงตัวของ กล้ามเนื้อและมีการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อ เช่น อุบัติเหตุ การผ่าตัด และอาจเกิดนานมากกว่า 30 วัน ทาให้ผู้ป่วยรู้สึกกังวล หากไม่ได้รับการรักษา นานมากกว่า 3 เดือนจะพัฒนาเป็นปวดเรื้อรัง ► Chronic pain อาการปวดที่ปวดนานมากกว่า 3 เดือนหรืออาจ มากกว่า 6 เดือน ทั้งๆที่มีการรักษาด้วยการผสมผสานหลายวิธี แล้ว อาการปวดแบบนี้จะทาให้ผู้ป่วยเกิดภาวะซึมเศร้าเพราะ ได้รับความทุกข์ทรมานมาก อาการปวดชนิดนี้มีลักษณะเฉพาะ ดังนี้ คือ เส้นประสาทถูกทาลาย, ไม่สามารถหายได้เอง, แม้แผล หายแล้วอาการปวดยังคงเกิดขึ้น, ไม่สามารถบอกสาเหตุและ กลไกที่แน่ชัดได้, ปวดผิดปกติ เช่น คล้ายเข็มทิ่มแทง , ไม่มี ตัวกระตุ้นหรือปวดแม้แต่การถูกกระตุ้นเบาๆ จาแนกอาการปวดแบ่งเป็น 2 แบบ คือ 1. จาแนกตามระยะเวลาของการเกิดอาการปวด
  • 4. ประเภทของอาการปวด ► Nociceptive pain เกิดจากการบาดเจ็บหรืออักเสบ หรือเกิดการทาลายเนื้อเยื่อ แบ่งเป็น - Somatic pain การปวดของอวัยวะภายนอก เช่น กระดูก ข้อ กล้ามเนื้อ - Visceral pain การปวดของอวัยวะภายใน เช่น ตับ อ่อน ลาไส้ กระเพาะอาหาร กระเพาะปัสสาวะ - เมื่อเซลล์ได้รับบาดเจ็บ เช่น จากความร้อน ของมีคม สารเคมี ► Neuropathic หรือ Neurogenic pain ปวดที่ เกิดจากระบบประสาทเกิดการบาดเจ็บหรือทางาน ผิดปกติ ยกเว้นที่สัมพันธ์กับโรคมะเร็ง อาการปวด ชนิดนี้รักษายากและตอบสนองต่อยาระงับปวดไม่ ค่อยดี ต้องใช้ระยะเวลาในการปรับยานาน สาเหตุ เช่น ปวดเส้นประสาทหลังเป็นงูสวัด โรคเบาหวาน และ postherapeutic neuralgia จาแนกอาการปวดแบ่งเป็น 2 แบบ คือ 2. จาแนกตามพยาธิกาเนิด
  • 6.
  • 7.
  • 9. Non-steroidal Anti-inflammatory Drugs (NSAIDs) ชนิดของยากลุ่ม NSAIDs แบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ 1. แบ่งตามค่าครึ่งชีวิต - Short acting : Ibuprofen , Diclofenac, Indomethacin, Mefenamic acid - Long acting : Naproxen, Salicylate, Piroxicam, Meloxicam, Phenylbutazone, Sulindac 2. จาแนกตามโครงสร้างทางเคมี - กลุ่มอนุพันธ์ enolic acid : Piroxicam, Meloxicam - กลุ่ม fanamates : Mefenamic acid, Meclofenamate - กลุ่มอนุพันธ์ :heteroayl acetic acid : Diclofenac, Ketorolac - กลุ่มอนุพันธ์ : propionic acid : Ibuprofen, Naproxen, fenoprofen, ketoprofen
  • 12. DOSE & FDA USE
  • 13. ► Fever, Pain (Mild to Moderate) • 650 to 1000 mg orally every 4 to 6 hours ► Osteoarthritis (Non-FDA Uses) • 1000 mg orally 4 times daily for four weeks MAX: 4000 mg/24 hours Paracetamol Adult Dosing 325 mg, 500 mg
  • 14. ► Fever, Pain (Mild to Moderate) • infants and children, less than 60 kg 10 -15 mg/kg/dose orally every 4 to 6 hours Paracetamol Pediatric Dosing MAX 75 mg/kg/day 120 mg/5ml, 160 mg/5 ml, 250 mg/5ml, 60mg/0.6ml
  • 15. Non-selective NSAIDs (COX-1 and 2 inhibitors) ► Fever, Headache, Pain 200 to 400 mg orally every 4 to 6 hours ► Migraine 400 mg ORALLY once daily ► Osteoarthritis, Rheumatoid arthritis 1200 to 3200 mg/day ORALLY divided in 3 to 4 doses ► Primary dysmenorrhea 400 mg ORALLY every 4 hours Ibuprofen MAX: 1200 mg/day Adult Dosing 200 mg, 400 mg, 600 mg
  • 16. ► Fever, Pain • 6 months to 12 years old: 5 to 10 mg/kg orally every 6 to 8 hours as needed • 12 years and older: 200 to 400 mg orally every 4 to 6 hours ► Headache • 5.4 to 7.7 kg or 6 to 11 months of age, 50 mg every 6 to 8 hours • 7.8 to 10.5 kg or 12 to 23 months of age, 75 mg • 10.6 to 15.9 kg or 2 to 3 years of age, 100 mg • 16 to 21.3 kg or 4 to 5 years of age, 150 mg • 21.4 to 26.8 kg or 6 to 8 years of age, 200 mg • 26.9 to 32.2 kg or 9 to 10 years of age, 250 mg • 32.3 to 43 kg or 11 years of age, 300 mg ► Rheumatoid arthritis • 30 to 50 mg/kg/day ORALLY in 3 to 4 divided doses Ibuprofen MAX: 1200 mg/day Pediatric Dosing MAX: 4 doses/day MAX: 2.4 doses/day 100 mg/5ml
  • 17. Diclofenac ► Osteoarthritis, Pain • 35 mg orally 3 times daily ► Pain, acute, Mild to Moderate • 18 or 35 mg ORALLY 3 times daily 25 mg, 50 mg
  • 18. Indomethacin ► Ankylosing spondylitis, Osteoarthritis, Rheumatoid arthritis • 25 to 50 mg 2 to 3 times a day, ► Gouty arthritis, acute • 50 mg three times a day ► Pain, acute, Mild to Moderate • 20 mg 3 times/day or 40 mg ORALLY 2 or 3 times/day ► Pain, acute - Shoulder pain • 75 to 150 mg/day ORALLY in 3 to 4 divided doses MAX: 200 mg/day, 100 mg/dose 25 mg
  • 19. Mefenamic acid ► Dysmenorrhea ▪ initial dose 500 mg, followed by 250 mg every 6 hours ► Pain, Low back pain ▪ initial dose 500 mg, followed by 250 mg every 6 hours 250 mg, 500 mg
  • 20. Naproxen ► Ankylosing spondylitis, Osteoarthritis, Rheumatoid arthritis 250 to 500 mg ORALLY twice a day ► Pain, Primary dysmenorrhea, Bursitis, Tendinitis(acute), initial, 500 mg; maintenance, 250 mg ORALLY every 6 to 8 hours as needed or 500 mg every 12 hours as needed ► Gout, acute initial, 750 mg; maintenance, 250 mg ORALLY every 8 hours MAX: 1,500 mg/day 275 mg, 550 mg
  • 21. Piroxicam ► Osteoarthritis, Rheumatoid arthritis 20 mg/day ORALLY taken in a single or divided dose 10 mg, 20 mg
  • 22. Aspirin ► Fever, Generalized aches and pains 325 to 650 mg ORALLY every 4 to 6 hours as needed; ► Headache 500 mg to 1000 mg ORALLY every 4 to 6 hours ► Migraine 1000 mg ORALLY one time ► Osteoarthritis up to 3 g ORALLY a day in divided doses ► Rheumatoid arthritis initial, 3 g ORALLY a day (divide every 4 to 6 hours) MAX: 4 g/day 300 mg
  • 23. Meloxicam ► Osteoarthritis Initial, 5 mg orally once daily; may increase to 10 mg once daily ► Rheumatoid arthritis 7.5 mg ORALLY once a day MAX: 15 mg/day Selective NSAIDs (COX 2 inhibitors) 7.5 mg, 15 mg
  • 24. Celecoxib ► Ankylosing spondylitis initial, 200 mg ORALLY once daily or 100 mg twice daily ► Gout, acute High dose: 800 mg orally immediately, followed by 400 mg 12 hours later and then 400 mg every 12 hours for 7 days ► Osteoarthritis 100 mg ORALLY twice a day or 200 mg ORALLY once a day ► Pain(acute), Primary dysmenorrhea initial dose, 400 mg ORALLY once plus one additional 200 mg dose ORALLY if needed on the first day; maintenance, 200 mg ORALLY twice a day as needed ► Postoperative pain, acute 400 mg ORALLY postprocedure (study dosing) ► Rheumatoid arthritis 100 to 200 mg ORALLY twice a day Specific COX 2 inhibitors 200 mg, 400 mg
  • 25. ► Ankylosing spondylitis 90 mg orally once daily ► Dental pain 90 mg orally once daily for up to 3 days after molar extraction ► Gout, acute 120 mg orally once daily for up to 8 days ► Osteoarthritis 30 mg orally once daily; may increase to 60 mg once daily Etoricoxib Non-FDA Uses 30 mg, 60 mg, 90 mg, 120 mg
  • 26. Tramadol ► Dental pain 50, 70, or 100 mg orally as a single dose ► Pain, Moderate to moderately severe 50 to 100 mg orally every 4 to 6 hours Opioids 50 mg
  • 27. ผลข้างเคียงต่อไต • ผลแทรกซ้อนทางไต แบ่งได้ 3 แบบ 1. ผลออกฤทธิ์ยับยั้งการสังเคราะห์ PGs 2. แพ้ยาแบบ idiosyncrasy 3. ผลการตกตะกอนของ uric acid ในท่อไต (ยาเร่งการขับ uric acid ออกทางไต) • ระวังในผู้ที่มี Renal blood flow ลดจากสาเหตุต่างๆ เช่น dehydration, blood loss, Cardiac failure, Chronic renal failure, diuretic use, ผู้ป่วยโรคไต,ผู้ป่วยสูงอายุ • Side effect : renal impairment, hyperkalemia, hypertension และ edema (เกิดการคั่งของน้าและเกลือ BP↑)
  • 28. การป้องกันผลแทรกซ้อนทางไต • ดื่มน้ามากๆ • หาปัจจัยเสี่ยงก่อนจ่ายยาในผู้สูงอายุ • ผู้ป่วยที่มีปัจจัยเสี่ยง ให้เลือกยาที่มีผลกระทบต่อไตน้อย และใช้ยาในขนาดต่า และระยะเวลาสั้นที่สุด • ควรเลือกยา → Sulindac มีการขับออกทางไตในรูปของ Sulfone metabolite ที่ไม่ออกฤทธิ์มีผล ต่อ RBF น้อย (ไม่มีผลยับยั้ง PGs ที่ไต) • หลีกเลี่ยงการใช้ยากลุ่มออกฤทธิ์นาน • หลีกเลี่ยงยา Indomethacin เพราะมีรายงานเกิดการอักเสบของไตบ่อย
  • 29. ผลข้างเคียงต่อตับ • มักไม่มีอาการ มีเอนไซม์ตับสูงขึ้นชั่วคราวและลดลงเองได้แม้กินยาต่อ พบตัวเหลืองตาเหลืองได้ • ยาที่มีปัญหา : Sulindac, Diclofenac, Phenylbutazone, Nimesulide • ปัจจัยเสี่ยง ผู้สูงอายุ - ใช้ยา NSAIDs ร่วมกันหลายตัว ขนาดสูง เวลานาน ไตบกพร่อง - ผู้ป่วย RA ในเด็ก และ SLE • ควรเลือกยา → Ibuprofen, Naproxen, Ketoprofen
  • 30. ผลข้างเคียงต่อ cardiovascular risk • ปลอดภัยที่สุด : Naproxen • มีผลต่อหัวใจและหลอดเลือด : Diclofenac, Rofecoxib, Celecoxib (>400 mg/d)
  • 31. การใช้ยาในเด็ก ▪Paracetamol 10-15 mg/kg/dose(max 75 mg/kg/day) ▪Ibuprofen (6 เดือน – 2 ปี) ไข้ < 39°C : 5 mg/kg/dose ไข้ > 39°C : 10 mg/kg/dose
  • 32. การใช้ยาในหญิง ตั้งครรภ์ • Paracetamol (B) • NSAIDs  Cat B ในไตรมาส 1 และ 2  Cat D ในไตรมาส 3 • ไม่แนะนาให้ใช้ COX-2 inhibitors ในสตรีมีครรภ์ • หากใช้ Paracetamol ไม่ได้ผล ให้ใช้ Paracetamol +Codeine(C)
  • 34. Adjuvant drug ▪Antidepressant - Tricyclic antidepressant(TCA) : Amitriptyline, Nortriptyline - Monoamine oxidase inhibitor(MAOIs) : Selegiline, pargyline - SSRIs : Fluoxetine, Paroxetine - SNRIs : Duloxetine - Dopamine uptake inhibitors : Bupropion ▪Anticonvulsant - Carbamazepine, Phenobarbital, Valproate - Benzodiazepines : Diazepam, Clonazepam - Gabapentin, Pregabalin
  • 35. Drug Dose Gabapentin 300-1,800 mg/day แบ่งให้วันละ 3 ครั้ง (เริ่มต้น 100 mg TID) Amitriptyline 100 mg/day (increasing to 200 to 300 mg/day) Adjuvant drug
  • 36. กล้ามเนื้อ เอ็น อาการปวดเมื่อยเกิดได้จากสาเหตุ ดังนี้ 1. จากกล้ามเนื้อ : กล้ามเนื้อทางานมากในบางตาแหน่ง ทาให้เกิดความล้าหรือเกิดอาการหดเกร็งเฉพาะที่ ส่วนใหญ่อาการ ปวดแบบนี้จะปวดเมื่อย 2. จากเส้นเอ็น : บริเวณที่มีการเคลื่อนไหวข้อมาก ๆ เช่น บริเวณไหล่ ศอก ข้อมือ ส้นเท้า เอ็นร้อยหวาย • ใช้เป็นยาเสริม (Adjunct therapy) ร่วมกับ NSIADs, Acetaminophen • มีอาการเฉียบพลัน (Acute) • ช่วงระยะเวลาสั้นๆ (Short-term) • เพื่อบรรเทาอาการที่เกี่ยวข้องกับความเจ็บปวดของระบบกล้ามเนื้อและกระดูก (Musculoskeletal) เนื่องจาก กล้ามเนื้อหดเกร็ง (Muscle spasm) • ไม่มีการระบุข้อบ่งใช้ในโรคของข้อ เช่น Osteoarthritis, Rheumatoid arthritis
  • 37. Treatment • Orphenadrine 100 mg 1x2 pc • Tolperisone(Mydocalm®) 150-300 mg แบ่งให้วันละ 3 ครั้ง Methyl salicylate หรือ Wintergreen oil • กระตุ้นปลายประสาทรับความรู้สึกถึงความร้อน - อบอุ่น • ทาให้เกิดการตอบสนองถึงการบรรเทาอาการปวดลดลง
  • 38. Reference • อชิดา จารุโชติกมล, เบญจมาศ คุชนี, วิระพล ภิมาลย์, จันทร์ทิพย์ กาญจนศิลป์, พีรยา ศรีผ่อง, สายทิพย์ สุทธิรักษา และคณะ. แนวทางการ จ่ายยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านยา. 4. ขอนแก่น: โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา; 2558. 95-110. • Truven Health Analytics. Micromedex. 2016; [1]. Available at: http://www.micromedexsolutions.com/micromedex2/librarian/PFDefaultActionId/evidencexpert.ShowDrugInteractionsRes ults. Accessed July 5, 2016. • Medscape. Selective Immediate Hypersensitivity Reaction to NSAIDs. 2016; [1]. Available at: http://reference.medscape.com. Accessed July 5, 2016. • Baumann TJ, Herndon CM, Strickland JM. Chapter 44. Pain Management. In:DiPiro JT, Talbert RL, Yee GC, Matzke GR, Wells BG, Posey L. eds.Pharmacotherapy: A Pathophysiologic Approach, 9e. New York, NY: McGraw-Hill; 2014. http://accesspharmacy.mhmedical.com/content.aspx?bookid=689&Sectionid=45310494. Accessed July 05, 2016.