SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 14
Baixar para ler offline
1



                                               หนวยการเรียนรู
                           หนวยที่ ๔ ชื่อหนวย ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม
                  วิชา วิทยาศาสตรพื้นฐาน                          รหัสวิชา ว๒๓๑๐๑
                  กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร                 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓
                  เวลา ๙ ชั่วโมง                                   ภาคเรียนที่ ๑
                                       ………………………………………………….

               ตารางวิเคราะหความสัมพันธของสาระ/มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด/ สาระการเรียนรูแกนกลาง

สาระที่ ๒ ชีวิตกับสิ่งแวดลอม
มาตรฐาน ว ๒.๒ เขาใจความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใชทรัพยากรธรรมชาติในระดับทองถิ่น
ประเทศ และโลกนําความรูไปใชในในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดลอมในทองถิ่นอยางยังยืน
                                                                   ่                         ่
                       ตัวชี้วัด                                       สาระการเรียนรูแกนกลาง
๑๑.ว ๒.๒ ม.๓/๑ วิเคราะหสภาพปญหาสิ่งแวดลอม        - สภาพปญหาสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่น เกิดจากการ
ทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่นและเสนอแนวทางในการ กระทําของธรรมชาติและ มนุษย
แกไขปญหา                                          - ปญหาสิงแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติที่เกิดขึ้น
                                                                ่
                                                    - แนวทางในการดูแลรักษาและปองกัน
๑๒.ว ๒.๒ ม. ๓/๒ อธิบายแนวทางการรักษาสมดุลของ - การนําทรัพยากรธรรมชาติมาใชอยางคุมคาดวยการใชซ้ํา
ระบบนิเวศ                                           นํากลับมาใชใหม ลดการใชผลิตภัณฑ ใชผลิตภัณฑชนิด
                                                    เดิม ซอมแซมสิงของเครื่องใช เปนวิธีการใช
                                                                     ่
                                                    ทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน
๑๓. ว ๒.๒ ม. ๓/๓ อภิปรายการใชทรัพยากรธรรมชาติอยาง - การใชทรัพยากรธรรมชาติควรคํานึงถึงหลักปรัชญาของ
ยั่งยืน                                             เศรษฐกิจพอเพียงบนพื้นฐานของทางสายกลาง และความไม
                                                    ประมาท โดยคํานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล และ
                                                    การเตรียมตัวใหพรอมที่จะรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลง
๑๔. ว ๒.๒ ม. ๓/๔วิเคราะหและอธิบายการใช            - การใชทรัพยากรธรรมชาติควรคํานึงถึงหลักปรัชญาของ
ทรัพยากรธรรมชาติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ            เศรษฐกิจพอเพียงบนพื้นฐานของทางสายกลาง และความไม
พอเพียง                                             ประมาท โดยคํานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผลและ
                                                    การเตรียมตัวใหพรอมที่จะรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลง
                                                    ที่เกิดขึ้น
2



                      ตัวชี้วัด                                    สาระการเรียนรูแกนกลาง


 ๑๕. ว ๒.๒ ม. ๓/๕ อภิปรายปญหาสิ่งแวดลอมและ         - ปญหาสิ่งแวดลอม อาจเกิดจากมลพิษทางน้ํา มลพิษทาง
 เสนอแนะแนวทางการแกปญหา                            เสียง มลพิษทางอากาศ มลพิษทางดิน
                                                     - แนวทางการแกปญหามีหลายวิธี เริ่มจากศึกษาแหลงที่มา
                                                                      
                                                     ของปญหา เสาะหากระบวนการในการแกปญหา และทุกคนมี
                                                                                            
                                                     สวนรวมในการปฏิบัตเิ พื่อแกปญหานั้น
 ๑๖. ว ๒.๒ ม. ๓/๖ อภิปรายและมีสวนรวมในการดูแล      - การดูแลและอนุรักษสงแวดลอมในทองถิ่นใหยั่งยืน ควร
                                                                              ิ่
 และอนุรกษสงแวดลอมในทองถิ่นอยางยังยืน
        ั ิ่                         ่               ไดรับความรวมมือจากทุกฝายและตองเปนความรับผิดชอบ
                                                     ของทุกคน


          ตารางวิเคราะหความสัมพันธ ความสัมพันธของสาระ/มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด/ จุดประสงคการเรียนรู

สาระที่ ๒ ชีวิตกับสิ่งแวดลอม
มาตรฐาน ว ๒.๒ เขาใจความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใชทรัพยากรธรรมชาติในระดับทองถิ่น
ประเทศ และโลกนําความรูไปใชในในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดลอมในทองถิ่นอยางยังยืน
                                                              ่                        ่

                       ตัวชี้วัด                                     จุดประสงคการเรียนรู
 ๑๑.ว ๒.๒ ม.๓/๑ วิเคราะหสภาพปญหาสิ่งแวดลอม         ๑. สํารวจและวิเคราะหสภาพปญหาสิ่งแวดลอม
 ทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่นและเสนอแนวทางในการ         ทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่น
 แกไขปญหา                                           ๒. เสนอแนวทางในการแกไขปญหาสิ่งแวดลอม
                                                      ทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่น
                                                     ๓. มีความรับผิดชอบ มุงมั่น
                                                     ๔. ทักษะการจัดระบบขอมูล ทักษะการวิเคราะห
 ๑๒.ว ๒.๒ ม. ๓/๒ อธิบายแนวทางการรักษาสมดุลของ        ๑. อธิบายการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ
 ระบบนิเวศ                                           ๒. วิเคราะห แนวทางการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ
                                                     ๓. มีความรับผิดชอบ มุงมั่น
                                                     ๔. ทักษะการจัดระบบขอมูล ทักษะการวิเคราะห ทักษะ
                                                     การสรางขยายความรู
3




                       ตัวชี้วัด                                     จุดประสงคการเรียนรู
๑๓. ว ๒.๒ ม. ๓/๓ อภิปรายการใชทรัพยากรธรรมชาติอยาง
                                                  ๑. อธิบายความหมายของทรัพยากรทางธรรมชาติ
ยั่งยืน                                           ๒. วิเคราะหการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน
                                                  ๓. มีความรับผิดชอบ มุงมั่น
                                                  ๔. ทักษะการจัดระบบขอมูล ทักษะการวิเคราะห ทักษะ
                                                  การสรางขยายความรู
๑๔. ว ๒.๒ ม. ๓/๔ วิเคราะหและอธิบายการใช         ๑. อธิบายการนําหลักคิดไปใชในการใชทรัพยากรทาง
ทรัพยากรธรรมชาติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ธรรมชาติ
                                                  ๒. วิเคราะหหลักคิดการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน
                                                  ๓. มีความรับผิดชอบ มุงมั่น
                                                  ๔. ทักษะการจัดระบบขอมูล ทักษะการวิเคราะห ทักษะ
                                                  การสรางขยายความรู
๑๕. ว ๒.๒ ม. ๓/๕ อภิปรายปญหาสิ่งแวดลอมและ       ๑. อธิบายปญหาสิงแวดลอมปจจุบัน
                                                                      ่
เสนอแนะแนวทางการแกปญหา                          ๒. วิเคราะหแนวทางการแกปญหาสิงแวดลอม
                                                                                     ่
                                                  ๓. มีความรับผิดชอบ มุงมั่น
                                                  ๔. ทักษะการจัดระบบขอมูล ทักษะการวิเคราะห ทักษะ
                                                  การสรางขยายความรู
๑๖. ว ๒.๒ ม. ๓/๖ อภิปรายและมีสวนรวมในการดูแลและ ๑. อธิบายการมีสวนรวมในการดูแลและอนุรักษ
อนุรักษสงแวดลอมในทองถิ่นอยางยั่งยืน
         ิ่                                       สิ่งแวดลอมในทองถิ่น
                                                  ๒. วิเคราะหแนวทางในการดูแลและอนุรักษสงแวดลอม
                                                                                               ิ่
                                                  ในทองถิ่นอยางยังยืน
                                                                   ่
                                                  ๓. มีความรับผิดชอบ มุงมั่น
                                                  ๔. ทักษะการจัดระบบขอมูล ทักษะการวิเคราะห ทักษะ
                                                  การสรางขยายความรู
4



               การออกแบบหนวยการเรียนรู เพื่อเสริมสรางคุณลักษณะอยูอยางพอเพียง
                    หนวยที่ ๔ ชื่อหนวย ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม
           วิชา วิทยาศาสตรพื้นฐาน                              รหัสวิชา ว๒๓๑๐๑
           กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร                     ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓
           เวลา ๙ ชั่วโมง                                       ภาคเรียนที่ ๑
                                ………………………………………………….
๑. มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด
                         
    มาตรฐาน ว๒.๒ เขาใจความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติการใชทรัพยากรธรรมชาติใน
ระดับทองถิ่น ประเทศ และโลกนําความรูไปใชในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมใน
ทองถิ่นอยางยังยืน
                 ่
    ตัวชี้วัด
     ๑๑. ว ๒.๒ ม.๓/๑ วิเคราะหสภาพปญหาสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่น และเสนอ
แนวทางในการแกไขปญหา
     ๑๒. ว ๒.๒ ม.๓/๒ อธิบายแนวทางการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ
     ๑๓. ว ๒.๒ ม.๓/๓ อภิปรายการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน
     ๑๔. ว ๒.๒ ม.๓/๔ วิเคราะหและอธิบายการใชทรัพยากรธรรมชาติตามปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง
     ๑๕. ว ๒.๒ ม.๓/๕ อภิปรายปญหาสิ่งแวดลอมและเสนอแนะแนวทางการแกปญหา
     ๑๖. ว ๒.๒ ม.๓/๖ อภิปรายและมีสวนรวมในการดูแลและอนุรักษสิ่งแวดลอมในทองถิ่น
อยางยั่งยืน
มาตรฐาน ว ๘.๑ ใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรและจิตวิทยาศาสตรในการสืบเสาะหาความรู
การแกปญหา รูวาปรากฏการณทางธรรมชาติทเี่ กิดขึ้นสวนใหญมรูปแบบที่แนนอน สามารถอธิบาย
                                                            ี
และตรวจสอบได ภายใตขอมูลและเครื่องมือทีมีอยูในชวงเวลานั้นๆ เขาใจวา วิทยาศาสตร เทคโนโลยี
                                            ่
สังคม และสิ่งแวดลอม มีความเกี่ยวของสัมพันธกัน
    ตัวชี้วัด
ว ๘.๑ ม.๓/๑ , ว ๘.๑ ม.๓/๒ , ว ๘.๑ ม.๓/๓ , ว ๘.๑ ม.๓/๔ , ว ๘.๑ ม.๓/๕ ,
ว ๘.๑ ม.๓/๗ , ว ๘.๑ ม.๓/๘ , ว ๘.๑ ม.๓/๙
5



๒. สาระสําคัญ
       สภาพปญหาสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่น เปนปญหาทีทุกคนตองหาแนวทางใน
                                                                  ่
การแกไขปญหา แนวทางการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ การใชทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน การใช
ทรัพยากรธรรมชาติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปญหาสิ่งแวดลอมและเสนอแนะแนว
ทางการแกปญหา การมีสวนรวมในการดูแลและอนุรักษสิ่งแวดลอมในทองถิ่นอยางยั่งยืน

๓. สาระการเรียนรู
        ๓.๑ สภาพปญหาสิงแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ ในทองถิ่น และแนวทางในการดูแล
                        ่
รักษาและปองกัน
        ๓.๒ ความสมดุลระบบนิเวศ
        ๓.๓ การใชทรัพยากรธรรมชาติอยางยังยืน และการดูแลรักษาสภาพแวดลอม
                                         ่
        ๓.๔ การรักษาสมดุลของระบบนิเวศ
        ๓.๕ การนําทรัพยากรธรรมชาติมาใชอยางคุมคา
        ๓.๖ การใชทรัพยากรธรรมชาติตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
        ๓.๗ ปญหาสิงแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติของทองถิ่น
                   ่
        ๓.๘ การดูแลและอนุรักษสิ่งแวดลอมในทองถิ่นใหยั่งยืน
        ๓.๙ ปญหาสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่นโดยใช หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
        ๑๐) การอนุรกษพืชสมุนไพรในทองถิ่นโดยใช หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
                     ั

๔. สมรรถนะสําคัญของผูเรียน
      ๔.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
      ๔.๒ ความสามารถในการคิด
             - ทักษะการคิดวิเคราะห
      ๔.๓ ความสามารถในการแกปญหา
      ๔.๔ ความสามารถในการใชทกษะชีวิต
                                ั
             - กระบวนการปฏิบัติ
             - กระบวนการทํางานกลุม
6



๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค
       ๕.๑ ความสนใจใฝเรียนรู
       ๕.๒ ความมุงมั่น
       ๕.๓ ความรับผิดชอบ
       ๕.๓ อยูอยางพอเพียง
       ๕.๔ การทํางานรวมกับผูอื่นอยางสรางสรรค

๖. ภาระงาน / ชิ้นงาน
๖.๑ ภาระงาน
     ๖.๑.๑ สํารวจปญหาสิ่งแวดลอมในทองถิ่น
     ๖.๑.๒ วิเคราะหแนวทางการแกไขปญหาสิ่งแวดลอมในทองถิ่น
     ๖.๑.๓ วิเคราะหหลักคิดในใชทรัพยากรธรรมชาติตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
     ๖.๑.๔ วิเคราะหการมีสวนรวมในการดูแล และอนุรักษสิ่งแวดลอมในทองถิ่น
อยางยั่งยืน
๖.๒ ชิ้นงาน
     ๖.๒.๑ ใบกิจกรรมที่ ๑ เรื่อง ปญหาสิ่งแวดลอม
     ๖.๒.๒ ใบกิจกรรมที่ ๒ เรื่อง แนวทางการแกไขปญหาสิ่งแวดลอมในทองถิ่น
     ๖.๒.๓ ใบกิจกรรมที่ ๓ เรื่อง หลักคิดในการใชทรัพยากรธรรมชาติตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
     ๖.๒.๔ ใบกิจกรรมที่ ๔ เรื่อง การมีสวนรวมในการดูแลและอนุรักษสิ่งแวดลอมในทองถิ่น
อยางยั่งยืน
7



            ๗. การวัดและประเมินผล

            ภาระงาน / ชิ้นงาน                 มิติ/องคประกอบที่ประเมิน            คําอธิบายคุณภาพ
ใบกิจกรรมที่ ๑ เรื่อง ปญหาสิ่งแวดลอม   - การปฏิบัติกิจกรรมการสํารวจ     - ปฏิบัติกิจกรรม ตามขั้นตอน
                                         ตามขั้นตอน                       และเขียนสรุป พรอมนําเสนอได
                                         - การนําเสนอ                     ถูกตอง ครบองคประกอบ
ใบกิจกรรมที่ ๒ เรื่อง แนวทางการแกไข     - การวิเคราะหตามขั้นตอน          - วิเคราะหตามขั้นตอนและครบ
ปญหาสิ่งแวดลอมในทองถิ่น               - การเขียนแผนภาพการวิเคราะห     องคประกอบ ถูกตอง พรอมนําเสนอ
                                         - การสรุป/การนําเสนอ             ถูกตองและสมบรูณ
ใบกิจกรรมที่ ๓ เรื่อง หลักคิดในการใช    - การวิเคราะหตามขั้นตอน         - วิเคราะหตามขั้นตอนและครบ
ทรัพยากรธรรมชาติตามหลักปรัชญา            - การเขียนแผนภาพการวิเคราะห     องคประกอบ ถูกตอง พรอมนําเสนอ
ของเศรษฐกิจ                              - การสรุป/การนําเสนอ             ถูกตองและสมบรูณ
ใบกิจกรรมที่ ๔ เรื่อง การมีสวนรวมในการ - การวิเคราะหตามขันตอน
                                                             ้            - วิเคราะหตามขั้นตอนและครบ
ดูแล และอนุรกษสงแวดลอมในทองถิ่นอยาง - การเขียนแผนภาพการวิเคราะห
             ั ิ่                                                         องคประกอบ ถูกตอง พรอมนําเสนอ
ยั่งยืน                                  - การสรุป/การนําเสนอ             ถูกตองและสมบรูณ
8



             ๘. กิจกรรมการเรียนรูที่สําคัญ

ครั้งที่              ตัวชี้วัด                       สาระการเรียนรู              กิจกรรมสําคัญ           เวลา
                                                                                                         (ชั่วโมง)
  ๑        ๑๑.ว ๒.๒ ม.๓/๑                     ปญหาสิ่งแวดลอม และ         - กิจกรรมการสํารวจ                 ๑
           วิเคราะหสภาพปญหาสิ่งแวดลอม      ทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่น   - ศึกษาจากแหลงเรียนรู
           ทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่น                                      - กิจกรรมการวิเคราะห
           และเสนอแนวทางในการแกไข
           ปญหา
  ๒        ๑๒.ว ๒.๒ ม.๓/๒                     แนวทางการรักษาสมดุล          - กิจกรรมการวิเคราะห            ๒
           อธิบายแนวทางการรักษาสมดุล          ของระบบนิเวศ                 - กิจกรรมการสืบคน
           ของระบบนิเวศ                                                    - กิจกรรมการสรุป
  ๓        ๑๓. ว ๒.๒ ม.๓/๓                    การใชทรัพยากรธรรมชาติ       - กิจกรรมการวิเคราะห            ๑
           อภิปรายการใชทรัพยากรธรรมชาติ      อยางยั่งยืน                 - กิจกรรมการสืบคน
           อยางยั่งยืน                                                     - กิจกรรมการสรุป
  ๔        ๑๔. ว ๒.๒ ม.๓/๔                    การใชทรัพยากรธรรมชาติ       - กิจกรรมการวิเคราะห            ๒
           วิเคราะหและอธิบายการใช           ตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ    - กิจกรรมการสืบคน
           ทรัพยากรธรรมชาติตามปรัชญา          พอเพียง                      - กิจกรรมการสรุป
           เศรษฐกิจพอเพียง
  ๕        ๑๕. ว ๒.๒ ม.๓/๕                    ปญหาสิ่งแวดลอม และ         - กิจกรรมการวิเคราะห            ๑
           อภิปรายปญหาสิ่งแวดลอมและ         เสนอแนะแนวทางการ             - กิจกรรมการสืบคน
           เสนอแนะแนวทางการ                   แกปญหา                     - กิจกรรมการสรุป
           แกปญหา
  ๖        ๑๖. ว ๒.๒ ม.๓/๖                    การดูแลและอนุรักษ           - กิจกรรมการวิเคราะห            ๒
           อภิปรายและมีสวนรวมในการ          สิ่งแวดลอมในทองถิ่น        - กิจกรรมการสืบคน
           ดูแลและอนุรักษสิ่งแวดลอมใน       อยางยั่งยืน                 - กิจกรรมการสรุป
           ทองถิ่นอยางยังยืน
                          ่
9



๙. สื่อ และแหลงเรียนรู
๙.๑ สื่อ
    ๙.๑.๑ ภาพปญหาสิ่งแวดลอมระดับโลก
    ๙.๑.๒ วีดีทัศนปญหาสิ่งแวดลอมระดับโลก
       ๙.๑.๓ ใบความรู เรื่อง การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ
    ๙.๑.๔ บทเรียนการตูนอิเล็กทรอนิคส เรื่องทรัพยากรธรรมชาติ และการอนุรกษ ตาม
                                                                        ั
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๙.๒ แหลงเรียนรู
    ๙.๒.๑ ชุมชนที่อยูอาศัยของนักเรียนรายกลุม
    ๙.๒.๒ ฐานการเรียนรูการอนุรกษทรัพยากรธรรมชาติ กลุมวิชาอุตสาหกรรม
                                  ั                       
    ๙.๒.๓ โรงงานผลิตพลังงานไฟฟาจากวัสดุธรรมชาติ จังหวัดสุรินทร
10



                      แนวทางการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรู

     ๑ . ครูผูสอนใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดกิจกรรมการเรียนรู
   หลักพอเพียง                 พอประมาณ                            มีเหตุผล                    มีภูมิคุมกันในตัวที่ดี
ประเด็น
                  - ครูใชเวลาในการจัดกิจกรรม      - การจัดสรรเวลาที่ดี สงผลให      - มีการจัดสรรเวลาเพิมสําหรับนักเรียน
                                                                                                            ่
                  ไดเหมาะสมกับเนือหา และ
                                     ้             การดําเนินกิจกรรม เปนไป           ที่ไมสามารถปฏิบัติกจกรรมไดตาม
                                                                                                          ิ
     เวลา
                  เรียงลําดับกิจกรรมตามความสําคัญ อยางราบรื่น ตามลําดับเวลา          ขั้นตอน หรือนักเรียนทีเ่ รียนรูไมทัน
                  และความยากงายของแตละกิจกรรม ที่กําหนด                             เพื่อน
                  - วิเคราะหเนือหาสาระที่สอดคลอง - มุงใหผูเรียนมีทกษะ
                                ้                                         ั           มีการวางแผน การบริหารจัดการ
                  กับหลักสูตรและมาตรฐานการเรียนรู กระบวนการคิด วิเคราะห             การจัดกิจกรรมการเรียนรู
    เนื้อหา       /ตัวชี้วัดของกลุมสาระ           สรางสรรค แกปญหา                อยางเปนระบบ และรอบคอบ
                  การเรียนรู                      ในการปฏิบัติกจกรรม ิ
                  - ครูมีความรอบรู ในเนื้อหา      ใหประสบความสําเร็จ
                  เรื่อง ทรัพยากรธรรมชาติ และ
                  สิ่งแวดลอม
                  - กิจกรรมการเรียนรูมีความ       - เมื่อผูเรียนไดปฏิบัติกิจกรรม   - ในกรณีที่กิจกรรม ไมเปนไปตาม
                  เหมาะสมกับระดับของผูเ รียน      ที่เหมาะสมกับระดับของผูเรียน      ที่กําหนด ครูควรมีการเตรียมกิจกรรม
                   เวลา และบริบทของโรงเรียน        และความสนใจของผูเ รียน            สํารองลวงหนา
                  - มีการจัดลําดับความสําคัญ       จะทําใหผูเรียนเกิดความ           - ตัดกิจกรรมการเรียนรูที่ใชเวลานาน
                                                                                                            
                  ของกิจกรรม โดยเนนกิจกรรม        กระตือรือรนในการรวมกิจกรรม       เกินไป หรือกิจกรรมที่ไมนาสนใจ
 กิจกรรมการ ใหนักเรียนไดฝกวิเคราะห และ         สามารถสรางองคความรู
    เรียนรู      ปฏิบัติ                          ไดงายขึ้น
                - ครูจดกิจกรรมตรงตาม
                      ั                              - การจัดกิจกรรมตามลําดับ
                มาตรฐาน และตัวชี้วัด                 ความสําคัญของกิจกรรม
                                                     โดยเนนขั้นตอนทีผูเรียน
                                                                          ่
                                                     ไดลงมือปฏิบัติกจกรรม
                                                                        ิ
                                                     ทําใหผเู รียนเกิดการเรียนรู
                                                     ดวยตนเอง
11



หลัพอเพียง                  พอประมาณ                             มีเหตุผล                       มีภูมิคุมกันในตัวที่ดี

                - อุปกรณมีจํานวนเพียงพอ             - เมื่ออุปกรณเพียงพอ             - มีการจัดเตรียมอุปกรณสํารอง
                ตอกลุมของนักเรียน                  นักเรียนสนใจที่จะเรียนรู         ไวใชกรณีฉุกเฉิน
                - อุปกรณมีความชัดเจน                - ความชัดเจนของกิจกรรม            - การศึกษาพฤติกรรมนักเรียน
                และเหมาะสมกับกิจกรรม                 และอุปกรณ กระตุนใหผูเรียนเกิด กอนจะชวยใหครูเตรียมอุปกรณ
                - อุปกรณราคาประหยัด                 การเรียนรู                       ไดเหมาะสมกับนักเรียน
   อุปกรณ      หาไดในทองถิ่น                      - อุปกรณที่เหมาะสมกับกิจกรรม     - นักเรียนสามารถใชอุปกรณ
                                                     ทําใหผเู รียนมีความสุข          ไดถูกตอง และเหมาะสมกับกิจกรรม
                                                     สนุกสนาน เกิดการเรียนรู          ลดภาระการอธิบายเพิ่มเติม
                                                     ที่มีประสิทธิภาพ                  - อุปกรณมีความปลอดภัย
                                                     - ประหยัดงบประมาณ
                                                     - ใหความรูในการใชอุปกรณ
                - ครูมีการจัดหา จัดเตรียม สื่อ และ   - สื่อ และแหลงเรียนรู           - ครูควรตรวจสอบใหแนใจวา
                แหลงเรียนรู ไดเหมาะสมกับกิจกรรม   ที่เหมาะสม ทําใหผเู รียนบรรลุ   สื่อ และแหลงเรียนรูตางๆ
                ,วัย, ความสามารถ                     ตามมาตรฐาน และตัวชี้วัด           นั้นครบถวน พรอมใชประกอบ
  สื่อ/แหลง
                และความสนใจของนักเรียน               - กระตุนใหผเู รียนมีความ       การจัดการเรียนรู
     เรียนรู
                                                     กระตือรือรน ทีจะเรียนรู
                                                                      ่                - มีการวางแผน การเตรียมสื่อ
                                                     - นักเรียนไมทําลายสิ่งแวดลอม    และแหลงเรียนรูเพือดําเนิน
                                                                                                          ่
                                                                                       กิจกรรมลวงหนา
                - มีการเลือกใชวิธีการวัดและ         - การเลือกใชวิธีการวัดและ        - มีการศึกษาการสรางเครื่องมือ
                ประเมินผลไดเหมาะสมกับวัย ของ        ประเมินผลที่เหมาะสมกับวัย         วัด และประเมินผลทีเ่ หมาะสม
 การวัดและ      ผูเรียน/กิจกรรม และตามมาตรฐาน/      กิจกรรม/ตามมาตรฐาน/ตัวชี้วัด/     ตามมาตรฐาน/ตัวชี้วัด
 ประเมินผล      ตัวชี้วัด/จุดประสงคการเรียนรู      จุดประสงคการเรียนรูจะสามารถ     - มีการตรวจสอบเพื่อศึกษาคุณภาพ
                ที่กําหนด                            นําผูเรียนไปสูเ ปาหมาย         ของเครื่องมือวัด และประเมินผล
                                                     ที่กําหนดได                      กอนที่จะนํามาใช
  ความรูที่ครู มาตรฐานการเรียนรู / ตัวชี้วัด / สาระการเรียนรู วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน จิตวิทยาวัยรุน การจัดเตรียม
 จําเปนตองมี สื่อและเทคโนโลยี แหลงเรียนรู เนื้อหา
คุณธรรมของครู ความอดทน ความเพียรพยายาม ความเที่ยงตรง ยุติธรรม และมีเมตตา
12



   ๒. ผลที่เกิดกับผูเรียนสอดคลองกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู
            ๒.๑ ผูเรียนไดเรียนรูหลักคิด และฝกปฏิบัติ ตามหลัก ๓ หวง ๒ เงื่อนไข ดังนี้

                            พอประมาณ                        มีเหตุผล                    มีภูมิคุมกันในตัวที่ดี
               - ผูเรียนมีความพอประมาณ          - การจัดสรรแบงเวลาที่          - มีการวางแผนการจัดสรรเวลา ให
               กับการปฏิบัติกจกรรมการเรียนรูให เหมาะสมจะทําใหการปฏิบัติ
                              ิ                                                  ความสําคัญกับการปฏิบัติกิจกรรม
               ดําเนินไปตามลําดับขั้นตอน         กิจกรรมการเรียนรูเปนไปตาม     การเรียนรูอยางเทาเทียมกัน
                                                                                           
               - ผูเรียนแตละกลุม มีการ        ขั้นตอน และดําเนินไปไดดวยดี   - มีการเตรียมการแกปญหาในกรณี
               แบงหนาที่รบผิดชอบการทํา
                            ั                    - การแบงภาระงานกัน             ที่เพื่อนที่รบผิดชอบภาระงานในสวน
                                                                                              ั
               กิจกรรมไดพอประมาณกับ             ในกลุม ทําตามความสามารถ        นั้นไมมาหรือปฏิบัติกจกรรมไมสําเร็จ
                                                                                                      ิ
               ความสามารถของแตละคน              ของแตละคนทําใหงานเสร็จ        - นักเรียนมีการเตรียมการ
หลักพอเพียง    - ผูเรียนมีการจัดสรรเวลาในการ ตรงตามกําหนดเวลา                   แกปญหาในกรณีที่ภาระงาน
               ปฏิบัติกิจกรรม และภาระงาน         - การจัดสรรเวลาที่ดี ทําให     ที่ไดรับมอบหมายมีขอผิดพลาด
               ที่ไดรับมอบหมายทังใน และนอก กิจกรรม/งานทีปฏิบัติมี
                                   ้                            ่                และสามารถแกไขไดทันเวลา
               หองเรียน พรอมทั้งการนําเสนอผล โอกาสประสบความสําเร็จ             ที่กําหนด
               การปฏิบัตกิจกรรม
                          ิ                      และผลงาน/ชิ้นงานที่นาพอใจ
               ไดอยางเหมาะสมกับความสามารถ
               และระดับชั้นของผูเรียน



  ความรู      เรื่อง ทรัพยากรธรรมชาติ และสิงแวดลอม พฤติกรรมกลุมของนักเรียน การคนหาขอมูลจากแหลงเรียนรูใน
                                              ่                                                            
               ชุมชน วิธีการเรียนรูจากแหลงเรียนรูภายในภายนอกโรงเรียน วิธีการนําเสนอผลการปฏิบัติกจกรรม
                                                                                                   ิ


 คุณธรรม       ความอดทน ความเพียรพยายาม ความเสียสละ มีวินัยในตนเอง มีน้ําใจ
13



    ๒.๒ ผูเรียนไดเรียนรูการใชชีวิตที่สมดุล และพรอมรับการเปลี่ยนแปลงใน ๔ มิติ ตามหลักปรัชญา
    ของเศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้

                                           ..สมดุล และพรอมรับการเปลี่ยนแปลงในดานตาง ๆ
       ดาน                 วัตถุ                    สังคม                สิ่งแวดลอม         วัฒนธรรม
องคประกอบ
                   - ใชวัสดุ อุปกรณที่     - การแลกเปลี่ยนความรู   - เขาใจความหมาย
                   เหมาะสมกับการ             ความคิดเห็นภายในกลุม    ตนเหตุของการเกิด
                   ปฏิบัติกิจกรรม            และภายในหองเรียน        ปญหา และมลภาวะ
     ความรู       - ใชเวลาอยางคุมคา     - การเปนผูนําเสนอ      จากการใช                        -
                   และเหมาะสมตอ             และผูฟงที่ดี
                                                                     ทรัพยากรธรรมชาติ
                   การปฏิบัตกิจกรรม
                               ิ                                      และสิงแวดลอม
                                                                            ่

                   - ทักษะการเลือกใช        - การแบงหนาที่การทํา - มีทักษะในการอนุรักษ
                   วัสดุ อุปกรณ ในการ       กิจกรรมภายในกลุม      ทรัพยากรธรรมชาติ
     ทักษะ         ปฏิบัติกรรม                                      และสิงแวดลอม
                                                                           ่                           -


                   - การเลือกใชแหลง        - การทํางานรวมกันเปน   - ตระหนักถึงการ
                   เรียนรู และอุปกรณ       กลุม เปนหมูคณะ        แกปญหาการใช
                   ประกอบการเรียน            - การรูบทบาทหนาที่     ทรัพยากรธรรมชาติ
     คานิยม       เรื่อง                    ของของตนเอง และ          และอนุรกษสงแวดลอม
                                                                              ั ิ่                     -
                   ทรัพยากรธรรมชาติ          สมาชิกในกลุม            รวมกัน
                   ที่ประหยัด เกิด
                   ประโยชนสูงสุด
14

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2Mam Chongruk
 
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์tuiye
 
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์srkschool
 
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3Mam Chongruk
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้Mam Chongruk
 
วิทย์ มอต้น
วิทย์ มอต้นวิทย์ มอต้น
วิทย์ มอต้นไอ ยู
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตMam Chongruk
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...Prachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1suranon Chaimuangchuan
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์Mam Chongruk
 
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4supphawan
 
แผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กแผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กNiwat Yod
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตMam Chongruk
 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2Niwat Yod
 
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรมส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรมkrupornpana55
 
แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101atthaniyamai2519
 
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 1
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 1ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 1
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 1Mam Chongruk
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2korakate
 

Mais procurados (20)

ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
 
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
 
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
 
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
 
วิทย์ มอต้น
วิทย์ มอต้นวิทย์ มอต้น
วิทย์ มอต้น
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
 
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
 
Physics Curriculum 53
Physics Curriculum 53Physics Curriculum 53
Physics Curriculum 53
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
 
แผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กแผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็ก
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2
 
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรมส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
 
แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101
 
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 1
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 1ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 1
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 1
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
 

Destaque

แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3srkschool
 
แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3srkschool
 
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3srkschool
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการsrkschool
 
ออกแบบหน่วยงานช่าง
ออกแบบหน่วยงานช่างออกแบบหน่วยงานช่าง
ออกแบบหน่วยงานช่างsrkschool
 
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3srkschool
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1tongcuteboy
 

Destaque (9)

แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
 
แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
 
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
 
ออกแบบหน่วยงานช่าง
ออกแบบหน่วยงานช่างออกแบบหน่วยงานช่าง
ออกแบบหน่วยงานช่าง
 
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 

Semelhante a การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์

Copy of การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์
Copy of การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์Copy of การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์
Copy of การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์oracha2010
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหาWichai Likitponrak
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้นสิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้นSompop Petkleang
 
กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ป่าชายเลน
กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ป่าชายเลนกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ป่าชายเลน
กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ป่าชายเลนปรัชญา จันตา
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3korakate
 
แผนหน่วยบูรณาการ
แผนหน่วยบูรณาการแผนหน่วยบูรณาการ
แผนหน่วยบูรณาการkrupornpana55
 
แผนหน่วยบูรณาการ
แผนหน่วยบูรณาการแผนหน่วยบูรณาการ
แผนหน่วยบูรณาการkrupornpana55
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Bliss_09
 
Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02korakate
 
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1tassanee chaicharoen
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียนKay Pakham
 
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56krupornpana55
 
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56krupornpana55
 
แผนการเรียนรู้เกษตร3
แผนการเรียนรู้เกษตร3แผนการเรียนรู้เกษตร3
แผนการเรียนรู้เกษตร3juckit009
 

Semelhante a การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์ (20)

Copy of การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์
Copy of การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์Copy of การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์
Copy of การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้นสิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
 
กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ป่าชายเลน
กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ป่าชายเลนกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ป่าชายเลน
กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ป่าชายเลน
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
 
แผนหน่วยบูรณาการ
แผนหน่วยบูรณาการแผนหน่วยบูรณาการ
แผนหน่วยบูรณาการ
 
แผนหน่วยบูรณาการ
แผนหน่วยบูรณาการแผนหน่วยบูรณาการ
แผนหน่วยบูรณาการ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02
 
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
 
ชุดที่22
ชุดที่22ชุดที่22
ชุดที่22
 
6บทที่2
6บทที่2 6บทที่2
6บทที่2
 
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
 
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
 
Astroplan19
Astroplan19Astroplan19
Astroplan19
 
แผนการเรียนรู้เกษตร3
แผนการเรียนรู้เกษตร3แผนการเรียนรู้เกษตร3
แผนการเรียนรู้เกษตร3
 

การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์

  • 1. 1 หนวยการเรียนรู หนวยที่ ๔ ชื่อหนวย ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม วิชา วิทยาศาสตรพื้นฐาน รหัสวิชา ว๒๓๑๐๑ กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ เวลา ๙ ชั่วโมง ภาคเรียนที่ ๑ …………………………………………………. ตารางวิเคราะหความสัมพันธของสาระ/มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด/ สาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ ๒ ชีวิตกับสิ่งแวดลอม มาตรฐาน ว ๒.๒ เขาใจความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใชทรัพยากรธรรมชาติในระดับทองถิ่น ประเทศ และโลกนําความรูไปใชในในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดลอมในทองถิ่นอยางยังยืน ่ ่ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ๑๑.ว ๒.๒ ม.๓/๑ วิเคราะหสภาพปญหาสิ่งแวดลอม - สภาพปญหาสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่น เกิดจากการ ทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่นและเสนอแนวทางในการ กระทําของธรรมชาติและ มนุษย แกไขปญหา - ปญหาสิงแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติที่เกิดขึ้น ่ - แนวทางในการดูแลรักษาและปองกัน ๑๒.ว ๒.๒ ม. ๓/๒ อธิบายแนวทางการรักษาสมดุลของ - การนําทรัพยากรธรรมชาติมาใชอยางคุมคาดวยการใชซ้ํา ระบบนิเวศ นํากลับมาใชใหม ลดการใชผลิตภัณฑ ใชผลิตภัณฑชนิด เดิม ซอมแซมสิงของเครื่องใช เปนวิธีการใช ่ ทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน ๑๓. ว ๒.๒ ม. ๓/๓ อภิปรายการใชทรัพยากรธรรมชาติอยาง - การใชทรัพยากรธรรมชาติควรคํานึงถึงหลักปรัชญาของ ยั่งยืน เศรษฐกิจพอเพียงบนพื้นฐานของทางสายกลาง และความไม ประมาท โดยคํานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล และ การเตรียมตัวใหพรอมที่จะรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลง ๑๔. ว ๒.๒ ม. ๓/๔วิเคราะหและอธิบายการใช - การใชทรัพยากรธรรมชาติควรคํานึงถึงหลักปรัชญาของ ทรัพยากรธรรมชาติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ เศรษฐกิจพอเพียงบนพื้นฐานของทางสายกลาง และความไม พอเพียง ประมาท โดยคํานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผลและ การเตรียมตัวใหพรอมที่จะรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลง ที่เกิดขึ้น
  • 2. 2 ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ๑๕. ว ๒.๒ ม. ๓/๕ อภิปรายปญหาสิ่งแวดลอมและ - ปญหาสิ่งแวดลอม อาจเกิดจากมลพิษทางน้ํา มลพิษทาง เสนอแนะแนวทางการแกปญหา เสียง มลพิษทางอากาศ มลพิษทางดิน - แนวทางการแกปญหามีหลายวิธี เริ่มจากศึกษาแหลงที่มา  ของปญหา เสาะหากระบวนการในการแกปญหา และทุกคนมี  สวนรวมในการปฏิบัตเิ พื่อแกปญหานั้น ๑๖. ว ๒.๒ ม. ๓/๖ อภิปรายและมีสวนรวมในการดูแล - การดูแลและอนุรักษสงแวดลอมในทองถิ่นใหยั่งยืน ควร ิ่ และอนุรกษสงแวดลอมในทองถิ่นอยางยังยืน ั ิ่ ่ ไดรับความรวมมือจากทุกฝายและตองเปนความรับผิดชอบ ของทุกคน ตารางวิเคราะหความสัมพันธ ความสัมพันธของสาระ/มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด/ จุดประสงคการเรียนรู สาระที่ ๒ ชีวิตกับสิ่งแวดลอม มาตรฐาน ว ๒.๒ เขาใจความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใชทรัพยากรธรรมชาติในระดับทองถิ่น ประเทศ และโลกนําความรูไปใชในในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดลอมในทองถิ่นอยางยังยืน ่ ่ ตัวชี้วัด จุดประสงคการเรียนรู ๑๑.ว ๒.๒ ม.๓/๑ วิเคราะหสภาพปญหาสิ่งแวดลอม ๑. สํารวจและวิเคราะหสภาพปญหาสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่นและเสนอแนวทางในการ ทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่น แกไขปญหา ๒. เสนอแนวทางในการแกไขปญหาสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่น ๓. มีความรับผิดชอบ มุงมั่น ๔. ทักษะการจัดระบบขอมูล ทักษะการวิเคราะห ๑๒.ว ๒.๒ ม. ๓/๒ อธิบายแนวทางการรักษาสมดุลของ ๑. อธิบายการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ ระบบนิเวศ ๒. วิเคราะห แนวทางการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ ๓. มีความรับผิดชอบ มุงมั่น ๔. ทักษะการจัดระบบขอมูล ทักษะการวิเคราะห ทักษะ การสรางขยายความรู
  • 3. 3 ตัวชี้วัด จุดประสงคการเรียนรู ๑๓. ว ๒.๒ ม. ๓/๓ อภิปรายการใชทรัพยากรธรรมชาติอยาง ๑. อธิบายความหมายของทรัพยากรทางธรรมชาติ ยั่งยืน ๒. วิเคราะหการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน ๓. มีความรับผิดชอบ มุงมั่น ๔. ทักษะการจัดระบบขอมูล ทักษะการวิเคราะห ทักษะ การสรางขยายความรู ๑๔. ว ๒.๒ ม. ๓/๔ วิเคราะหและอธิบายการใช ๑. อธิบายการนําหลักคิดไปใชในการใชทรัพยากรทาง ทรัพยากรธรรมชาติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ธรรมชาติ ๒. วิเคราะหหลักคิดการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน ๓. มีความรับผิดชอบ มุงมั่น ๔. ทักษะการจัดระบบขอมูล ทักษะการวิเคราะห ทักษะ การสรางขยายความรู ๑๕. ว ๒.๒ ม. ๓/๕ อภิปรายปญหาสิ่งแวดลอมและ ๑. อธิบายปญหาสิงแวดลอมปจจุบัน ่ เสนอแนะแนวทางการแกปญหา ๒. วิเคราะหแนวทางการแกปญหาสิงแวดลอม ่ ๓. มีความรับผิดชอบ มุงมั่น ๔. ทักษะการจัดระบบขอมูล ทักษะการวิเคราะห ทักษะ การสรางขยายความรู ๑๖. ว ๒.๒ ม. ๓/๖ อภิปรายและมีสวนรวมในการดูแลและ ๑. อธิบายการมีสวนรวมในการดูแลและอนุรักษ อนุรักษสงแวดลอมในทองถิ่นอยางยั่งยืน ิ่ สิ่งแวดลอมในทองถิ่น ๒. วิเคราะหแนวทางในการดูแลและอนุรักษสงแวดลอม ิ่ ในทองถิ่นอยางยังยืน ่ ๓. มีความรับผิดชอบ มุงมั่น ๔. ทักษะการจัดระบบขอมูล ทักษะการวิเคราะห ทักษะ การสรางขยายความรู
  • 4. 4 การออกแบบหนวยการเรียนรู เพื่อเสริมสรางคุณลักษณะอยูอยางพอเพียง หนวยที่ ๔ ชื่อหนวย ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม วิชา วิทยาศาสตรพื้นฐาน รหัสวิชา ว๒๓๑๐๑ กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ เวลา ๙ ชั่วโมง ภาคเรียนที่ ๑ …………………………………………………. ๑. มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด  มาตรฐาน ว๒.๒ เขาใจความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติการใชทรัพยากรธรรมชาติใน ระดับทองถิ่น ประเทศ และโลกนําความรูไปใชในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมใน ทองถิ่นอยางยังยืน ่ ตัวชี้วัด ๑๑. ว ๒.๒ ม.๓/๑ วิเคราะหสภาพปญหาสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่น และเสนอ แนวทางในการแกไขปญหา ๑๒. ว ๒.๒ ม.๓/๒ อธิบายแนวทางการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ ๑๓. ว ๒.๒ ม.๓/๓ อภิปรายการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน ๑๔. ว ๒.๒ ม.๓/๔ วิเคราะหและอธิบายการใชทรัพยากรธรรมชาติตามปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ๑๕. ว ๒.๒ ม.๓/๕ อภิปรายปญหาสิ่งแวดลอมและเสนอแนะแนวทางการแกปญหา ๑๖. ว ๒.๒ ม.๓/๖ อภิปรายและมีสวนรวมในการดูแลและอนุรักษสิ่งแวดลอมในทองถิ่น อยางยั่งยืน มาตรฐาน ว ๘.๑ ใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรและจิตวิทยาศาสตรในการสืบเสาะหาความรู การแกปญหา รูวาปรากฏการณทางธรรมชาติทเี่ กิดขึ้นสวนใหญมรูปแบบที่แนนอน สามารถอธิบาย  ี และตรวจสอบได ภายใตขอมูลและเครื่องมือทีมีอยูในชวงเวลานั้นๆ เขาใจวา วิทยาศาสตร เทคโนโลยี ่ สังคม และสิ่งแวดลอม มีความเกี่ยวของสัมพันธกัน ตัวชี้วัด ว ๘.๑ ม.๓/๑ , ว ๘.๑ ม.๓/๒ , ว ๘.๑ ม.๓/๓ , ว ๘.๑ ม.๓/๔ , ว ๘.๑ ม.๓/๕ , ว ๘.๑ ม.๓/๗ , ว ๘.๑ ม.๓/๘ , ว ๘.๑ ม.๓/๙
  • 5. 5 ๒. สาระสําคัญ สภาพปญหาสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่น เปนปญหาทีทุกคนตองหาแนวทางใน ่ การแกไขปญหา แนวทางการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ การใชทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน การใช ทรัพยากรธรรมชาติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปญหาสิ่งแวดลอมและเสนอแนะแนว ทางการแกปญหา การมีสวนรวมในการดูแลและอนุรักษสิ่งแวดลอมในทองถิ่นอยางยั่งยืน ๓. สาระการเรียนรู ๓.๑ สภาพปญหาสิงแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ ในทองถิ่น และแนวทางในการดูแล ่ รักษาและปองกัน ๓.๒ ความสมดุลระบบนิเวศ ๓.๓ การใชทรัพยากรธรรมชาติอยางยังยืน และการดูแลรักษาสภาพแวดลอม ่ ๓.๔ การรักษาสมดุลของระบบนิเวศ ๓.๕ การนําทรัพยากรธรรมชาติมาใชอยางคุมคา ๓.๖ การใชทรัพยากรธรรมชาติตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓.๗ ปญหาสิงแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติของทองถิ่น ่ ๓.๘ การดูแลและอนุรักษสิ่งแวดลอมในทองถิ่นใหยั่งยืน ๓.๙ ปญหาสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่นโดยใช หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ๑๐) การอนุรกษพืชสมุนไพรในทองถิ่นโดยใช หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ั ๔. สมรรถนะสําคัญของผูเรียน ๔.๑ ความสามารถในการสื่อสาร ๔.๒ ความสามารถในการคิด - ทักษะการคิดวิเคราะห ๔.๓ ความสามารถในการแกปญหา ๔.๔ ความสามารถในการใชทกษะชีวิต ั - กระบวนการปฏิบัติ - กระบวนการทํางานกลุม
  • 6. 6 ๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค ๕.๑ ความสนใจใฝเรียนรู ๕.๒ ความมุงมั่น ๕.๓ ความรับผิดชอบ ๕.๓ อยูอยางพอเพียง ๕.๔ การทํางานรวมกับผูอื่นอยางสรางสรรค ๖. ภาระงาน / ชิ้นงาน ๖.๑ ภาระงาน ๖.๑.๑ สํารวจปญหาสิ่งแวดลอมในทองถิ่น ๖.๑.๒ วิเคราะหแนวทางการแกไขปญหาสิ่งแวดลอมในทองถิ่น ๖.๑.๓ วิเคราะหหลักคิดในใชทรัพยากรธรรมชาติตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๖.๑.๔ วิเคราะหการมีสวนรวมในการดูแล และอนุรักษสิ่งแวดลอมในทองถิ่น อยางยั่งยืน ๖.๒ ชิ้นงาน ๖.๒.๑ ใบกิจกรรมที่ ๑ เรื่อง ปญหาสิ่งแวดลอม ๖.๒.๒ ใบกิจกรรมที่ ๒ เรื่อง แนวทางการแกไขปญหาสิ่งแวดลอมในทองถิ่น ๖.๒.๓ ใบกิจกรรมที่ ๓ เรื่อง หลักคิดในการใชทรัพยากรธรรมชาติตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ ๖.๒.๔ ใบกิจกรรมที่ ๔ เรื่อง การมีสวนรวมในการดูแลและอนุรักษสิ่งแวดลอมในทองถิ่น อยางยั่งยืน
  • 7. 7 ๗. การวัดและประเมินผล ภาระงาน / ชิ้นงาน มิติ/องคประกอบที่ประเมิน คําอธิบายคุณภาพ ใบกิจกรรมที่ ๑ เรื่อง ปญหาสิ่งแวดลอม - การปฏิบัติกิจกรรมการสํารวจ - ปฏิบัติกิจกรรม ตามขั้นตอน ตามขั้นตอน และเขียนสรุป พรอมนําเสนอได - การนําเสนอ ถูกตอง ครบองคประกอบ ใบกิจกรรมที่ ๒ เรื่อง แนวทางการแกไข - การวิเคราะหตามขั้นตอน - วิเคราะหตามขั้นตอนและครบ ปญหาสิ่งแวดลอมในทองถิ่น - การเขียนแผนภาพการวิเคราะห องคประกอบ ถูกตอง พรอมนําเสนอ - การสรุป/การนําเสนอ ถูกตองและสมบรูณ ใบกิจกรรมที่ ๓ เรื่อง หลักคิดในการใช - การวิเคราะหตามขั้นตอน - วิเคราะหตามขั้นตอนและครบ ทรัพยากรธรรมชาติตามหลักปรัชญา - การเขียนแผนภาพการวิเคราะห องคประกอบ ถูกตอง พรอมนําเสนอ ของเศรษฐกิจ - การสรุป/การนําเสนอ ถูกตองและสมบรูณ ใบกิจกรรมที่ ๔ เรื่อง การมีสวนรวมในการ - การวิเคราะหตามขันตอน ้ - วิเคราะหตามขั้นตอนและครบ ดูแล และอนุรกษสงแวดลอมในทองถิ่นอยาง - การเขียนแผนภาพการวิเคราะห ั ิ่ องคประกอบ ถูกตอง พรอมนําเสนอ ยั่งยืน - การสรุป/การนําเสนอ ถูกตองและสมบรูณ
  • 8. 8 ๘. กิจกรรมการเรียนรูที่สําคัญ ครั้งที่ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู กิจกรรมสําคัญ เวลา (ชั่วโมง) ๑ ๑๑.ว ๒.๒ ม.๓/๑ ปญหาสิ่งแวดลอม และ - กิจกรรมการสํารวจ ๑ วิเคราะหสภาพปญหาสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่น - ศึกษาจากแหลงเรียนรู ทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่น - กิจกรรมการวิเคราะห และเสนอแนวทางในการแกไข ปญหา ๒ ๑๒.ว ๒.๒ ม.๓/๒ แนวทางการรักษาสมดุล - กิจกรรมการวิเคราะห ๒ อธิบายแนวทางการรักษาสมดุล ของระบบนิเวศ - กิจกรรมการสืบคน ของระบบนิเวศ - กิจกรรมการสรุป ๓ ๑๓. ว ๒.๒ ม.๓/๓ การใชทรัพยากรธรรมชาติ - กิจกรรมการวิเคราะห ๑ อภิปรายการใชทรัพยากรธรรมชาติ อยางยั่งยืน - กิจกรรมการสืบคน อยางยั่งยืน - กิจกรรมการสรุป ๔ ๑๔. ว ๒.๒ ม.๓/๔ การใชทรัพยากรธรรมชาติ - กิจกรรมการวิเคราะห ๒ วิเคราะหและอธิบายการใช ตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ - กิจกรรมการสืบคน ทรัพยากรธรรมชาติตามปรัชญา พอเพียง - กิจกรรมการสรุป เศรษฐกิจพอเพียง ๕ ๑๕. ว ๒.๒ ม.๓/๕ ปญหาสิ่งแวดลอม และ - กิจกรรมการวิเคราะห ๑ อภิปรายปญหาสิ่งแวดลอมและ เสนอแนะแนวทางการ - กิจกรรมการสืบคน เสนอแนะแนวทางการ แกปญหา - กิจกรรมการสรุป แกปญหา ๖ ๑๖. ว ๒.๒ ม.๓/๖ การดูแลและอนุรักษ - กิจกรรมการวิเคราะห ๒ อภิปรายและมีสวนรวมในการ สิ่งแวดลอมในทองถิ่น - กิจกรรมการสืบคน ดูแลและอนุรักษสิ่งแวดลอมใน อยางยั่งยืน - กิจกรรมการสรุป ทองถิ่นอยางยังยืน ่
  • 9. 9 ๙. สื่อ และแหลงเรียนรู ๙.๑ สื่อ ๙.๑.๑ ภาพปญหาสิ่งแวดลอมระดับโลก ๙.๑.๒ วีดีทัศนปญหาสิ่งแวดลอมระดับโลก ๙.๑.๓ ใบความรู เรื่อง การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ ๙.๑.๔ บทเรียนการตูนอิเล็กทรอนิคส เรื่องทรัพยากรธรรมชาติ และการอนุรกษ ตาม ั หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๙.๒ แหลงเรียนรู ๙.๒.๑ ชุมชนที่อยูอาศัยของนักเรียนรายกลุม ๙.๒.๒ ฐานการเรียนรูการอนุรกษทรัพยากรธรรมชาติ กลุมวิชาอุตสาหกรรม ั  ๙.๒.๓ โรงงานผลิตพลังงานไฟฟาจากวัสดุธรรมชาติ จังหวัดสุรินทร
  • 10. 10 แนวทางการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรู ๑ . ครูผูสอนใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดกิจกรรมการเรียนรู หลักพอเพียง พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุมกันในตัวที่ดี ประเด็น - ครูใชเวลาในการจัดกิจกรรม - การจัดสรรเวลาที่ดี สงผลให - มีการจัดสรรเวลาเพิมสําหรับนักเรียน ่ ไดเหมาะสมกับเนือหา และ ้ การดําเนินกิจกรรม เปนไป ที่ไมสามารถปฏิบัติกจกรรมไดตาม ิ เวลา เรียงลําดับกิจกรรมตามความสําคัญ อยางราบรื่น ตามลําดับเวลา ขั้นตอน หรือนักเรียนทีเ่ รียนรูไมทัน และความยากงายของแตละกิจกรรม ที่กําหนด เพื่อน - วิเคราะหเนือหาสาระที่สอดคลอง - มุงใหผูเรียนมีทกษะ ้ ั มีการวางแผน การบริหารจัดการ กับหลักสูตรและมาตรฐานการเรียนรู กระบวนการคิด วิเคราะห การจัดกิจกรรมการเรียนรู เนื้อหา /ตัวชี้วัดของกลุมสาระ สรางสรรค แกปญหา  อยางเปนระบบ และรอบคอบ การเรียนรู ในการปฏิบัติกจกรรม ิ - ครูมีความรอบรู ในเนื้อหา ใหประสบความสําเร็จ เรื่อง ทรัพยากรธรรมชาติ และ สิ่งแวดลอม - กิจกรรมการเรียนรูมีความ - เมื่อผูเรียนไดปฏิบัติกิจกรรม - ในกรณีที่กิจกรรม ไมเปนไปตาม เหมาะสมกับระดับของผูเ รียน ที่เหมาะสมกับระดับของผูเรียน ที่กําหนด ครูควรมีการเตรียมกิจกรรม เวลา และบริบทของโรงเรียน และความสนใจของผูเ รียน สํารองลวงหนา - มีการจัดลําดับความสําคัญ จะทําใหผูเรียนเกิดความ - ตัดกิจกรรมการเรียนรูที่ใชเวลานาน  ของกิจกรรม โดยเนนกิจกรรม กระตือรือรนในการรวมกิจกรรม เกินไป หรือกิจกรรมที่ไมนาสนใจ กิจกรรมการ ใหนักเรียนไดฝกวิเคราะห และ สามารถสรางองคความรู เรียนรู ปฏิบัติ ไดงายขึ้น - ครูจดกิจกรรมตรงตาม ั - การจัดกิจกรรมตามลําดับ มาตรฐาน และตัวชี้วัด ความสําคัญของกิจกรรม โดยเนนขั้นตอนทีผูเรียน ่ ไดลงมือปฏิบัติกจกรรม ิ ทําใหผเู รียนเกิดการเรียนรู ดวยตนเอง
  • 11. 11 หลัพอเพียง พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุมกันในตัวที่ดี - อุปกรณมีจํานวนเพียงพอ - เมื่ออุปกรณเพียงพอ - มีการจัดเตรียมอุปกรณสํารอง ตอกลุมของนักเรียน นักเรียนสนใจที่จะเรียนรู ไวใชกรณีฉุกเฉิน - อุปกรณมีความชัดเจน - ความชัดเจนของกิจกรรม - การศึกษาพฤติกรรมนักเรียน และเหมาะสมกับกิจกรรม และอุปกรณ กระตุนใหผูเรียนเกิด กอนจะชวยใหครูเตรียมอุปกรณ - อุปกรณราคาประหยัด การเรียนรู ไดเหมาะสมกับนักเรียน อุปกรณ หาไดในทองถิ่น - อุปกรณที่เหมาะสมกับกิจกรรม - นักเรียนสามารถใชอุปกรณ ทําใหผเู รียนมีความสุข ไดถูกตอง และเหมาะสมกับกิจกรรม สนุกสนาน เกิดการเรียนรู ลดภาระการอธิบายเพิ่มเติม ที่มีประสิทธิภาพ - อุปกรณมีความปลอดภัย - ประหยัดงบประมาณ - ใหความรูในการใชอุปกรณ - ครูมีการจัดหา จัดเตรียม สื่อ และ - สื่อ และแหลงเรียนรู - ครูควรตรวจสอบใหแนใจวา แหลงเรียนรู ไดเหมาะสมกับกิจกรรม ที่เหมาะสม ทําใหผเู รียนบรรลุ สื่อ และแหลงเรียนรูตางๆ ,วัย, ความสามารถ ตามมาตรฐาน และตัวชี้วัด นั้นครบถวน พรอมใชประกอบ สื่อ/แหลง และความสนใจของนักเรียน - กระตุนใหผเู รียนมีความ การจัดการเรียนรู เรียนรู กระตือรือรน ทีจะเรียนรู ่ - มีการวางแผน การเตรียมสื่อ - นักเรียนไมทําลายสิ่งแวดลอม และแหลงเรียนรูเพือดําเนิน ่ กิจกรรมลวงหนา - มีการเลือกใชวิธีการวัดและ - การเลือกใชวิธีการวัดและ - มีการศึกษาการสรางเครื่องมือ ประเมินผลไดเหมาะสมกับวัย ของ ประเมินผลที่เหมาะสมกับวัย วัด และประเมินผลทีเ่ หมาะสม การวัดและ ผูเรียน/กิจกรรม และตามมาตรฐาน/ กิจกรรม/ตามมาตรฐาน/ตัวชี้วัด/ ตามมาตรฐาน/ตัวชี้วัด ประเมินผล ตัวชี้วัด/จุดประสงคการเรียนรู จุดประสงคการเรียนรูจะสามารถ - มีการตรวจสอบเพื่อศึกษาคุณภาพ ที่กําหนด นําผูเรียนไปสูเ ปาหมาย ของเครื่องมือวัด และประเมินผล ที่กําหนดได กอนที่จะนํามาใช ความรูที่ครู มาตรฐานการเรียนรู / ตัวชี้วัด / สาระการเรียนรู วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน จิตวิทยาวัยรุน การจัดเตรียม จําเปนตองมี สื่อและเทคโนโลยี แหลงเรียนรู เนื้อหา คุณธรรมของครู ความอดทน ความเพียรพยายาม ความเที่ยงตรง ยุติธรรม และมีเมตตา
  • 12. 12 ๒. ผลที่เกิดกับผูเรียนสอดคลองกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู ๒.๑ ผูเรียนไดเรียนรูหลักคิด และฝกปฏิบัติ ตามหลัก ๓ หวง ๒ เงื่อนไข ดังนี้ พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุมกันในตัวที่ดี - ผูเรียนมีความพอประมาณ - การจัดสรรแบงเวลาที่ - มีการวางแผนการจัดสรรเวลา ให กับการปฏิบัติกจกรรมการเรียนรูให เหมาะสมจะทําใหการปฏิบัติ ิ ความสําคัญกับการปฏิบัติกิจกรรม ดําเนินไปตามลําดับขั้นตอน กิจกรรมการเรียนรูเปนไปตาม การเรียนรูอยางเทาเทียมกัน  - ผูเรียนแตละกลุม มีการ ขั้นตอน และดําเนินไปไดดวยดี - มีการเตรียมการแกปญหาในกรณี แบงหนาที่รบผิดชอบการทํา ั - การแบงภาระงานกัน ที่เพื่อนที่รบผิดชอบภาระงานในสวน ั กิจกรรมไดพอประมาณกับ ในกลุม ทําตามความสามารถ นั้นไมมาหรือปฏิบัติกจกรรมไมสําเร็จ ิ ความสามารถของแตละคน ของแตละคนทําใหงานเสร็จ - นักเรียนมีการเตรียมการ หลักพอเพียง - ผูเรียนมีการจัดสรรเวลาในการ ตรงตามกําหนดเวลา แกปญหาในกรณีที่ภาระงาน ปฏิบัติกิจกรรม และภาระงาน - การจัดสรรเวลาที่ดี ทําให ที่ไดรับมอบหมายมีขอผิดพลาด ที่ไดรับมอบหมายทังใน และนอก กิจกรรม/งานทีปฏิบัติมี ้ ่ และสามารถแกไขไดทันเวลา หองเรียน พรอมทั้งการนําเสนอผล โอกาสประสบความสําเร็จ ที่กําหนด การปฏิบัตกิจกรรม ิ และผลงาน/ชิ้นงานที่นาพอใจ ไดอยางเหมาะสมกับความสามารถ และระดับชั้นของผูเรียน ความรู เรื่อง ทรัพยากรธรรมชาติ และสิงแวดลอม พฤติกรรมกลุมของนักเรียน การคนหาขอมูลจากแหลงเรียนรูใน ่  ชุมชน วิธีการเรียนรูจากแหลงเรียนรูภายในภายนอกโรงเรียน วิธีการนําเสนอผลการปฏิบัติกจกรรม ิ คุณธรรม ความอดทน ความเพียรพยายาม ความเสียสละ มีวินัยในตนเอง มีน้ําใจ
  • 13. 13 ๒.๒ ผูเรียนไดเรียนรูการใชชีวิตที่สมดุล และพรอมรับการเปลี่ยนแปลงใน ๔ มิติ ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้ ..สมดุล และพรอมรับการเปลี่ยนแปลงในดานตาง ๆ ดาน วัตถุ สังคม สิ่งแวดลอม วัฒนธรรม องคประกอบ - ใชวัสดุ อุปกรณที่ - การแลกเปลี่ยนความรู - เขาใจความหมาย เหมาะสมกับการ ความคิดเห็นภายในกลุม ตนเหตุของการเกิด ปฏิบัติกิจกรรม และภายในหองเรียน ปญหา และมลภาวะ ความรู - ใชเวลาอยางคุมคา - การเปนผูนําเสนอ จากการใช - และเหมาะสมตอ และผูฟงที่ดี  ทรัพยากรธรรมชาติ การปฏิบัตกิจกรรม ิ และสิงแวดลอม ่ - ทักษะการเลือกใช - การแบงหนาที่การทํา - มีทักษะในการอนุรักษ วัสดุ อุปกรณ ในการ กิจกรรมภายในกลุม ทรัพยากรธรรมชาติ ทักษะ ปฏิบัติกรรม และสิงแวดลอม ่ - - การเลือกใชแหลง - การทํางานรวมกันเปน - ตระหนักถึงการ เรียนรู และอุปกรณ กลุม เปนหมูคณะ แกปญหาการใช ประกอบการเรียน - การรูบทบาทหนาที่ ทรัพยากรธรรมชาติ คานิยม เรื่อง ของของตนเอง และ และอนุรกษสงแวดลอม ั ิ่ - ทรัพยากรธรรมชาติ สมาชิกในกลุม รวมกัน ที่ประหยัด เกิด ประโยชนสูงสุด
  • 14. 14