SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 62
Baixar para ler offline
หนวยการเรียนรูที่ 2 เรื่อง กราฟ
รายวิชาที่นํามาบูรณาการ
       การงานพื้นฐานอาชีพ ศิลปะ ภาษาไทย

1. มาตรฐานการเรียนรู
       มฐ. ค 4.2 ม.3/1, 2, 3, 4, 5

2. ตัวชี้วัดชั้นปที่เกี่ยวของ
         ค 4.2 ม.3/1, 2, 3, 4, 5

3. สาระการเรียนรูประจําหนวย
   3.1 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางปริมาณที่มีความสัมพันธเชิงเสน
   3.2 กราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปร
   3.3 กราฟกับการนําไปใช

4. รองรอยการเรียนรู
   4.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ไดแก
        1) ผลงานจากการทําแบบฝกหัด 1 – 3
        2) ผลงานจากการทําแบบทดสอบ
   4.2 ผลการปฏิบัติงานไดแก
        1) การปฏิบัติกิจกรรมในชั้นเรียนและการใชบริการของโรงเรียนอยางเหมาะสม
        2) การมีสวนรวมในกาปฏิบัติกิจกรรมกลุม
   4.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนจบหนวยการเรียนรู
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                             68

5. แนวทางการจัดกิจกรรมในภาพรวม

                                                    แนวทางการจัดการเรียนรู
       รองรอยการเรียนรู
                                               บทบาทครู                บทบาทนักเรียน
 5.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ไดแก
     1) การทําแบบฝกหัด1–3 - อธิบายเนื้อหาในแตละเรื่อง                 - ฝ ก คิ ด ตามและร ว มทํ า
                                                                          กิจกรรมในชั้นเรียน
                                   - แนะการทํ า แบบฝ ก หั ด และ
                                      กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ - ทําแบบฝกหัด
       2) การทําแบบทดสอบ           - อธิ บ ายสรุป ความคิ ด รวบยอด - ทํ า แบบทดสอบหน ว ย
                                     ในแตละเรื่อง                  ยอยเปนรายกลุม
 5.2 ผลการปฏิบัติงานไดแก
     1) การปฏิบัติกิจกรรมใน - แนะนําวิธีการเขียนแผนผังสรุป - ให นั ก เรีย นเขี ย นแผนผั ง
        ชั้ น เรี ย นและการใช ความคิดรวบยอดเพื่อสรุปเนื้อ ความคิดประจําหนวย
        บริ ก ารของโรงเรี ย น หาประจําหนวย
        อยางเหมาะสม           - แนะนํ าให นั ก เรี ย นใช บ ริ ก าร - ให นั กเรี ย น ไป ค น คว า
                                 ห อ งสมุ ด ของโรงเรี ย นอย า ง โจทย ใ นห อ งสมุ ด โรง
                                 เหมาะสม                                 เรียนและห องสมุ ด กลุ ม
                                                                         ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู
    2) การมี ส ว นร ว มในการ - แนะนําวิธีการจัดกลุมและการ คณิตศาสตร
        ปฏิบัติกิจกรรมกลุม    ทํากิจกรรมกลุม                        - ใหนักเรียนจัดกลุมตามที่
                                                                        ครูมอบหมายและชวยกัน
                                                                        ทํากิจกรรมในชั้นเรียน
 5.3 ก า ร ท ด ส อ บ วั ด ผ ล - สรุปเนื้อหาที่สําคัญตามแผนผัง - ทําแบบทดสอบหลังเรียน
     สัมฤทธิ์ทางการเรียน         ความคิดรวบยอดประจําหนวย จบ
                                 อีกครั้ง
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                       69

                        แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 (ชั่วโมงที่ 1)
         เรื่อง กราฟแสดงความสัมพันธระหวางปริมาณที่มีความสัมพันธเชิงเสน
                                  เวลา 1 ชั่วโมง
1. เปาหมายการเรียนรู
    1.1 ผลการเรียนรู
         1) สามารถเขี ย นกราฟแสดงความเกี่ ย วข อ งระหวางปริม าณสองชุ ด ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ
เชิงเสนได
         2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
    1.2 จุดประสงคการเรียนรู
          สามารถเขียนกราฟแสดงความเกี่ยวของระหวางปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธเชิงเสน
ได

2. สาระสําคัญ
     2.1 สาระการเรียนรู
          ในชีวิตประจําวันนั้น เราจะสังเกตเห็นถึงความสัมพันธเชิงเสนระหวางปริมาณสองปริมาณ
อยูเปนประจํา เชน ปริมาณสินคากับราคา เปนตน และเราสามารถนําความสัมพันธเหลานั้นมาเขียน
เปนคูอันดับได และจากคูอันดับดังกลาว เราก็สามารถนํามาเขียนความสัมพันธในรูปของกราฟ
แสดงความเกี่ยวของระหวางปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธเชิงเสนได
     2.2 ทักษะ / กระบวนการ
          การคิดวิเคราะห การตีความหมาย การคิดคํานวณ
     2.3 ทักษะการคิด
          ทักษะการคิดคํานวณ ทักษะการคิดสรุปความ ทักษะการคิดแปลความ ทักษะการคิด
วิเคราะห ทักษะการใหเหตุผล

3. รองรอยการเรียนรู
   3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน
        ผลงานจากการทําแบบฝกหัด 1
   3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
        1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน
        2) เลือกหัวหนากลุม
        3) หัวหนากลุมแบงงาน
        4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรม
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                     70

        5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
        6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ
        7) สงงาน
    3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
        1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม
         2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
    3.4 ความรูความเขาใจ
         นักเรียนสามารถอธิบายความหมายของเลขยกกําลังได

4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
   เกณฑขั้นต่ํา
      1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป
      2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป
      3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป
   การสรุปผลการประเมิน
      ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ

5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู
    5.1 ขั้นนํา
           ชั่วโมงที่ 1 (กราฟแสดงความสัมพันธระหวางปริมาณที่มีความสัมพันธเชิงเสน)
          ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับวา ในชีวิตประจําวันนั้น เราจะสังเกตเห็นถึงความสัมพันธ
เชิงเส น ระหวางปริม าณสองปริม าณอยูเปน ประจํา เชน ปริม าณสิน ค ากับ ราคา เป น ตน และเรา
สามารถนําความสัมพันธเหลานั้นมาเขียนเปนคูอันดับได และจากคูอันดับดังกลาว เราก็สามารถนํา
มาเขียนความสัมพันธในรูปของกราฟได
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                              71


   5.2 ขั้นสอน
                               กิจกรรมการเรียนการสอน                             ฝกการคิดแบบ
 ชั่วโมงที่ 1 (กราฟแสดงความสัมพัน ธระหวางปริม าณที่มีความสัมพัน ธเชิง
 เสน)
 1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับวา ในชีวิตประจําวันนั้น เราจะสังเกตเห็นถึง ทักษะการคิดสรุปผล
 ความสัมพันธเชิงเสนระหวางปริมาณสองปริมาณอยูเปนประจํา เชน ราคาคา ทักษะการคิดวิเคราะห
 โดยสารรถประจําทางกับจํานวนคน ปริมาณสินคากับราคา เปนตน
 จากนั้นใหนักเรียนพิจารณาตารางความสัมพันธระหวางจํานวนดินสอกับราคา
 ดินสอ ดังนี้
             จํานวนดินสอ (แทง)                0 1 2 3 4 5
              ราคาดินสอ (บาท)                  0 3 6 9 12 15
 ครูซักถามนักเรียนวาจากความสัมพันธที่ไดจากตาราง เราจะเขียนคูอันดับได
 อยางไร โดยที่ครูใหจํานวนแรกเปนจํานวนดินสอ และจํานวนที่สองเปนราคา
 ดินสอ
 จากนั้นครูใหนักเรียนนําความสัมพันธที่ไดจากตารางดังกลาวมาเขียนเปนคู
 อันดับ จะได
 (0,0), (1,3), (2,6), (3,9), (4,12) และ (5,15)
 เมื่อไดคูอันดับแลว ครูกลาวตอไปวา จากคูอันดับที่เราไดนั้น เราสามารถที่จะ
 นํ ามาเขียนเป น กราฟแสดงความสัมพั น ธได ตอจากนั้ นครูให นั ก เรียนเขี ยน
 กราฟแสดงความสัมพันธ ซึ่งจะเขียนไดดังรูป
              ราคาดินสอ (บาท)
                 15                        •(5,15)
                 12                   •(4,12)
                  9              •(3,9)
                  6         •(2,6)
                  3 •(1,3)
                       •                                  จํานวนดินสอ (แทง)
                   0       1 2 3 4          5

 เมื่อนักเรียนเขียนกราฟเรียบรอยแลว ครูซักถามนักเรียนตอไปวา จากกราฟ
 นักเรียนสรุปอะไรไดบาง อภิปรายกันจนไดขอสรุปดังนี้
 กราฟที่ไดจะมีจุดแสดงความสัมพันธเรียงกันเปนแนวเสนตรง
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                      72

                                กิจกรรมการเรียนการสอน                                     ฝกการคิดแบบ
 2. ครูใหนักเรียนพิจารณาตารางแสดงความสัมพันธระหวางจํานวนคนที่ใช ทักษะการคิดวิเคราะห
 บริการรถประจําทางกับราคาคาบริการคนละ 8 บาท
       จํานวนคน            0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
   คาบริการ (บาท) 0 8 16 24 32 40 48 56 64 72 80
 จากนั้นครูลองใหนักเรียนเขียนกราฟแสดงความสัมพันธดังกลาว โดยเริ่มจาก
 การซักถามวา จากตารางขางตนเราสามารถเขียนเปนคูอันดับไดอยางไร เมื่อเรา
 ใหจํานวนแรกเปนจํานวนคน และจํานวนที่สองเปนราคาคาบริการ
 (นั่ น คื อ เราจะได คู อั น ดั บ (0,0), (1,8), (2,16), (3,24), (4,32), (5,40), (6,48),
 (7,56), (8,64), (9,72) และ (10,80) )
 หลังจากที่เราไดคูอันดับแลว ครูใหนักเรียนนําคูอันดับที่ไดมาเขียนกราฟแสดง
 ความสัมพันธ ซึ่งจะไดกราฟ ดังรูป
                คาบริการ (บาท)
                   80                                              (10,80)
                                                             (9,72)
                   64                                    (8,64)
                   56                               (7,56)
                                                (6,48)
                   40                        (5,40)
                                         (4,32)
                   24               (3,24)

                    8     (1,8)
                                (2,16)


                    0                                                        จํานวนคน
                            2       4        6      8         10
 ครูกลาววา กราฟที่เราไดจะมีจุดเรียงกันเปนเสนตรงเชนเดียวกัน
 3. ใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 1 เปนการบาน เพื่อตรวจสอบความเขาใจ โดยครู ทักษะการคิดวิเคราะห
 กําหนดวันและเวลาสงงาน

5.3 ขั้นสรุป
          ในชีวิตประจําวันนั้น เราจะสังเกตเห็นถึงความสัมพันธเชิงเสนระหวางปริมาณสองปริมาณ
อยูเปนประจํา เชน ปริมาณสินคากับราคา เปนตน และเราสามารถนําความสัมพันธเหลานั้นมาเขียน
เปนคูอันดับได และจากคูอันดับดังกลาว เราก็สามารถนํามาเขียนความสัมพันธในรูปของกราฟ
แสดงความเกี่ยวของระหวางปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธเชิงเสนได
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                             73

6. สื่อการเรียนรู / แหลงการเรียนรู
   6.1 สื่อการเรียนรู
        - หนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 1
   6.2 แหลงการเรียนรู
        - หองสมุดโรงเรียน
        - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

7. กิจกรรมเสนอแนะ
     7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห
         ขั้นรวบรวมขอมูล
         ครูมอบหมายใหนักเรียนไปศึกษาเรื่องของกราฟแสดงความสัมพันธระหวางปริมาณที่มี
ความสัมพันธเชิงเสนพรอมทั้งแสดงวิธีการสรางตารางและเขียนกราฟอยางละเอียดมาคนละ 5 ขอ
         ขั้นวิเคราะห
         ใหนักเรียนแตละคนวิเคราะหเรื่องที่ตัวเองไปศึกษาคนความา
         ขั้นสรุป
         ครูตรวจผลงานนักเรียนแตละคน พรอมใหขอเสนอแนะแลวใหหัวหนาหองรวบรวมงาน
ทั้งหมดจัดทําเปนรูปเลมรายงาน
         ขั้นประยุกตใช
         ครูใหนักเรียนชวยกันเลือกขอที่นาสนใจแลวนําเสนอหนาชั้นเรียน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                      74

8. บันทึกหลังการสอน

                                     บันทึกหลังการสอน
                        (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน )

               ประเด็นการบันทึก                           จุดเดน        จุดที่ควรปรับปรุง
 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู
 2. การใชสื่อการเรียนรู
 3. การประเมินผลการเรียนรู
 4. การบรรลุผลการเรียนรูของนักเรียน
 บันทึกเพิ่มเติม
 …………………………………………………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………………

                                                                ลงชื่อ…………………………………..
 บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู
 …………………………………………………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………………


                                                           ลงชื่อ………………………………………..
                                                           ตําแหนง…….……..………………………..
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                                                                             75

9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล
       กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจและแบบฝกหัดในหนังสือเรียน
    แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
                     แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร
 ชื่อนักเรียน .................................. ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................. ป ..................
 ครั้งที่ ................................................................ ผูสังเกต ......................................................................
                                                                                                      ระดับการประเมิน
                           หัวขอการประเมิน
                                                                                    ดีมาก             ดี          พอใช ควรปรับปรุง
  ความสนใจ
  การตอบคําถาม
  การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน
   การใชความรูทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร
   ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ
   ความสามารถในการใชภาษาและสื่อลักษณทาง
   คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย

แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน

                                                   แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน
ชื่อนักเรียน .................................. ชั้น .......... วันที่ ................ เดือน ............................. ป ....................
 ครั้งที่ ................................................................. ผูสังเกต ......................................................................
                                                                                                  ระดับการประเมิน
                      หัวขอการประเมิน
                                                                             ดีมาก           ดี ปานกลาง นอย นอยมาก
  การวางแผน
  การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน
  การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด
  ความคิดสรางสรรค
  ผลการทํางาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                     76



                           แผนการจัดการเรียนรูที่ 2 (ชั่วโมงที่ 2 – 13)
                            เรื่อง กราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปร
                                        เวลา 12 ชั่วโมง
1. เปาหมายการเรียนรู
   1.1 ผลการเรียนรู
        1) สามารถเขียนกราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปรได
        2) สามารถหาระยะตัดแกน X และระยะตัดแกน Y ของกราฟของสมการเชิงเสนสองตัว
แปรได
        3) สามารถหาความชันของเสนตรงได
        4) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
   1.2 จุดประสงคการเรียนรู
        1) สามารถเขียนกราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปรได
        2) สามารถหาระยะตัดแกน X และระยะตัดแกน Y ของกราฟของสมการเชิงเสนสองตัว
แปรได
        3) สามารถหาความชันของเสนตรงได

2. สาระสําคัญ
    2.1 สาระการเรียนรู
         1) รูปทั่วไปของสมการเชิงเสนสองตัวแปร คือ Ax + By + C = 0 เมื่อ A, B และ C เปนคา
คงตัว และ A, B ไมเปนศูนยพรอมกัน
         2) กราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปร คือคูอันดับทุกคูอันดับที่สอดคลองกับสมการ
         3) ระยะตัดแกน X ของกราฟ คือพิกัด x ของจุดที่กราฟตัดแกน X
         4) ระยะตัดแกน Y ของกราฟ คือพิกัด y ของจุดที่กราฟตัดแกน Y
         5) ความชัน m ของเสนตรงที่ไมขนานกับแกน Y ที่ผานจุดสองจุด (x1, y1) และ (x2, y2) เมื่อ
x1 ≠ x2 คือ m = อัตราการเปลี่ยนแปลงใน y
                     อัตราการเปลี่ยนแปลงใน x
                   = y2 − x1
                     x −
                          y
                       2   1
                      y1 − y2
                  =   x1 − x2

       6) y2 – y1 = m(x2 – x1) เปนสมการเสนตรงที่ผานจุด (x1, y1) และมีความชันคือ m
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                 77



   2.2 ทักษะ / กระบวนการ
       ทักษะการวิเคราะห ทักษะการตีความหมาย ทักษะการคิดคํานวณ
   2.3 ทักษะการคิด
        ทักษะการคิดคํานวณ ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการใหเหตุผล ทักษะการคิดจัดลําดับ
ทักษะการคิดแปลความและสรุปความ ทักษะการแกปญหา

3. รองรอยการเรียนรู
    3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน
        1) ผลงานจากการทําแบบฝกหัด 2
        2) ผลงานจากการทําแบบทดสอบ
    3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
        1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน
        2) เลือกหัวหนากลุม
        3) หัวหนากลุมแบงงาน
        4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรม
        5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
        6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ
        7) สงงาน
    3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
        1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม
         2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
   3.4 ความรูความเขาใจ
        1) นักเรียนสามารถเขียนกราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปรได
        2) นักเรียนสามารถหาระยะตัดแกน X และระยะตัดแกน Y ของกราฟของสมการเชิงเสน
สองตัวแปรได
        3) นักเรียนสามารถหาความชันของเสนตรงได

4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
   เกณฑขั้นต่ํา
      1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป
      2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป
      3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                   78

   การสรุปผลการประเมิน
      ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ

5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู
     5.1 ขั้นนํา
          ชั่วโมงที่ 1-2 (สมการเชิงเสนสองตัวแปรและพิกัดคารทีเซียน)
          ครูสนทนาและซักถามนักเรียนวารูจักสมการเชิงเสนสองตัวแปรหรือไม มีลักษณะเปนเชน
ใด และมีรูปทั่วไปอยูในลักษณะอยางไร
          ครูกลาววารูปทั่วไปของสมการเชิงเสนสองตัวแปรคือ Ax + By + C = 0
เมื่อ A, B และ C เปนคาคงตัว และ A, B ไมเปนศูนยพรอมกัน พรอมทั้งยกตัวอยางประกอบเพื่อ
ความเขาใจ
          จากนั้นครูแนะนําถึง พิกัดคารทีเซียนตอ โดยการใชภาพประกอบ
          ชั่วโมงที่ 3 (กราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปร)
          ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องของการเขียนกราฟเชิงเสนของสมการเชิงเสนสองตัว
แปร วามีลักษณะเปนเชนไร เปนแบบไหน และเขียนไดอยางไร จนสรุปไดวา
          กราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปร คือคูอันดับทุกคูอันดับที่สอดคลองกับสมการ ซึ่งมีคู
อันดับของจํานวนไมจํากัดที่สอดคลองกับสมการเชิงเสน และกราฟจะมีจํานวนจุดมากมายไมจํากัด
ซึ่งสามารถแสดงวากราฟของสมการเชิงเสนเปนเสนตรง และกราฟจะสามารถสรางไดเมื่อทราบจุด
เพียงสองจุด แตเราควรสรางจากจุดสามจุดเพื่อใชจุดที่สามสําหรับตรวจสอบ
        ชั่วโมงที่ 4 (ระยะตัดแกน X และระยะตัดแกน Y)
        ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องของกราฟของสมการเชิงเสนในชั่วโมงที่แลว ตอจากนั้น
ครูแนะนํานักเรียนวา จุดบางจุดมีประโยชนในการเขียนกราฟเสนตรง เชน จุดที่กราฟตัดแกนทั้ง
สอง
          - ระยะตัดแกน X ของกราฟคือ พิกัด x ของจุดที่กราฟตัดแกน X ซึ่งมีพิกัด y ของจุดนี้เปน
ศูนย
          - ระยะตัดแกน Y ของกราฟคือ พิกัด y ของจุดที่กราฟตัดแกน Y ซึ่งมีพิกัด x ของจุดนี้เปน
ศูนย
        จากนั้นครูนําเสนอตัวอยางเพื่อเพิ่มความเขาใจ
        ชั่วโมงที่ 5-6 (ระยะตัดแกน X และระยะตัดแกน Y ตอ)
        ครูทบทวนเรื่องระยะตัดแกน X และระยะตัดแกน Y ที่เรียนในชั่วโมงที่แลว ตอจากนั้นครู
นําเสนอตัวอยางเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                     79

       ชั่วโมงที่ 7 (ความชันของเสนตรง)
       ครูใหนักเรียนพิจารณาตารางคาของ x และ y ที่เปลี่ยนแปลงไปของสมการเชิงเสน จากนั้น
ครูใหบทนิยามการเปลี่ยนแปลงของ y สําหรับแตละหนวยของการเปลี่ยนแปลงใน x นั่นคือ บท
นิยามของความชันของเสนตรง นั่นเอง
ความชัน m ของเสนตรงที่ไมขนานกับแกน Y ที่ผานจุดสองจุด (x1, y1) และ (x2, y2) เมื่อ x1 ≠ x2 คือ
             m = อัตราการเปลี่ยนแปลงใน y
                      อัตราการเปลี่ยนแปลงใน x
                   = y2 − x1
                      x −
                          y
                       2   1
                      y1 − y2
                  =   x1 − x2

จากนั้นครูนําเสนอตัวอยางเพื่อประกอบความเขาใจของนักเรียน
        ชั่วโมงที่ 8-9 (ความชันของเสนตรง ตอ)
        ครูนําเสนอตัวอยางเพิ่มเติม หลังจากนั้นใหนักเรียนพิจารณากราฟเสนตรงที่ขนานกับแกน X
และกราฟเสนตรงขนานกับแกน Y ตอจากนั้นครูซักถามนักเรียนถึงความชันของกราฟทั้งสองรูปวา
มีความชันเทาไร อภิปรายจนไดขอสรุปวา
        - สําหรับกราฟเสนตรงที่ขนานกับแกน X จะมีความชันเปนศูนย
        - สําหรับกราฟเสนตรงขนานกับแกน Y จะหาคาความชันไมได
        ชั่วโมงที่ 10 (การหาสมการเสนตรง)
        ครูนําเสนอตัวอยางของการหาสมการเสนตรงที่ผานจุด (x1, y1) และมีความชัน m
        ชั่วโมงที่ 11 (การหาสมการเสนตรง ตอ)
        ครูนําเสนอตัวอยางของการหาสมการเสนตรงที่ผานจุด (x1, y1) และ (x2, y2)
        ชั่วโมงที่ 12 (การหาสมการเสนตรง ตอ)
        ครูนําเสนอตัวอยางของการหาสมการเสนตรงที่มีความชัน m และระยะตัดแกน Y เทากับ c
    5.2 ขั้นสอน
                              กิจกรรมการเรียนการสอน                                  ฝกการคิดแบบ
 ชั่วโมงที่ 1 (สมการเชิงเสนสองตัวแปร)
 1. ครูสนทนาและซักถามนักเรียนวารูจักสมการเชิงเสนสองตัวแปรหรือไม มี ทักษะการคิดวิเคราะห
 ลักษณะเปนเชนใด และมีรูปทั่วไปอยูในลักษณะอยางไร                              ทักษะการตีความหมาย
 จากนั้นครูกลาวตอไปวารูปทั่วไปของสมการเชิงเสนสองตัวแปรคือ
                                   Ax + By + C = 0
 เมื่อ A, B และ C เปนคาคงตัว และ A, B ไมเปนศูนยพรอมกัน โดยที่ x, y เปนตัว
 แปรที่มีเลขชี้กําลังเปนหนึ่งเทานั้น
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                      80

                               กิจกรรมการเรียนการสอน                                  ฝกการคิดแบบ
 จากนั้นครูเขียนตัวอยางสมการใหนักเรียนดูบนกระดาน แลวซักถามนักเรียนวา
 เปนสมการเชิงเสนสองตัวแปรหรือไม ดังนี้
 ตัวอยาง            (1) 2x + 5y – 12 = 0
                     (2) x = 4
                     (3) y = –3
 ซึ่งจากตัวอยาง จะไดวา ขอ (1)-(3) เปนสมการเชิงเสนสองตัวแปร โดยที่
 (1) 2x + 5y – 12 = 0 โดยมี A เทากับ 2, B เทากับ 5 และ C เทากับ –12
 (2) x = 4 หรือ 1x + 0y – 4 = 0 โดยมี A เทากับ 1, B เทากับ 0 และ C เทากับ –4
 (3) y = –3 หรือ 0x + 1y + 3 = 0 โดยมี A เทากับ 0, B เทากับ 1 และ C เทากับ 3
 2. ครูซักถามนักเรียนวา นอกจากตัวอยางที่ครูแสดงใหดู นักเรียนสามารถยกตัว         ทักษะการคิดวิเคราะห
 อยางอื่ น ๆ ได อีก หรือไม ให นั ก เรียนออกมาเขียนบนกระดาน จากนั้ น ครูและ
 เพื่อนชวยกันพิจารณาความถูกตองทีละขอบนกระดาน
 3. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความหมายของคําวาสมการเชิงเสนสองตัวแปรอีก            ทักษะการคิดวิเคราะห
 ครั้ง ใหนั กเรียนไปหาขอมูลเพิ่มเติม และให ไปอานหนั งสือเกี่ยวกับเรื่องพิกัด
 คารทีเซียนที่จะเรียนในชั่วโมงตอไปเปนการบาน
 ชั่วโมงที่ 2 (พิกัดคารทีเซียน)
 4. ครูเขียนเสนตรงในระนาบเสนหนึ่งอยูในแนวนอนและเสนหนึ่งอยูในแนวตั้ง           ทักษะการตีความหมาย
 บนกระดาน และใหเสนตรงทั้งสองเสนตัดกันที่จุดศูนยของทั้งสองเสน ใหนัก           ทักษะการคิดวิเคราะห
 เรียนสังเกตและซักถามวาจะเรียกเสนตรงสองเสนนี้วาอยางไร ใหนักเรียนรวมกัน
 อภิปรายจนไดคําตอบวา แกนพิกัดโดยมีจุด O อยูที่จุดตัดและจุดกําเนิด
 ครูซักถามนักเรียนตอไปดังนี้
           - เสนในแนวนอนเรียกวาแกนอะไร (แกน X)
           - เสนในแนวตั้งเรียกวาแกนอะไร (แกน Y)
 ครูเขียนแสดงใหนักเรียนดูบนกระดานและซักถามนักเรียนวา
           - คาจํานวนจริงบนแกน X ที่อยูทางขวาของศูนย มีคาเปนอะไร (บวก)
           - คาจํานวนจริงบนแกน X ที่อยูทางซายของศูนย มีคาเปนอะไร (ลบ)
           - คาจํานวนจริงบนแกน Y ที่อยูดานบนของศูนย มีคาเปนอะไร (บวก)
           - คาจํานวนจริงบนแกน Y ที่อยูดานลางของศูนย มีคาเปนอะไร (ลบ)
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                               81

                         กิจกรรมการเรียนการสอน                                  ฝกการคิดแบบ
 เพื่อเปนการทบทวนความรูเกาของนักเรียน ครูสนทนากับนักเรียนวา แกนพิกัด
 จะแบงระนาบออกเปนสี่บริเวณ ซึ่งจะเรียกวา จตุภาค แบงไดดังนี้
 ครูแสดงภาพใหนักเรียนดูบนกระดาน แลวใหนักเรียนเขียนลงไปในสมุดจด




 ครูแสดงภาพตอไปนี้บนกระดานใหนักเรียนพิจารณา




 ครู แ นะนํ านั ก เรี ย นต อ ไปว า แต ล ะจุ ด P บนระนาบจะสามารถกํ าหนดคู ข อง
 จํานวน เรียกวา พิกัดคารทีเซียน
 จากภาพครูซักถามนักเรียนวา
     - ถาจากจุด P เราลากเสนตามแนวตั้งจะตัดแกน X ที่จุดใด (a) และ
     - ถาลากเสนตามแนวนอนจะตัดแกน Y ที่จุดใด (b)
 ครูกลาววา ดังนั้น จุด P จะมีพิกัดเปน (a, b) ซึ่งเรียก (a, b) วา คูอันดับของจํานวน
 โดยมี a เปนจํานวนแรก เรียกวาพิกัด X และมี b เปนจํานวนที่สอง เรียกวาพิกัด Y
 และในทางกลับกัน ถากําหนดคูอันดับ (a, b) ของจํานวนจริง เมื่อลากเสนในแนว
 ตั้งที่ผาน a บนแกน X และลากเสนในแนวนอนผาน b บนแกน Y เสนตรงสอง
 เสนนี้ก็จะพบกันที่จุดซึ่งมีพิกัด (a, b)
 5. ใหนักเรียนกําหนดพิกัดคารทีเซียน แลวชวยกันลงบนแกนพิกัด และจากนั้น ทักษะการตีความหมาย
 ครูเขียนภาพแกนพิกัดที่ลงจุดพิกัดคารทีเซียน แลวใหนักเรียนบอกแตละจุดวามี ทักษะการคิดวิเคราะห
 พิกัดคารทีเซียนวาอยางไร ใหนักเรียนรวมกันสรุปอีกครั้งเพื่อตรวจสอบความเขา
 ใจของนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องพิกัดคารทีเซียน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                            82

                               กิจกรรมการเรียนการสอน                                                ฝกการคิดแบบ
 6. ครูแบงนักเรียนออกเปน 4 กลุม กลุมละเทาๆ กัน ครูแสดงภาพการลงจุดบน ทักษะการคิดวิเคราะห
 แกนพิ กั ด จากนั้ น ให นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ ม สั ง เกต แล ว ช ว ยกั น เขี ย นว า มี พิ กั ด
 คารทีเซียนเปนคูอันดับใดบาง ในเวลาที่จํากัด แลวครูตรวจสอบวาถูกตองหรือไม
 กลุมใดไดคะแนนมากที่สุดกลุมนั้นเปนฝายชนะ
 ชั่วโมงที่ 3 (กราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปร)
 7. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องของการเขียนกราฟเชิงเสนของสมการเชิง ทักษะการคิดสรุปความ
 เสนสองตัวแปร วามีลักษณะเปนเชนไร เปนแบบไหน และเขียนไดอยางไร จน ทักษะการคิดวิเคราะห
 สรุปไดวา
 กราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปร คือ คูอันดับทุกคูอันดับที่สอดคลองกับสม
 การ ซึ่งมีคูอันดับของจํานวนไมจํากัดที่สอดคลองกับสมการเชิงเสน และกราฟจะ
 มีจํานวนจุดมากมายไมจํากัด ซึ่งสามารถแสดงวากราฟของสมการเชิงเสนเปน
 เสนตรง และกราฟจะสามารถสรางไดเมื่อทราบจุดเพียงสองจุด แตเราควรสราง
 จากจุดสามจุดเพื่อใชจุดที่สามสําหรับตรวจสอบ ดังตัวอยางตอไปนี้
 ตัวอยาง จงเขียนกราฟของสมการ 2x + y – 5 = 0
 วิธีทํา ครูซักถามนักเรียนวา เราจะเขียนกราฟของสมการดังกลาวไดอยางไร นั่น
 คือ จากสมการ 2x + y – 5 = 0 เราเขียนใหมไดเปน y = – 2x + 5
 จากนั้นเราจะกําหนดคา x บางคา เพื่อหาคา y ที่สอดคลองกับสมการ
 2x + y – 5 = 0
 กลาวคือให x = 0 เราจะไดคา y = – 2(0) + 5 = 0 + 5 = 5
           ให x = 1 เราจะไดคา y = – 2(1) + 5 = –2 + 5 = 3
           ให x = 2 เราจะไดคา y = – 2(2) + 5 = –4 + 5 = 1
           ให x = 2.5 เราจะไดคา y = – 2(2.5) + 5 = –5 + 5 = 0
 เมื่อเราไดคา x และ y บางคาที่สอดคลองกับสมการ 2x + y – 5 = 0 แลว เราก็นําคา
 เหลานั้นมาเขียนกราฟของ 2x + y – 5 = 0 ไดดังนี้
                                   Y


                               5 • (0,5)
                               4
                               3 • (1,3)
                               2
                               1         • (2,1)
                                                          X
                               0       1 2 34 5
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                         83

                              กิจกรรมการเรียนการสอน                                           ฝกการคิดแบบ
 8. ใหนั กเรียนแบงกลุม กลุมละ 3 – 5 คน แลวใหไปศึกษาคน ควาเพิ่มเติมจาก ทักษะการคิดวิเคราะห
 แบบฝ ก หั ด 2 ข อ 1 ข อ (1), (2), (5), (8),(10), (12), (16), (17), (18) โดยครู แ บ ง ทักษะการคิดคํานวณ
 โจทยป ญ หาให ซึ่งแตละกลุ มจะไดไมซ้ํากัน แลวนํ ามาเสนอทายชั่วโมงอยาง
 ละเอียด โดยการกําหนดคา x บางคา เพื่อหาคา y ที่สอดคลองกับสมการนั้นๆ โดย
 ครูและเพื่อนนักเรียนคนอื่นตรวจสอบความถูกตอง และรวมกันสรุปอีกครั้งหนึ่ง
 เพื่อตรวจสอบความเขาใจ
 เฉลย
 (1) จงเขียนกราฟของสมการเชิงเสน 2x – y = 8




 (2) จงเขียนกราฟของสมการเชิงเสน 3x – y = 6
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1         84

                       กิจกรรมการเรียนการสอน              ฝกการคิดแบบ
 (5) จงเขียนกราฟของสมการเชิงเสน 2x + 5y = 12




 (8) จงเขียนกราฟของสมการเชิงเสน 3x + y = 12




 (10) จงเขียนกราฟของสมการเชิงเสน y + 6 = 0
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1         85

                       กิจกรรมการเรียนการสอน              ฝกการคิดแบบ
 (12) จงเขียนกราฟของสมการเชิงเสน y = – 2x




 (16) จงเขียนกราฟของสมการเชิงเสน y = x




 (17) จงเขียนกราฟของสมการเชิงเสน x = –5
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                             86

                       กิจกรรมการเรียนการสอน                                  ฝกการคิดแบบ
 (18) จงเขียนกราฟของสมการเชิงเสน x + 2y + 6 = 0




 ชั่วโมงที่ 4 (ระยะตัดแกน X และระยะตัดแกน Y)
 9. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องของกราฟของสมการเชิงเสนในชั่วโมงที่ ทักษะการคิดวิเคราะห
 แลว ตอจากนั้นครูแนะนํานักเรียนวา จุดบางจุดมีประโยชนในการเขียนกราฟเสน
 ตรง เชน จุดที่กราฟตัดแกนทั้งสอง
           - ระยะตัดแกน X ของกราฟคือ พิกัด x ของจุดที่ กราฟตัดแกน X ซึ่งมี
 พิกัด y ของจุดนี้เปนศูนย
           - ระยะตัดแกน Y ของกราฟคือ พิกัด y ของจุดที่กราฟตัดแกน Y ซึ่งมี
 พิกัด x ของจุดนี้เปนศูนย
 จากนั้นครูนําเสนอตัวอยางใหนักเรียนไดศึกษา
 ตัวอยางที่ 1 กราฟเสนตรงตัดแกน X ที่จุด (–5, 0) และตัดแกน Y ที่ (0, 2) ดังนั้น
 ระยะตัดแกน X คือ –5 และระยะตัดแกน Y คือ 2 แสดงกราฟไดดังนี้
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                              87

                             กิจกรรมการเรียนการสอน                             ฝกการคิดแบบ
 ใหนักเรียนชวยกันกําหนดจุดที่ตัดแกนทั้งสองแลวใหชวยกันเขียนกราฟ และให
 นักเรียนอานพิกัดของจุดตัดของกราฟที่ครูกําหนดใหบนกระดาน ครูและนักเรียน
 ชวยกันสรุประยะตัดแกน X และระยะตัดแกน Y อีกครั้ง
 10. ตอจากนั้นครูนําเสนอตัวอยางที่ 2 แลวใหนักเรียนศึกษาการหาระยะตัดแกน ทักษะการคิดวิเคราะห
 X และระยะตัดแกน Y ดังนี้                                                  ทักษะการคิดคํานวณ
 ตัวอยางที่ 2 กําหนด y = –2x + 3 จงหาระยะตัดแกน X ระยะตัดแกน Y และ
 เขียนกราฟ
 วิธีทํา ครูอธิบายใหนักเรียนฟงและเขียนบนกระดานใหนักเรียนไดศึกษาและทํา
 ความเขาใจ ดังนี้
 หาระยะตัดแกน X ให y = 0 จะได 0 = –2x + 3
                                       2x = 3
                                        x= 32
 ดังนั้น ระยะตัดแกน X คือ     3
                              2
 หาระยะตัดแกน Y ให x = 0 จะได y = –2(0) + 3 = 3
 ดังนั้น ระยะตัดแกน Y คือ 3
 จากนั้นหาจุดอื่นโดยการกําหนดคา x แลวหาคา y
 ให x = 1 จะได                 y = –2(1) + 3 = –2 + 3 = 1
 และเรารูวาถาให x = 0 จะได y = –2(0) + 3 = 0 + 3 = 3
 และถาให x = 3 จะได
                    2
                                 y = –2( 3 ) + 3 = –3 + 3 = 0
                                         2
 ดังนั้นลงจุด ( 3 , 0), (0, 3) และ (1, 1) เขียนกราฟได
                2




 ตอบ กราฟ y = –2x + 3 มีระยะตัดแกน X เปน 3 และระยะตัดแกน Y เปน 3
                                          2
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                       88

                           กิจกรรมการเรียนการสอน                                       ฝกการคิดแบบ
 ครูกลาวตอไปวา เมื่อแทน x ดวย 1 แทน y ดวย 2 จะทําใหสมการเปนจริง แลว
                                  2
 ใหนักเรียนตรวจสอบคําตอบ โดยกําหนดคา x อื่นๆ แลวหาคา y จากนั้นพิจารณา
 วาจุดที่นักเรียนหาไดอยูบนกราฟหรือไม
 11. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3-5 คน ซึ่งเปนกลุมเดียวกันกับเมื่อชั่วโมงที่แลว ทักษะการคิดวิเคราะห
 แลว ใหไปหาระยะตัดแกน X และระยะตัดแกน Y ของกราฟที่กลุมของนักเรียน ทักษะการคิดคํานวณ
 เขี ย นในชั่ ว โมงที่ แ ล ว จากแบบฝ ก หั ด 2 ข อ 1 (1), (2), (5), (8),(10), (12), (16),
 (17), (18) แลวนํามาเสนอทายชั่วโมง โดยครูและเพื่อนนักเรียนคนอื่นตรวจสอบ
 ความถูกตอง และรวมกันสรุปอีกครั้งหนึ่งเพื่อตรวจสอบความเขาใจ
 เฉลย
 (1) 2x – y = 8




                  ระยะตัดแกน X เปน 4 ระยะตัดแกน Y เปน –8
 (2) 3x – y = 6




                   ระยะตัดแกน X เปน 2 ระยะตัดแกน Y เปน –6
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1             89

                              กิจกรรมการเรียนการสอน           ฝกการคิดแบบ
 (5) 2x + 5y = 12




                                ระยะตัดแกน X เปน 6
 ตอไปหาระยะตัดแกน Y
 จาก 2x + 5y = 12
 เมื่อ x = 0 จะได 2(0) + 5y = 12
                             5y = 12      y = 12
                                               5
                           ดังนั้น ระยะตัดแกน Y เปน 12
                                                      5
 (8) 3x + y = 12




                   ระยะตัดแกน X เปน 4 ระยะตัดแกน Y เปน 12
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                   90

                              กิจกรรมการเรียนการสอน                                 ฝกการคิดแบบ
 (10) y + 6 = 0
 นั่นคือ y + (0)x = –6 เมื่อกําหนดคา x ใดๆ แลวหาคา y เชน
          ถา x = –2 แลว y = –6 นั่นคือ (–2, –6) อยูบนกราฟนี้
          ถา x = 0 แลว y = –6 นั่นคือ (–2, –6) อยูบนกราฟนี้
          ถา x = 3 แลว y = –6 นั่นคือ (–2, –6) อยูบนกราฟนี้ เขียนกราฟไดดังนี้




                    ระยะตัดแกน X ไมมี ระยะตัดแกน Y เปน –6
 (12) y = –2x




                   ระยะตัดแกน X เปน 0 ระยะตัดแกน Y เปน 0
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                  91

                              กิจกรรมการเรียนการสอน                                ฝกการคิดแบบ
 (16) y = x
                                 x      –1      0     1   2
                                 y      –1      0     1   2




                   ระยะตัดแกน X เปน 0 ระยะตัดแกน Y เปน 0
 (17) x = –5
 นั่นคือ x + (0)y = –5 เมื่อกําหนดคา y ใดๆ แลวหาคา x เชน
          ถา y = –2 แลว x = –5 นั่นคือ (–5, –2) อยูบนกราฟนี้
          ถา y = 0 แลว x = –5 นั่นคือ (–5, 0) อยูบนกราฟนี้
          ถา y = 4 แลว x = –5 นั่นคือ (–5, 4) อยูบนกราฟนี้ เขียนกราฟไดดังนี้




                    ระยะตัดแกน X เปน –5 ระยะตัดแกน Y ไมมี
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                     92

                              กิจกรรมการเรียนการสอน                                 ฝกการคิดแบบ
 (18) x + 2y + 6 = 0




                     ระยะตัดแกน X เปน –6 (เมื่อ y = 0 จะได y = –6)
                     ระยะตัดแกน Y เปน –3 (เมื่อ x = 0 จะได y = –3)
 ชั่วโมงที่ 5 (ระยะตัดแกน X และระยะตัดแกน Y ตอ)
 12. ครูทบทวนเรื่องระยะตัดแกน X และระยะตัดแกน Y ที่เรียนในชั่วโมงที่แลว ทักษะการคิดวิเคราะห
 ต อ จากนั้ น ครู นํ าเสนอตั ว อยาง ให นั ก เรีย นศึ ก ษาการเขี ยนกราฟจากสมการที่ ทักษะการคิดคํานวณ
 กําหนดให
 ตัวอยางที่ 3 จงเขียนกราฟของ y = –2
 วิธีทํา ครูซักถามและอธิบายใหนักเรียนฟงถึงวิธีการหาคําตอบจนนักเรียนเขาใจ
 ดังนี้
 เนื่องจาก y = –2 คือ y + 0x = –2
 กรณีนี้จะกําหนดคา y เพื่อหาคา x ไมได เนื่องจากจะทําใหสมการเปนเท็จ เราจึง
 ตองกําหนดคา x ตางๆ เชน
 เมื่อ x = 2 จะได y + 0(2) = –2
 เมื่อ x = 5 จะได y + 0(5) = –2
 เมื่อ x = –3 จะได y + 0(–3) = –2
 เมื่อ x = 0 จะได y + 0(0) = –2
 เขียนกราฟของ y = –2 หรือ y + 0x = –2 ไดดังนี้
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                93

                              กิจกรรมการเรียนการสอน                             ฝกการคิดแบบ




 ใหนักเรียนสังเกตและซักถามจากกราฟ จะไดวามีระยะตัดแกน X และระยะตัด
 แกน Y เปนอยางไร จนสรุปไดวา
 กราฟนี้ไมมีระยะตัดแกน X และมีระยะตัดแกน Y เปน –2
 13. ใหนักเรียนลองชวยกันยกตัวอยางสมการที่มีลักษณะเชนนี้ แลวชวยกันหา ทักษะการคิดวิเคราะห
 คําตอบ จากนั้นครูนําเสนอตัวอยางที่ 4 ใหนักเรียนไดศึกษาตอ                   ทักษะการคิดคํานวณ
 ตัวอยางที่ 4 จงเขียนกราฟของ x = 4
 วิธีทํา ครูซักถามนักเรียนถึงลักษณะของกราฟที่จะไดวาเปนอยางไร และใหนัก
 เรียนอธิบายวิธีการทํา จากนั้นครูจึงอธิบายและแสดงใหดูบนกระดานดังนี้
 เนื่องจาก x = 4 คือ x + 0y = 4
 กรณีนี้จะกําหนดคา x เพื่อหาคา y ไมได เนื่องจากจะทําใหสมการเปนเท็จ เราจึง
 ตองกําหนดคา y ตางๆ เชน
 เมื่อ y = 3 จะได x + 0(3) = 4
 เมื่อ y = 5 จะได x + 0(5) = 4
 เมื่อ y = –3 จะได x + 0(–3) = 4
 เมื่อ y = 0 จะได x + 0(0) = 4
 ดังนั้นเขียนกราฟของ x = 4 หรือ x + 0y = 4 ไดดังนี้
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                  94

                              กิจกรรมการเรียนการสอน                               ฝกการคิดแบบ




 ครูซักถามนักเรียนถึงระยะตัดแกน X และระยะตัดแกน Y วามีคาเปนเทาใด ซึ่งจะ
 ไดวา กราฟนี้มีระยะตัดแกน X เปน 4 ไมมีระยะตัดแกน Y
 จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายและสรุปความรูที่ไดจากตัวอยางที่ 3 และ
 4 ไดดังนี้
      - กราฟของ y = k เมื่อ k เปนจํานวนจริง เปนเสนตรงขนานกับแกน X มีระยะ
 ตัดแกน Y เปน k
     - กราฟของ x = k เมื่อ k เปนจํานวนจริง เปนเสนตรงขนานกับแกน Y มีระยะ
 ตัดแกน X เปน k
 14. ใหนักเรียนจดโจทยสมการบนกระดานแลวใหนักเรียนไปเขียนกราฟและหา            ทักษะการคิดวิเคราะห
 ระยะตัดแกน X และระยะตัดแกน Y เปนการบาน โดยครูกําหนดวันและเวลาสง            ทักษะการคิดคํานวณ
 เชน
     (1) y = –2                     (2) x = –4
     (3) y = 10                     (4) x = 8
     (5) x = 12
 ชั่วโมงที่ 6 (ระยะตัดแกน X และระยะตัดแกน Y ตอ)
 15. ครูทบทวนสิ่งที่เรียนมาในชั่วโมงที่แลว โดยการสุมใหนักเรียนออกมาเฉลย     ทักษะการคิดวิเคราะห
 แบบฝกหัดที่ครูใหทําสงเปนการบาน ครูตรวจสอบความถูกตองแลวใหนักเรียน      ทักษะการคิดคํานวณ
 ตรวจสมุดของตัวเอง ถาผิดใหแกไขใหถูกตอง โดยครูอาจใชวิธีการอธิบายขอที่
 นักเรียนทําผิดมาก ตอจากนั้นครูนําเสนอตัวอยางที่ 6 ใหนักเรียนไดศึกษาการ
 เขียนกราฟและหาจุดตัดดังนี้
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                             95

                                 กิจกรรมการเรียนการสอน                        ฝกการคิดแบบ
 ตัวอยางที่ 6 จงเขียนกราฟของ y = –2x
 วิธีทํา ครูซักถามถึงวิธีการหาคําตอบของนักเรียน จากนั้น ครูแนะนํ าวิธีการหา
 คําตอบใหนักเรียนฟงดังนี้
 หาระยะตัดแกน X ให y = 0
                   จะได 0 = –2x x = 0
 หาระยะตัดแกน Y ให x = 0
                   จะได y = 0
 จะได (0, 0) เปนจุดบนกราฟ
 ใหนักเรียนชวยกันหาจุดอื่นๆ บนกราฟ
 โดยให x = 1 จะได y = –2(1) y = –2
 จะได (1, –2) เปนจุดบนกราฟ
 ให x = 2 จะได           y = –2(2) y = –4
 จะได (2, –4) เปนจุดบนกราฟ
 ใหนักเรียนชวยกันนําจุดที่ไดมาลงในกราฟ ซึ่งจะไดดังนี้
 เขียนกราฟของ y = –2x ไดดังนี้




            กราฟนี้มีระยะตัดแกน X เปน 0 และมีระยะตัดแกน Y เปน 0
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                        96

                            กิจกรรมการเรียนการสอน                                        ฝกการคิดแบบ
 16. ครูแบงนักเรียนออกเปน 4 กลุม กลุมละเทาๆ กัน ครูใหนักเรียนแขงกันเขียน      ทักษะการคิดวิเคราะห
 กราฟ และหาจุดตัดจากสมการที่เรียนมา โดยครูเขียนโจทยใสลงในแกว แลวให              ทักษะการคิดคํานวณ
 นักเรียนสงตัวแทนมาจับฉลาก แลวใหนํากลับไปชวยกันคิดและนํากลับมาเสนอ
 หนาชั้นเรียน กลุมใดเสร็จกอน ทําถูก และเรียบรอยที่สุด กลุมนั้นเปนฝายชนะ ครู
 ใหคําชมเชยกับนักเรียนทีมที่ทําถูกและทันตามเวลา และใหคําแนะนํากับนักเรียน
 ที่ทําผิด เชน
     (1) จงเขียนกราฟของ y = –8x
     (2) จงเขียนกราฟของ y = 5
     (3) จงเขียนกราฟของ y = 2x + 4
     (4) จงเขียนกราฟของ x = –3 เปนตน
 ชั่วโมงที่ 7 (ความชันของเสนตรง)
 17. ใหนักเรียนพิ จารณาคาของ x และ y ที่ เปลี่ยนแปลงไปของสมการเชิงเสน             ทักษะการตีความหมาย
 y = 3x จากตารางตอไปนี้                                                             ทักษะการคิดวิเคราะห
                                                                                     ทักษะการคิดคํานวณ
                                                                                     ทักษะการคิดสรุปความ

 ซึ่งเขียนกราฟไดเปน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                     97

                                  กิจกรรมการเรียนการสอน                               ฝกการคิดแบบ
 จากนั้นครูซักถามนักเรียนจากการพิจารณาวาในขณะที่ x เพิ่มขึ้น 1 หนวย y จะ
 เพิ่มขึ้นกี่หนวย (3 หนวย)
 ครูก ล าวต อ ไปวาจากการพิ จารณาข างตน ให บ ทนิ ยามการเปลี่ ยนแปลงของ y
 สําหรับแตละหนวยของการเปลี่ยนแปลงใน x ไดดังนี้
 บทนิยามของความชันของเสนตรง
 ความชั น m ของเส น ตรงที่ ไ ม ข นานกั บ แกน Y ที่ ผ านจุ ด สองจุ ด (x1, y1) และ
 (x2, y2) เมื่อ x1 ≠ x2 คือ m = อัตราการเปลี่ยนแปลงใน y
                                   อัตราการเปลี่ยนแปลงใน x
                              = y2 − x1
                                x −
                                     y
                                    2     1
                                        y1 − y2
                                =       x1 − x2

 จากนั้นครูอธิบายใหนักเรียนฟงตอไปวา อักษร m มาจากคําในภาษาฝรั่งเศสวา
 montier ซึ่งหมายถึงความชัน
 ใหนักเรียนรวมกันพิจารณาวา เสนตรงเสนหนึ่งจะมีความชันไดกี่คา ครูจึงอธิบาย
 วา สําหรับเสนตรงเสนหนึ่งจะมีความชันเพียงคาเดียวเทานั้น
 18. ครูนําเสนอการหาความชันจากตัวอยางที่ 7 ใหนักเรียนไดศึกษา โดยมีครูเปน ทักษะการคิดวิเคราะห
 ผูอธิบายจนนักเรียนเขาใจดังนี้                                                ทักษะการคิดคํานวณ
 ตัวอยางที่ 7 จงหาความชันของเสนตรงซึ่งผานจุด (1, 2) และ (2, 4)
 วิธีทํา ครูอธิบายและแสดงใหนักเรียนดู โดยการเขียนกราฟของเสนตรงที่ผานจุด
 (1, 2) และ (2, 4) ไดดังนี้




                                                          y2 − y1
 จากนั้นอธิบายวาความชัน m ของเสนตรงคือ m =              x2 − x1
                                                                    เมื่อ x1 ≠ x2
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                    98

                           กิจกรรมการเรียนการสอน                                    ฝกการคิดแบบ
 เสนตรงผานจุด (1, 2) และ (2, 4) ให (x1, y1) = (1, 2) และ (x2, y2) = (2, 4)
 จะได m = 4 − 1 = 2
               2−
                  2


 ตอบ ความชันของเสนตรงซึ่งผานจุด (1, 2) และ (2, 4) เทากับ 2
 19. ครูกําหนดจุดผาน 2 จุดใหนักเรียน แลวใหนักเรียนเขียนกราฟและหาความ         ทักษะการคิดวิเคราะห
 ชัน 2-3 ตัวอยาง ขึ้นอยูกับความเขาใจของนักเรียน ครูซักถามนักเรียนถึงความชัน
 ที่ไดวามีมุมเปนมุมอะไร ตอจากนั้นครูจึงแนะนําวา ถาวัดมุมจากแกน X ทวนเข็ม
 นาฬิกาไปยังเสนกราฟ แลวไดขนาดของมุมนอยกวา 90° มุมที่ไดคือมุมแหลมกับ
 แกน X
 20. ครูเขียนโจทยบนกระดานใหนักเรียนชวยกันหาคําตอบเปนการบาน โดยครู           ทักษะการคิดวิเคราะห
 กําหนดวันและเวลาสง เชน                                                        ทักษะการคิดคํานวณ
       (1) จงหาความชันของเสนตรงที่ผานจุด (1, 3) และ (2, 6)
      (2) จงหาความชันของเสนตรงที่ผานจุด (1, 4) และ (2, 8)
 หรือตัวอยางอื่นๆ เปนตน
 ชั่วโมงที่ 8 (ความชันของเสนตรง ตอ)
 21. ครูทบทวนเรื่องของการหาความชันของเสนตรงที่เรียนในชั่วโมงที่แลว โดย         ทักษะการคิดวิเคราะห
 การตั้งโจทยใหนักเรียนชวยกันหาคําตอบ และสรุปวามุมที่ไดเปนมุมอะไร           ทักษะการคิดคํานวณ
 เชน จงหาความชันของเสนตรงที่ผานจุด (2, 4) และ (–2, –4) หรือโจทยอื่นๆ ที่
 เกี่ยวของ เปนตน
 จากนั้นครูนําเสนอตัวอยางที่ 8 ใหนักเรียนชวยกันศึกษาและทําความเขาใจ โดย
 ครูเปนผูอธิบายและซักถาม
 ตัวอยางที่ 8 จงหาความชันของเสนตรงซึ่งผานจุด (1, 2) และ (2, –2)
 วิธีทํา ครูซักถามนักเรียนถึงวิธีการหาคําตอบของโจทยขอนี้ ตอจากนั้นครูเขียน
 แสดงวิธีทําบนกระดาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                   99

                                กิจกรรมการเรียนการสอน                               ฝกการคิดแบบ




                                                          y2 − y1
 จากนั้นอธิบายวาความชัน m ของเสนตรงคือ m =              x2 − x1
                                                                    เมื่อ x1 ≠ x2
 เสนตรงผานจุด (1, 2) และ (2, –2) ให (x1, y1) = (1, 2) และ (x2, y2) = (2, –2)
 จะได m = −22− 12 = − 4
               −


 ตอบ ความชันของเสนตรงซึ่งผานจุด (1, 2) และ (2, –2) เทากับ –4
 ใหนักเรียนสังเกตและรวมกันอภิปรายถึงขนาดของมุมของเสนตรงที่เปนความ
 ชัน วามีลักษณะเปนมุมอะไร เหมือนหรือตางจากตัวอยางที่ 7 อยางไร โดยครูเปน
 ผูแนะนํา จนไดขอสรุปดังนี้
 เมื่อวัดมุมจากแกน X ทวนเข็มนาฬิกาไปยังเสนกราฟ ขนาดของมุมจะมากกวา
 90° ซึ่งกลาววา กราฟทํามุมปานกับแกน X
 22. ใหนักเรียนชวยกันพิจารณาโจทยการหาความชันเชน เดียวกับตัวอยางที่ 7 ทักษะการคิดวิเคราะห
 และ 8 ของแบบฝกหัด 2 ขอ 4 (1), (3), (4) และ (5) แลวใหชวยกันหาคําตอบ โดย ทักษะการคิดคํานวณ
 ครูค อยช ว ยเหลื อ ในกรณี ที่ นั ก เรีย นหาคํ าตอบไม ไ ด ห รื อ มี ป ญ หา และให ทํ า
 แบบฝกหัด 2 ขอ 4 ขอที่เหลือเปนการบานโดยกําหนดวันและเวลาสงงาน
 เฉลย
 (1) จงหาความชันของเสนตรงที่ผานจุด (4, 3) และ (2, –1)
 วิธีทํา เนื่องจาก m = y2 − x1 เมื่อ x1 ≠ x2
                          x −
                                y
                            2     1

 เสนตรงผานจุด (4, 3) และ (2, –1) ให (x1, y1) = (4, 3) และ (x2, y2) = (2, –1)
 ดังนั้น m = −21−−43 = 2
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                   100

                         กิจกรรมการเรียนการสอน                                       ฝกการคิดแบบ
 (3) จงหาความชันของเสนตรงที่ผานจุด (–2, –3) และ (2, 3)
 วิธีทํา เนื่องจาก m = y2 − x1 เมื่อ x1 ≠ x2
                       x −
                            y
                            2   1

 เสนตรงผานจุด (–2, –3) และ (2, 3)ให (x1, y1) = (–2, –3) และ (x2, y2) = (2, 3)
 ดังนั้น m = 2 − ((−3)) = 6 = 3
             3
               − −2       4   2

 (4) จงหาความชันของเสนตรงที่ผานจุด (–4, –6) และ (8, –10)
 วิธีทํา เนื่องจาก m = y2 − x1 เมื่อ x1 ≠ x2
                       x −
                            y
                            2   1

 เสนตรงผานจุด (–4, –6) และ (8, –10)ให (x1, y1) = (–4, –6) และ (x2, y2)=(8, –10)
 ดังนั้น m = −8 −−−(4)6) = 12 = −31
              10 −
                 (
                           −4


 (5) จงหาความชันของเสนตรงที่ผานจุด (–4, 3) และ (2, 10)
 วิธีทํา เนื่องจาก m = y2 − x1 เมื่อ x1 ≠ x2
                       x −
                            y
                            2   1

 เสนตรงผานจุด (–4, 3) และ (2, 10) ให (x1, y1) = (–4, 3) และ (x2, y2) = (2, 10)
 ดังนั้น m = 210 (−−3 ) = 7
               − 4        6

 ชั่วโมงที่ 9 (ความชันและสมการเชิงเสน ตอ)
 23. ครูสนทนาและซักถามนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องการหาความชันของเสนตรงมี ทักษะการคิดวิเคราะห
 สูตรในการหาวาอยางไร และมีวิธีการทําอยางไรบาง เพื่อเปนการทบทวนความรู ทักษะการคิดคํานวณ
 เดิมที่เรียนมาแลว ตอจากนั้นใหนักเรียนชวยกันหาความชันจากโจทยตอไปนี้
 ตัวอยางที่ 9 จงหาความชันของเสนตรงซึ่งผานจุด (1, 2) และ (4, 2)
 ใหนักเรียนชวยกันหาคําตอบและออกมาเขียนบนกระดานโดยครูเปนผูแนะนํา ได
 ดังนี้
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3phachanee boonyuen
 
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3srkschool
 

Mais procurados (20)

Unit6
Unit6Unit6
Unit6
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Ex
ExEx
Ex
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 

Destaque

Destaque (20)

Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 

Semelhante a Unit2

Semelhante a Unit2 (15)

Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 

Mais de โรงเรียนบ้านสร้างมิ่ง สพปยโสธรเขตสอง

Mais de โรงเรียนบ้านสร้างมิ่ง สพปยโสธรเขตสอง (16)

แนะนำตนเองก่อนนะครับ
แนะนำตนเองก่อนนะครับแนะนำตนเองก่อนนะครับ
แนะนำตนเองก่อนนะครับ
 
6dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a5
6dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a56dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a5
6dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a5
 
806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685
806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685
806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685
 
58ed6fed2c11a1c6821662303118cde4
58ed6fed2c11a1c6821662303118cde458ed6fed2c11a1c6821662303118cde4
58ed6fed2c11a1c6821662303118cde4
 
Cfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173b
Cfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173bCfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173b
Cfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173b
 
เว็ปช่วยสอน
เว็ปช่วยสอนเว็ปช่วยสอน
เว็ปช่วยสอน
 
กิจกรรมคณิตศาสตร์
กิจกรรมคณิตศาสตร์กิจกรรมคณิตศาสตร์
กิจกรรมคณิตศาสตร์
 
คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์
คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์
คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์
 
คณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจ
คณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจคณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจ
คณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจ
 
Pancom m3
Pancom m3Pancom m3
Pancom m3
 
Pancom m1
Pancom m1Pancom m1
Pancom m1
 
Pancom m2
Pancom m2Pancom m2
Pancom m2
 
Pancom m2
Pancom m2Pancom m2
Pancom m2
 
Pancom m1
Pancom m1Pancom m1
Pancom m1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 

Unit2

  • 1. หนวยการเรียนรูที่ 2 เรื่อง กราฟ รายวิชาที่นํามาบูรณาการ การงานพื้นฐานอาชีพ ศิลปะ ภาษาไทย 1. มาตรฐานการเรียนรู มฐ. ค 4.2 ม.3/1, 2, 3, 4, 5 2. ตัวชี้วัดชั้นปที่เกี่ยวของ ค 4.2 ม.3/1, 2, 3, 4, 5 3. สาระการเรียนรูประจําหนวย 3.1 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางปริมาณที่มีความสัมพันธเชิงเสน 3.2 กราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปร 3.3 กราฟกับการนําไปใช 4. รองรอยการเรียนรู 4.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ไดแก 1) ผลงานจากการทําแบบฝกหัด 1 – 3 2) ผลงานจากการทําแบบทดสอบ 4.2 ผลการปฏิบัติงานไดแก 1) การปฏิบัติกิจกรรมในชั้นเรียนและการใชบริการของโรงเรียนอยางเหมาะสม 2) การมีสวนรวมในกาปฏิบัติกิจกรรมกลุม 4.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนจบหนวยการเรียนรู
  • 2. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 68 5. แนวทางการจัดกิจกรรมในภาพรวม แนวทางการจัดการเรียนรู รองรอยการเรียนรู บทบาทครู บทบาทนักเรียน 5.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ไดแก 1) การทําแบบฝกหัด1–3 - อธิบายเนื้อหาในแตละเรื่อง - ฝ ก คิ ด ตามและร ว มทํ า กิจกรรมในชั้นเรียน - แนะการทํ า แบบฝ ก หั ด และ กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ - ทําแบบฝกหัด 2) การทําแบบทดสอบ - อธิ บ ายสรุป ความคิ ด รวบยอด - ทํ า แบบทดสอบหน ว ย ในแตละเรื่อง ยอยเปนรายกลุม 5.2 ผลการปฏิบัติงานไดแก 1) การปฏิบัติกิจกรรมใน - แนะนําวิธีการเขียนแผนผังสรุป - ให นั ก เรีย นเขี ย นแผนผั ง ชั้ น เรี ย นและการใช ความคิดรวบยอดเพื่อสรุปเนื้อ ความคิดประจําหนวย บริ ก ารของโรงเรี ย น หาประจําหนวย อยางเหมาะสม - แนะนํ าให นั ก เรี ย นใช บ ริ ก าร - ให นั กเรี ย น ไป ค น คว า ห อ งสมุ ด ของโรงเรี ย นอย า ง โจทย ใ นห อ งสมุ ด โรง เหมาะสม เรียนและห องสมุ ด กลุ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู 2) การมี ส ว นร ว มในการ - แนะนําวิธีการจัดกลุมและการ คณิตศาสตร ปฏิบัติกิจกรรมกลุม ทํากิจกรรมกลุม - ใหนักเรียนจัดกลุมตามที่ ครูมอบหมายและชวยกัน ทํากิจกรรมในชั้นเรียน 5.3 ก า ร ท ด ส อ บ วั ด ผ ล - สรุปเนื้อหาที่สําคัญตามแผนผัง - ทําแบบทดสอบหลังเรียน สัมฤทธิ์ทางการเรียน ความคิดรวบยอดประจําหนวย จบ อีกครั้ง
  • 3. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 69 แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 (ชั่วโมงที่ 1) เรื่อง กราฟแสดงความสัมพันธระหวางปริมาณที่มีความสัมพันธเชิงเสน เวลา 1 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู 1) สามารถเขี ย นกราฟแสดงความเกี่ ย วข อ งระหวางปริม าณสองชุ ด ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ เชิงเสนได 2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได 1.2 จุดประสงคการเรียนรู สามารถเขียนกราฟแสดงความเกี่ยวของระหวางปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธเชิงเสน ได 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู ในชีวิตประจําวันนั้น เราจะสังเกตเห็นถึงความสัมพันธเชิงเสนระหวางปริมาณสองปริมาณ อยูเปนประจํา เชน ปริมาณสินคากับราคา เปนตน และเราสามารถนําความสัมพันธเหลานั้นมาเขียน เปนคูอันดับได และจากคูอันดับดังกลาว เราก็สามารถนํามาเขียนความสัมพันธในรูปของกราฟ แสดงความเกี่ยวของระหวางปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธเชิงเสนได 2.2 ทักษะ / กระบวนการ การคิดวิเคราะห การตีความหมาย การคิดคํานวณ 2.3 ทักษะการคิด ทักษะการคิดคํานวณ ทักษะการคิดสรุปความ ทักษะการคิดแปลความ ทักษะการคิด วิเคราะห ทักษะการใหเหตุผล 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ผลงานจากการทําแบบฝกหัด 1 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน 2) เลือกหัวหนากลุม 3) หัวหนากลุมแบงงาน 4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรม
  • 4. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 70 5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 7) สงงาน 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม 2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน 3.4 ความรูความเขาใจ นักเรียนสามารถอธิบายความหมายของเลขยกกําลังได 4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล เกณฑขั้นต่ํา 1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป 2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป 3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู 5.1 ขั้นนํา ชั่วโมงที่ 1 (กราฟแสดงความสัมพันธระหวางปริมาณที่มีความสัมพันธเชิงเสน) ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับวา ในชีวิตประจําวันนั้น เราจะสังเกตเห็นถึงความสัมพันธ เชิงเส น ระหวางปริม าณสองปริม าณอยูเปน ประจํา เชน ปริม าณสิน ค ากับ ราคา เป น ตน และเรา สามารถนําความสัมพันธเหลานั้นมาเขียนเปนคูอันดับได และจากคูอันดับดังกลาว เราก็สามารถนํา มาเขียนความสัมพันธในรูปของกราฟได
  • 5. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 71 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 1 (กราฟแสดงความสัมพัน ธระหวางปริม าณที่มีความสัมพัน ธเชิง เสน) 1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับวา ในชีวิตประจําวันนั้น เราจะสังเกตเห็นถึง ทักษะการคิดสรุปผล ความสัมพันธเชิงเสนระหวางปริมาณสองปริมาณอยูเปนประจํา เชน ราคาคา ทักษะการคิดวิเคราะห โดยสารรถประจําทางกับจํานวนคน ปริมาณสินคากับราคา เปนตน จากนั้นใหนักเรียนพิจารณาตารางความสัมพันธระหวางจํานวนดินสอกับราคา ดินสอ ดังนี้ จํานวนดินสอ (แทง) 0 1 2 3 4 5 ราคาดินสอ (บาท) 0 3 6 9 12 15 ครูซักถามนักเรียนวาจากความสัมพันธที่ไดจากตาราง เราจะเขียนคูอันดับได อยางไร โดยที่ครูใหจํานวนแรกเปนจํานวนดินสอ และจํานวนที่สองเปนราคา ดินสอ จากนั้นครูใหนักเรียนนําความสัมพันธที่ไดจากตารางดังกลาวมาเขียนเปนคู อันดับ จะได (0,0), (1,3), (2,6), (3,9), (4,12) และ (5,15) เมื่อไดคูอันดับแลว ครูกลาวตอไปวา จากคูอันดับที่เราไดนั้น เราสามารถที่จะ นํ ามาเขียนเป น กราฟแสดงความสัมพั น ธได ตอจากนั้ นครูให นั ก เรียนเขี ยน กราฟแสดงความสัมพันธ ซึ่งจะเขียนไดดังรูป ราคาดินสอ (บาท) 15 •(5,15) 12 •(4,12) 9 •(3,9) 6 •(2,6) 3 •(1,3) • จํานวนดินสอ (แทง) 0 1 2 3 4 5 เมื่อนักเรียนเขียนกราฟเรียบรอยแลว ครูซักถามนักเรียนตอไปวา จากกราฟ นักเรียนสรุปอะไรไดบาง อภิปรายกันจนไดขอสรุปดังนี้ กราฟที่ไดจะมีจุดแสดงความสัมพันธเรียงกันเปนแนวเสนตรง
  • 6. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 72 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 2. ครูใหนักเรียนพิจารณาตารางแสดงความสัมพันธระหวางจํานวนคนที่ใช ทักษะการคิดวิเคราะห บริการรถประจําทางกับราคาคาบริการคนละ 8 บาท จํานวนคน 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คาบริการ (บาท) 0 8 16 24 32 40 48 56 64 72 80 จากนั้นครูลองใหนักเรียนเขียนกราฟแสดงความสัมพันธดังกลาว โดยเริ่มจาก การซักถามวา จากตารางขางตนเราสามารถเขียนเปนคูอันดับไดอยางไร เมื่อเรา ใหจํานวนแรกเปนจํานวนคน และจํานวนที่สองเปนราคาคาบริการ (นั่ น คื อ เราจะได คู อั น ดั บ (0,0), (1,8), (2,16), (3,24), (4,32), (5,40), (6,48), (7,56), (8,64), (9,72) และ (10,80) ) หลังจากที่เราไดคูอันดับแลว ครูใหนักเรียนนําคูอันดับที่ไดมาเขียนกราฟแสดง ความสัมพันธ ซึ่งจะไดกราฟ ดังรูป คาบริการ (บาท) 80 (10,80) (9,72) 64 (8,64) 56 (7,56) (6,48) 40 (5,40) (4,32) 24 (3,24) 8 (1,8) (2,16) 0 จํานวนคน 2 4 6 8 10 ครูกลาววา กราฟที่เราไดจะมีจุดเรียงกันเปนเสนตรงเชนเดียวกัน 3. ใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 1 เปนการบาน เพื่อตรวจสอบความเขาใจ โดยครู ทักษะการคิดวิเคราะห กําหนดวันและเวลาสงงาน 5.3 ขั้นสรุป ในชีวิตประจําวันนั้น เราจะสังเกตเห็นถึงความสัมพันธเชิงเสนระหวางปริมาณสองปริมาณ อยูเปนประจํา เชน ปริมาณสินคากับราคา เปนตน และเราสามารถนําความสัมพันธเหลานั้นมาเขียน เปนคูอันดับได และจากคูอันดับดังกลาว เราก็สามารถนํามาเขียนความสัมพันธในรูปของกราฟ แสดงความเกี่ยวของระหวางปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธเชิงเสนได
  • 7. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 73 6. สื่อการเรียนรู / แหลงการเรียนรู 6.1 สื่อการเรียนรู - หนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 6.2 แหลงการเรียนรู - หองสมุดโรงเรียน - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 7. กิจกรรมเสนอแนะ 7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห ขั้นรวบรวมขอมูล ครูมอบหมายใหนักเรียนไปศึกษาเรื่องของกราฟแสดงความสัมพันธระหวางปริมาณที่มี ความสัมพันธเชิงเสนพรอมทั้งแสดงวิธีการสรางตารางและเขียนกราฟอยางละเอียดมาคนละ 5 ขอ ขั้นวิเคราะห ใหนักเรียนแตละคนวิเคราะหเรื่องที่ตัวเองไปศึกษาคนความา ขั้นสรุป ครูตรวจผลงานนักเรียนแตละคน พรอมใหขอเสนอแนะแลวใหหัวหนาหองรวบรวมงาน ทั้งหมดจัดทําเปนรูปเลมรายงาน ขั้นประยุกตใช ครูใหนักเรียนชวยกันเลือกขอที่นาสนใจแลวนําเสนอหนาชั้นเรียน
  • 8. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 74 8. บันทึกหลังการสอน บันทึกหลังการสอน (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน ) ประเด็นการบันทึก จุดเดน จุดที่ควรปรับปรุง 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู 2. การใชสื่อการเรียนรู 3. การประเมินผลการเรียนรู 4. การบรรลุผลการเรียนรูของนักเรียน บันทึกเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ………………………………….. บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………….. ตําแหนง…….……..………………………..
  • 9. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 75 9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจและแบบฝกหัดในหนังสือเรียน แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร ชื่อนักเรียน .................................. ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................. ป .................. ครั้งที่ ................................................................ ผูสังเกต ...................................................................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรุง ความสนใจ การตอบคําถาม การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน การใชความรูทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ ความสามารถในการใชภาษาและสื่อลักษณทาง คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน ชื่อนักเรียน .................................. ชั้น .......... วันที่ ................ เดือน ............................. ป .................... ครั้งที่ ................................................................. ผูสังเกต ...................................................................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี ปานกลาง นอย นอยมาก การวางแผน การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด ความคิดสรางสรรค ผลการทํางาน
  • 10. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 76 แผนการจัดการเรียนรูที่ 2 (ชั่วโมงที่ 2 – 13) เรื่อง กราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปร เวลา 12 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู 1) สามารถเขียนกราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปรได 2) สามารถหาระยะตัดแกน X และระยะตัดแกน Y ของกราฟของสมการเชิงเสนสองตัว แปรได 3) สามารถหาความชันของเสนตรงได 4) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได 1.2 จุดประสงคการเรียนรู 1) สามารถเขียนกราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปรได 2) สามารถหาระยะตัดแกน X และระยะตัดแกน Y ของกราฟของสมการเชิงเสนสองตัว แปรได 3) สามารถหาความชันของเสนตรงได 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู 1) รูปทั่วไปของสมการเชิงเสนสองตัวแปร คือ Ax + By + C = 0 เมื่อ A, B และ C เปนคา คงตัว และ A, B ไมเปนศูนยพรอมกัน 2) กราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปร คือคูอันดับทุกคูอันดับที่สอดคลองกับสมการ 3) ระยะตัดแกน X ของกราฟ คือพิกัด x ของจุดที่กราฟตัดแกน X 4) ระยะตัดแกน Y ของกราฟ คือพิกัด y ของจุดที่กราฟตัดแกน Y 5) ความชัน m ของเสนตรงที่ไมขนานกับแกน Y ที่ผานจุดสองจุด (x1, y1) และ (x2, y2) เมื่อ x1 ≠ x2 คือ m = อัตราการเปลี่ยนแปลงใน y อัตราการเปลี่ยนแปลงใน x = y2 − x1 x − y 2 1 y1 − y2 = x1 − x2 6) y2 – y1 = m(x2 – x1) เปนสมการเสนตรงที่ผานจุด (x1, y1) และมีความชันคือ m
  • 11. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 77 2.2 ทักษะ / กระบวนการ ทักษะการวิเคราะห ทักษะการตีความหมาย ทักษะการคิดคํานวณ 2.3 ทักษะการคิด ทักษะการคิดคํานวณ ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการใหเหตุผล ทักษะการคิดจัดลําดับ ทักษะการคิดแปลความและสรุปความ ทักษะการแกปญหา 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน 1) ผลงานจากการทําแบบฝกหัด 2 2) ผลงานจากการทําแบบทดสอบ 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน 2) เลือกหัวหนากลุม 3) หัวหนากลุมแบงงาน 4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรม 5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 7) สงงาน 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม 2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน 3.4 ความรูความเขาใจ 1) นักเรียนสามารถเขียนกราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปรได 2) นักเรียนสามารถหาระยะตัดแกน X และระยะตัดแกน Y ของกราฟของสมการเชิงเสน สองตัวแปรได 3) นักเรียนสามารถหาความชันของเสนตรงได 4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล เกณฑขั้นต่ํา 1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป 2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป 3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป
  • 12. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 78 การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู 5.1 ขั้นนํา ชั่วโมงที่ 1-2 (สมการเชิงเสนสองตัวแปรและพิกัดคารทีเซียน) ครูสนทนาและซักถามนักเรียนวารูจักสมการเชิงเสนสองตัวแปรหรือไม มีลักษณะเปนเชน ใด และมีรูปทั่วไปอยูในลักษณะอยางไร ครูกลาววารูปทั่วไปของสมการเชิงเสนสองตัวแปรคือ Ax + By + C = 0 เมื่อ A, B และ C เปนคาคงตัว และ A, B ไมเปนศูนยพรอมกัน พรอมทั้งยกตัวอยางประกอบเพื่อ ความเขาใจ จากนั้นครูแนะนําถึง พิกัดคารทีเซียนตอ โดยการใชภาพประกอบ ชั่วโมงที่ 3 (กราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปร) ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องของการเขียนกราฟเชิงเสนของสมการเชิงเสนสองตัว แปร วามีลักษณะเปนเชนไร เปนแบบไหน และเขียนไดอยางไร จนสรุปไดวา กราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปร คือคูอันดับทุกคูอันดับที่สอดคลองกับสมการ ซึ่งมีคู อันดับของจํานวนไมจํากัดที่สอดคลองกับสมการเชิงเสน และกราฟจะมีจํานวนจุดมากมายไมจํากัด ซึ่งสามารถแสดงวากราฟของสมการเชิงเสนเปนเสนตรง และกราฟจะสามารถสรางไดเมื่อทราบจุด เพียงสองจุด แตเราควรสรางจากจุดสามจุดเพื่อใชจุดที่สามสําหรับตรวจสอบ ชั่วโมงที่ 4 (ระยะตัดแกน X และระยะตัดแกน Y) ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องของกราฟของสมการเชิงเสนในชั่วโมงที่แลว ตอจากนั้น ครูแนะนํานักเรียนวา จุดบางจุดมีประโยชนในการเขียนกราฟเสนตรง เชน จุดที่กราฟตัดแกนทั้ง สอง - ระยะตัดแกน X ของกราฟคือ พิกัด x ของจุดที่กราฟตัดแกน X ซึ่งมีพิกัด y ของจุดนี้เปน ศูนย - ระยะตัดแกน Y ของกราฟคือ พิกัด y ของจุดที่กราฟตัดแกน Y ซึ่งมีพิกัด x ของจุดนี้เปน ศูนย จากนั้นครูนําเสนอตัวอยางเพื่อเพิ่มความเขาใจ ชั่วโมงที่ 5-6 (ระยะตัดแกน X และระยะตัดแกน Y ตอ) ครูทบทวนเรื่องระยะตัดแกน X และระยะตัดแกน Y ที่เรียนในชั่วโมงที่แลว ตอจากนั้นครู นําเสนอตัวอยางเพิ่มเติม
  • 13. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 79 ชั่วโมงที่ 7 (ความชันของเสนตรง) ครูใหนักเรียนพิจารณาตารางคาของ x และ y ที่เปลี่ยนแปลงไปของสมการเชิงเสน จากนั้น ครูใหบทนิยามการเปลี่ยนแปลงของ y สําหรับแตละหนวยของการเปลี่ยนแปลงใน x นั่นคือ บท นิยามของความชันของเสนตรง นั่นเอง ความชัน m ของเสนตรงที่ไมขนานกับแกน Y ที่ผานจุดสองจุด (x1, y1) และ (x2, y2) เมื่อ x1 ≠ x2 คือ m = อัตราการเปลี่ยนแปลงใน y อัตราการเปลี่ยนแปลงใน x = y2 − x1 x − y 2 1 y1 − y2 = x1 − x2 จากนั้นครูนําเสนอตัวอยางเพื่อประกอบความเขาใจของนักเรียน ชั่วโมงที่ 8-9 (ความชันของเสนตรง ตอ) ครูนําเสนอตัวอยางเพิ่มเติม หลังจากนั้นใหนักเรียนพิจารณากราฟเสนตรงที่ขนานกับแกน X และกราฟเสนตรงขนานกับแกน Y ตอจากนั้นครูซักถามนักเรียนถึงความชันของกราฟทั้งสองรูปวา มีความชันเทาไร อภิปรายจนไดขอสรุปวา - สําหรับกราฟเสนตรงที่ขนานกับแกน X จะมีความชันเปนศูนย - สําหรับกราฟเสนตรงขนานกับแกน Y จะหาคาความชันไมได ชั่วโมงที่ 10 (การหาสมการเสนตรง) ครูนําเสนอตัวอยางของการหาสมการเสนตรงที่ผานจุด (x1, y1) และมีความชัน m ชั่วโมงที่ 11 (การหาสมการเสนตรง ตอ) ครูนําเสนอตัวอยางของการหาสมการเสนตรงที่ผานจุด (x1, y1) และ (x2, y2) ชั่วโมงที่ 12 (การหาสมการเสนตรง ตอ) ครูนําเสนอตัวอยางของการหาสมการเสนตรงที่มีความชัน m และระยะตัดแกน Y เทากับ c 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 1 (สมการเชิงเสนสองตัวแปร) 1. ครูสนทนาและซักถามนักเรียนวารูจักสมการเชิงเสนสองตัวแปรหรือไม มี ทักษะการคิดวิเคราะห ลักษณะเปนเชนใด และมีรูปทั่วไปอยูในลักษณะอยางไร ทักษะการตีความหมาย จากนั้นครูกลาวตอไปวารูปทั่วไปของสมการเชิงเสนสองตัวแปรคือ Ax + By + C = 0 เมื่อ A, B และ C เปนคาคงตัว และ A, B ไมเปนศูนยพรอมกัน โดยที่ x, y เปนตัว แปรที่มีเลขชี้กําลังเปนหนึ่งเทานั้น
  • 14. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 80 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ จากนั้นครูเขียนตัวอยางสมการใหนักเรียนดูบนกระดาน แลวซักถามนักเรียนวา เปนสมการเชิงเสนสองตัวแปรหรือไม ดังนี้ ตัวอยาง (1) 2x + 5y – 12 = 0 (2) x = 4 (3) y = –3 ซึ่งจากตัวอยาง จะไดวา ขอ (1)-(3) เปนสมการเชิงเสนสองตัวแปร โดยที่ (1) 2x + 5y – 12 = 0 โดยมี A เทากับ 2, B เทากับ 5 และ C เทากับ –12 (2) x = 4 หรือ 1x + 0y – 4 = 0 โดยมี A เทากับ 1, B เทากับ 0 และ C เทากับ –4 (3) y = –3 หรือ 0x + 1y + 3 = 0 โดยมี A เทากับ 0, B เทากับ 1 และ C เทากับ 3 2. ครูซักถามนักเรียนวา นอกจากตัวอยางที่ครูแสดงใหดู นักเรียนสามารถยกตัว ทักษะการคิดวิเคราะห อยางอื่ น ๆ ได อีก หรือไม ให นั ก เรียนออกมาเขียนบนกระดาน จากนั้ น ครูและ เพื่อนชวยกันพิจารณาความถูกตองทีละขอบนกระดาน 3. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความหมายของคําวาสมการเชิงเสนสองตัวแปรอีก ทักษะการคิดวิเคราะห ครั้ง ใหนั กเรียนไปหาขอมูลเพิ่มเติม และให ไปอานหนั งสือเกี่ยวกับเรื่องพิกัด คารทีเซียนที่จะเรียนในชั่วโมงตอไปเปนการบาน ชั่วโมงที่ 2 (พิกัดคารทีเซียน) 4. ครูเขียนเสนตรงในระนาบเสนหนึ่งอยูในแนวนอนและเสนหนึ่งอยูในแนวตั้ง ทักษะการตีความหมาย บนกระดาน และใหเสนตรงทั้งสองเสนตัดกันที่จุดศูนยของทั้งสองเสน ใหนัก ทักษะการคิดวิเคราะห เรียนสังเกตและซักถามวาจะเรียกเสนตรงสองเสนนี้วาอยางไร ใหนักเรียนรวมกัน อภิปรายจนไดคําตอบวา แกนพิกัดโดยมีจุด O อยูที่จุดตัดและจุดกําเนิด ครูซักถามนักเรียนตอไปดังนี้ - เสนในแนวนอนเรียกวาแกนอะไร (แกน X) - เสนในแนวตั้งเรียกวาแกนอะไร (แกน Y) ครูเขียนแสดงใหนักเรียนดูบนกระดานและซักถามนักเรียนวา - คาจํานวนจริงบนแกน X ที่อยูทางขวาของศูนย มีคาเปนอะไร (บวก) - คาจํานวนจริงบนแกน X ที่อยูทางซายของศูนย มีคาเปนอะไร (ลบ) - คาจํานวนจริงบนแกน Y ที่อยูดานบนของศูนย มีคาเปนอะไร (บวก) - คาจํานวนจริงบนแกน Y ที่อยูดานลางของศูนย มีคาเปนอะไร (ลบ)
  • 15. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 81 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ เพื่อเปนการทบทวนความรูเกาของนักเรียน ครูสนทนากับนักเรียนวา แกนพิกัด จะแบงระนาบออกเปนสี่บริเวณ ซึ่งจะเรียกวา จตุภาค แบงไดดังนี้ ครูแสดงภาพใหนักเรียนดูบนกระดาน แลวใหนักเรียนเขียนลงไปในสมุดจด ครูแสดงภาพตอไปนี้บนกระดานใหนักเรียนพิจารณา ครู แ นะนํ านั ก เรี ย นต อ ไปว า แต ล ะจุ ด P บนระนาบจะสามารถกํ าหนดคู ข อง จํานวน เรียกวา พิกัดคารทีเซียน จากภาพครูซักถามนักเรียนวา - ถาจากจุด P เราลากเสนตามแนวตั้งจะตัดแกน X ที่จุดใด (a) และ - ถาลากเสนตามแนวนอนจะตัดแกน Y ที่จุดใด (b) ครูกลาววา ดังนั้น จุด P จะมีพิกัดเปน (a, b) ซึ่งเรียก (a, b) วา คูอันดับของจํานวน โดยมี a เปนจํานวนแรก เรียกวาพิกัด X และมี b เปนจํานวนที่สอง เรียกวาพิกัด Y และในทางกลับกัน ถากําหนดคูอันดับ (a, b) ของจํานวนจริง เมื่อลากเสนในแนว ตั้งที่ผาน a บนแกน X และลากเสนในแนวนอนผาน b บนแกน Y เสนตรงสอง เสนนี้ก็จะพบกันที่จุดซึ่งมีพิกัด (a, b) 5. ใหนักเรียนกําหนดพิกัดคารทีเซียน แลวชวยกันลงบนแกนพิกัด และจากนั้น ทักษะการตีความหมาย ครูเขียนภาพแกนพิกัดที่ลงจุดพิกัดคารทีเซียน แลวใหนักเรียนบอกแตละจุดวามี ทักษะการคิดวิเคราะห พิกัดคารทีเซียนวาอยางไร ใหนักเรียนรวมกันสรุปอีกครั้งเพื่อตรวจสอบความเขา ใจของนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องพิกัดคารทีเซียน
  • 16. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 82 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 6. ครูแบงนักเรียนออกเปน 4 กลุม กลุมละเทาๆ กัน ครูแสดงภาพการลงจุดบน ทักษะการคิดวิเคราะห แกนพิ กั ด จากนั้ น ให นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ ม สั ง เกต แล ว ช ว ยกั น เขี ย นว า มี พิ กั ด คารทีเซียนเปนคูอันดับใดบาง ในเวลาที่จํากัด แลวครูตรวจสอบวาถูกตองหรือไม กลุมใดไดคะแนนมากที่สุดกลุมนั้นเปนฝายชนะ ชั่วโมงที่ 3 (กราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปร) 7. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องของการเขียนกราฟเชิงเสนของสมการเชิง ทักษะการคิดสรุปความ เสนสองตัวแปร วามีลักษณะเปนเชนไร เปนแบบไหน และเขียนไดอยางไร จน ทักษะการคิดวิเคราะห สรุปไดวา กราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปร คือ คูอันดับทุกคูอันดับที่สอดคลองกับสม การ ซึ่งมีคูอันดับของจํานวนไมจํากัดที่สอดคลองกับสมการเชิงเสน และกราฟจะ มีจํานวนจุดมากมายไมจํากัด ซึ่งสามารถแสดงวากราฟของสมการเชิงเสนเปน เสนตรง และกราฟจะสามารถสรางไดเมื่อทราบจุดเพียงสองจุด แตเราควรสราง จากจุดสามจุดเพื่อใชจุดที่สามสําหรับตรวจสอบ ดังตัวอยางตอไปนี้ ตัวอยาง จงเขียนกราฟของสมการ 2x + y – 5 = 0 วิธีทํา ครูซักถามนักเรียนวา เราจะเขียนกราฟของสมการดังกลาวไดอยางไร นั่น คือ จากสมการ 2x + y – 5 = 0 เราเขียนใหมไดเปน y = – 2x + 5 จากนั้นเราจะกําหนดคา x บางคา เพื่อหาคา y ที่สอดคลองกับสมการ 2x + y – 5 = 0 กลาวคือให x = 0 เราจะไดคา y = – 2(0) + 5 = 0 + 5 = 5 ให x = 1 เราจะไดคา y = – 2(1) + 5 = –2 + 5 = 3 ให x = 2 เราจะไดคา y = – 2(2) + 5 = –4 + 5 = 1 ให x = 2.5 เราจะไดคา y = – 2(2.5) + 5 = –5 + 5 = 0 เมื่อเราไดคา x และ y บางคาที่สอดคลองกับสมการ 2x + y – 5 = 0 แลว เราก็นําคา เหลานั้นมาเขียนกราฟของ 2x + y – 5 = 0 ไดดังนี้ Y 5 • (0,5) 4 3 • (1,3) 2 1 • (2,1) X 0 1 2 34 5
  • 17. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 83 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 8. ใหนั กเรียนแบงกลุม กลุมละ 3 – 5 คน แลวใหไปศึกษาคน ควาเพิ่มเติมจาก ทักษะการคิดวิเคราะห แบบฝ ก หั ด 2 ข อ 1 ข อ (1), (2), (5), (8),(10), (12), (16), (17), (18) โดยครู แ บ ง ทักษะการคิดคํานวณ โจทยป ญ หาให ซึ่งแตละกลุ มจะไดไมซ้ํากัน แลวนํ ามาเสนอทายชั่วโมงอยาง ละเอียด โดยการกําหนดคา x บางคา เพื่อหาคา y ที่สอดคลองกับสมการนั้นๆ โดย ครูและเพื่อนนักเรียนคนอื่นตรวจสอบความถูกตอง และรวมกันสรุปอีกครั้งหนึ่ง เพื่อตรวจสอบความเขาใจ เฉลย (1) จงเขียนกราฟของสมการเชิงเสน 2x – y = 8 (2) จงเขียนกราฟของสมการเชิงเสน 3x – y = 6
  • 18. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 84 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ (5) จงเขียนกราฟของสมการเชิงเสน 2x + 5y = 12 (8) จงเขียนกราฟของสมการเชิงเสน 3x + y = 12 (10) จงเขียนกราฟของสมการเชิงเสน y + 6 = 0
  • 19. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 85 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ (12) จงเขียนกราฟของสมการเชิงเสน y = – 2x (16) จงเขียนกราฟของสมการเชิงเสน y = x (17) จงเขียนกราฟของสมการเชิงเสน x = –5
  • 20. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 86 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ (18) จงเขียนกราฟของสมการเชิงเสน x + 2y + 6 = 0 ชั่วโมงที่ 4 (ระยะตัดแกน X และระยะตัดแกน Y) 9. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องของกราฟของสมการเชิงเสนในชั่วโมงที่ ทักษะการคิดวิเคราะห แลว ตอจากนั้นครูแนะนํานักเรียนวา จุดบางจุดมีประโยชนในการเขียนกราฟเสน ตรง เชน จุดที่กราฟตัดแกนทั้งสอง - ระยะตัดแกน X ของกราฟคือ พิกัด x ของจุดที่ กราฟตัดแกน X ซึ่งมี พิกัด y ของจุดนี้เปนศูนย - ระยะตัดแกน Y ของกราฟคือ พิกัด y ของจุดที่กราฟตัดแกน Y ซึ่งมี พิกัด x ของจุดนี้เปนศูนย จากนั้นครูนําเสนอตัวอยางใหนักเรียนไดศึกษา ตัวอยางที่ 1 กราฟเสนตรงตัดแกน X ที่จุด (–5, 0) และตัดแกน Y ที่ (0, 2) ดังนั้น ระยะตัดแกน X คือ –5 และระยะตัดแกน Y คือ 2 แสดงกราฟไดดังนี้
  • 21. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 87 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ใหนักเรียนชวยกันกําหนดจุดที่ตัดแกนทั้งสองแลวใหชวยกันเขียนกราฟ และให นักเรียนอานพิกัดของจุดตัดของกราฟที่ครูกําหนดใหบนกระดาน ครูและนักเรียน ชวยกันสรุประยะตัดแกน X และระยะตัดแกน Y อีกครั้ง 10. ตอจากนั้นครูนําเสนอตัวอยางที่ 2 แลวใหนักเรียนศึกษาการหาระยะตัดแกน ทักษะการคิดวิเคราะห X และระยะตัดแกน Y ดังนี้ ทักษะการคิดคํานวณ ตัวอยางที่ 2 กําหนด y = –2x + 3 จงหาระยะตัดแกน X ระยะตัดแกน Y และ เขียนกราฟ วิธีทํา ครูอธิบายใหนักเรียนฟงและเขียนบนกระดานใหนักเรียนไดศึกษาและทํา ความเขาใจ ดังนี้ หาระยะตัดแกน X ให y = 0 จะได 0 = –2x + 3 2x = 3 x= 32 ดังนั้น ระยะตัดแกน X คือ 3 2 หาระยะตัดแกน Y ให x = 0 จะได y = –2(0) + 3 = 3 ดังนั้น ระยะตัดแกน Y คือ 3 จากนั้นหาจุดอื่นโดยการกําหนดคา x แลวหาคา y ให x = 1 จะได y = –2(1) + 3 = –2 + 3 = 1 และเรารูวาถาให x = 0 จะได y = –2(0) + 3 = 0 + 3 = 3 และถาให x = 3 จะได 2 y = –2( 3 ) + 3 = –3 + 3 = 0 2 ดังนั้นลงจุด ( 3 , 0), (0, 3) และ (1, 1) เขียนกราฟได 2 ตอบ กราฟ y = –2x + 3 มีระยะตัดแกน X เปน 3 และระยะตัดแกน Y เปน 3 2
  • 22. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 88 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ครูกลาวตอไปวา เมื่อแทน x ดวย 1 แทน y ดวย 2 จะทําใหสมการเปนจริง แลว 2 ใหนักเรียนตรวจสอบคําตอบ โดยกําหนดคา x อื่นๆ แลวหาคา y จากนั้นพิจารณา วาจุดที่นักเรียนหาไดอยูบนกราฟหรือไม 11. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3-5 คน ซึ่งเปนกลุมเดียวกันกับเมื่อชั่วโมงที่แลว ทักษะการคิดวิเคราะห แลว ใหไปหาระยะตัดแกน X และระยะตัดแกน Y ของกราฟที่กลุมของนักเรียน ทักษะการคิดคํานวณ เขี ย นในชั่ ว โมงที่ แ ล ว จากแบบฝ ก หั ด 2 ข อ 1 (1), (2), (5), (8),(10), (12), (16), (17), (18) แลวนํามาเสนอทายชั่วโมง โดยครูและเพื่อนนักเรียนคนอื่นตรวจสอบ ความถูกตอง และรวมกันสรุปอีกครั้งหนึ่งเพื่อตรวจสอบความเขาใจ เฉลย (1) 2x – y = 8 ระยะตัดแกน X เปน 4 ระยะตัดแกน Y เปน –8 (2) 3x – y = 6 ระยะตัดแกน X เปน 2 ระยะตัดแกน Y เปน –6
  • 23. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 89 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ (5) 2x + 5y = 12 ระยะตัดแกน X เปน 6 ตอไปหาระยะตัดแกน Y จาก 2x + 5y = 12 เมื่อ x = 0 จะได 2(0) + 5y = 12 5y = 12 y = 12 5 ดังนั้น ระยะตัดแกน Y เปน 12 5 (8) 3x + y = 12 ระยะตัดแกน X เปน 4 ระยะตัดแกน Y เปน 12
  • 24. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 90 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ (10) y + 6 = 0 นั่นคือ y + (0)x = –6 เมื่อกําหนดคา x ใดๆ แลวหาคา y เชน ถา x = –2 แลว y = –6 นั่นคือ (–2, –6) อยูบนกราฟนี้ ถา x = 0 แลว y = –6 นั่นคือ (–2, –6) อยูบนกราฟนี้ ถา x = 3 แลว y = –6 นั่นคือ (–2, –6) อยูบนกราฟนี้ เขียนกราฟไดดังนี้ ระยะตัดแกน X ไมมี ระยะตัดแกน Y เปน –6 (12) y = –2x ระยะตัดแกน X เปน 0 ระยะตัดแกน Y เปน 0
  • 25. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 91 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ (16) y = x x –1 0 1 2 y –1 0 1 2 ระยะตัดแกน X เปน 0 ระยะตัดแกน Y เปน 0 (17) x = –5 นั่นคือ x + (0)y = –5 เมื่อกําหนดคา y ใดๆ แลวหาคา x เชน ถา y = –2 แลว x = –5 นั่นคือ (–5, –2) อยูบนกราฟนี้ ถา y = 0 แลว x = –5 นั่นคือ (–5, 0) อยูบนกราฟนี้ ถา y = 4 แลว x = –5 นั่นคือ (–5, 4) อยูบนกราฟนี้ เขียนกราฟไดดังนี้ ระยะตัดแกน X เปน –5 ระยะตัดแกน Y ไมมี
  • 26. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 92 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ (18) x + 2y + 6 = 0 ระยะตัดแกน X เปน –6 (เมื่อ y = 0 จะได y = –6) ระยะตัดแกน Y เปน –3 (เมื่อ x = 0 จะได y = –3) ชั่วโมงที่ 5 (ระยะตัดแกน X และระยะตัดแกน Y ตอ) 12. ครูทบทวนเรื่องระยะตัดแกน X และระยะตัดแกน Y ที่เรียนในชั่วโมงที่แลว ทักษะการคิดวิเคราะห ต อ จากนั้ น ครู นํ าเสนอตั ว อยาง ให นั ก เรีย นศึ ก ษาการเขี ยนกราฟจากสมการที่ ทักษะการคิดคํานวณ กําหนดให ตัวอยางที่ 3 จงเขียนกราฟของ y = –2 วิธีทํา ครูซักถามและอธิบายใหนักเรียนฟงถึงวิธีการหาคําตอบจนนักเรียนเขาใจ ดังนี้ เนื่องจาก y = –2 คือ y + 0x = –2 กรณีนี้จะกําหนดคา y เพื่อหาคา x ไมได เนื่องจากจะทําใหสมการเปนเท็จ เราจึง ตองกําหนดคา x ตางๆ เชน เมื่อ x = 2 จะได y + 0(2) = –2 เมื่อ x = 5 จะได y + 0(5) = –2 เมื่อ x = –3 จะได y + 0(–3) = –2 เมื่อ x = 0 จะได y + 0(0) = –2 เขียนกราฟของ y = –2 หรือ y + 0x = –2 ไดดังนี้
  • 27. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 93 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ใหนักเรียนสังเกตและซักถามจากกราฟ จะไดวามีระยะตัดแกน X และระยะตัด แกน Y เปนอยางไร จนสรุปไดวา กราฟนี้ไมมีระยะตัดแกน X และมีระยะตัดแกน Y เปน –2 13. ใหนักเรียนลองชวยกันยกตัวอยางสมการที่มีลักษณะเชนนี้ แลวชวยกันหา ทักษะการคิดวิเคราะห คําตอบ จากนั้นครูนําเสนอตัวอยางที่ 4 ใหนักเรียนไดศึกษาตอ ทักษะการคิดคํานวณ ตัวอยางที่ 4 จงเขียนกราฟของ x = 4 วิธีทํา ครูซักถามนักเรียนถึงลักษณะของกราฟที่จะไดวาเปนอยางไร และใหนัก เรียนอธิบายวิธีการทํา จากนั้นครูจึงอธิบายและแสดงใหดูบนกระดานดังนี้ เนื่องจาก x = 4 คือ x + 0y = 4 กรณีนี้จะกําหนดคา x เพื่อหาคา y ไมได เนื่องจากจะทําใหสมการเปนเท็จ เราจึง ตองกําหนดคา y ตางๆ เชน เมื่อ y = 3 จะได x + 0(3) = 4 เมื่อ y = 5 จะได x + 0(5) = 4 เมื่อ y = –3 จะได x + 0(–3) = 4 เมื่อ y = 0 จะได x + 0(0) = 4 ดังนั้นเขียนกราฟของ x = 4 หรือ x + 0y = 4 ไดดังนี้
  • 28. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 94 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ครูซักถามนักเรียนถึงระยะตัดแกน X และระยะตัดแกน Y วามีคาเปนเทาใด ซึ่งจะ ไดวา กราฟนี้มีระยะตัดแกน X เปน 4 ไมมีระยะตัดแกน Y จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายและสรุปความรูที่ไดจากตัวอยางที่ 3 และ 4 ไดดังนี้ - กราฟของ y = k เมื่อ k เปนจํานวนจริง เปนเสนตรงขนานกับแกน X มีระยะ ตัดแกน Y เปน k - กราฟของ x = k เมื่อ k เปนจํานวนจริง เปนเสนตรงขนานกับแกน Y มีระยะ ตัดแกน X เปน k 14. ใหนักเรียนจดโจทยสมการบนกระดานแลวใหนักเรียนไปเขียนกราฟและหา ทักษะการคิดวิเคราะห ระยะตัดแกน X และระยะตัดแกน Y เปนการบาน โดยครูกําหนดวันและเวลาสง ทักษะการคิดคํานวณ เชน (1) y = –2 (2) x = –4 (3) y = 10 (4) x = 8 (5) x = 12 ชั่วโมงที่ 6 (ระยะตัดแกน X และระยะตัดแกน Y ตอ) 15. ครูทบทวนสิ่งที่เรียนมาในชั่วโมงที่แลว โดยการสุมใหนักเรียนออกมาเฉลย ทักษะการคิดวิเคราะห แบบฝกหัดที่ครูใหทําสงเปนการบาน ครูตรวจสอบความถูกตองแลวใหนักเรียน ทักษะการคิดคํานวณ ตรวจสมุดของตัวเอง ถาผิดใหแกไขใหถูกตอง โดยครูอาจใชวิธีการอธิบายขอที่ นักเรียนทําผิดมาก ตอจากนั้นครูนําเสนอตัวอยางที่ 6 ใหนักเรียนไดศึกษาการ เขียนกราฟและหาจุดตัดดังนี้
  • 29. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 95 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ตัวอยางที่ 6 จงเขียนกราฟของ y = –2x วิธีทํา ครูซักถามถึงวิธีการหาคําตอบของนักเรียน จากนั้น ครูแนะนํ าวิธีการหา คําตอบใหนักเรียนฟงดังนี้ หาระยะตัดแกน X ให y = 0 จะได 0 = –2x x = 0 หาระยะตัดแกน Y ให x = 0 จะได y = 0 จะได (0, 0) เปนจุดบนกราฟ ใหนักเรียนชวยกันหาจุดอื่นๆ บนกราฟ โดยให x = 1 จะได y = –2(1) y = –2 จะได (1, –2) เปนจุดบนกราฟ ให x = 2 จะได y = –2(2) y = –4 จะได (2, –4) เปนจุดบนกราฟ ใหนักเรียนชวยกันนําจุดที่ไดมาลงในกราฟ ซึ่งจะไดดังนี้ เขียนกราฟของ y = –2x ไดดังนี้ กราฟนี้มีระยะตัดแกน X เปน 0 และมีระยะตัดแกน Y เปน 0
  • 30. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 96 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 16. ครูแบงนักเรียนออกเปน 4 กลุม กลุมละเทาๆ กัน ครูใหนักเรียนแขงกันเขียน ทักษะการคิดวิเคราะห กราฟ และหาจุดตัดจากสมการที่เรียนมา โดยครูเขียนโจทยใสลงในแกว แลวให ทักษะการคิดคํานวณ นักเรียนสงตัวแทนมาจับฉลาก แลวใหนํากลับไปชวยกันคิดและนํากลับมาเสนอ หนาชั้นเรียน กลุมใดเสร็จกอน ทําถูก และเรียบรอยที่สุด กลุมนั้นเปนฝายชนะ ครู ใหคําชมเชยกับนักเรียนทีมที่ทําถูกและทันตามเวลา และใหคําแนะนํากับนักเรียน ที่ทําผิด เชน (1) จงเขียนกราฟของ y = –8x (2) จงเขียนกราฟของ y = 5 (3) จงเขียนกราฟของ y = 2x + 4 (4) จงเขียนกราฟของ x = –3 เปนตน ชั่วโมงที่ 7 (ความชันของเสนตรง) 17. ใหนักเรียนพิ จารณาคาของ x และ y ที่ เปลี่ยนแปลงไปของสมการเชิงเสน ทักษะการตีความหมาย y = 3x จากตารางตอไปนี้ ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการคิดคํานวณ ทักษะการคิดสรุปความ ซึ่งเขียนกราฟไดเปน
  • 31. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 97 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ จากนั้นครูซักถามนักเรียนจากการพิจารณาวาในขณะที่ x เพิ่มขึ้น 1 หนวย y จะ เพิ่มขึ้นกี่หนวย (3 หนวย) ครูก ล าวต อ ไปวาจากการพิ จารณาข างตน ให บ ทนิ ยามการเปลี่ ยนแปลงของ y สําหรับแตละหนวยของการเปลี่ยนแปลงใน x ไดดังนี้ บทนิยามของความชันของเสนตรง ความชั น m ของเส น ตรงที่ ไ ม ข นานกั บ แกน Y ที่ ผ านจุ ด สองจุ ด (x1, y1) และ (x2, y2) เมื่อ x1 ≠ x2 คือ m = อัตราการเปลี่ยนแปลงใน y อัตราการเปลี่ยนแปลงใน x = y2 − x1 x − y 2 1 y1 − y2 = x1 − x2 จากนั้นครูอธิบายใหนักเรียนฟงตอไปวา อักษร m มาจากคําในภาษาฝรั่งเศสวา montier ซึ่งหมายถึงความชัน ใหนักเรียนรวมกันพิจารณาวา เสนตรงเสนหนึ่งจะมีความชันไดกี่คา ครูจึงอธิบาย วา สําหรับเสนตรงเสนหนึ่งจะมีความชันเพียงคาเดียวเทานั้น 18. ครูนําเสนอการหาความชันจากตัวอยางที่ 7 ใหนักเรียนไดศึกษา โดยมีครูเปน ทักษะการคิดวิเคราะห ผูอธิบายจนนักเรียนเขาใจดังนี้ ทักษะการคิดคํานวณ ตัวอยางที่ 7 จงหาความชันของเสนตรงซึ่งผานจุด (1, 2) และ (2, 4) วิธีทํา ครูอธิบายและแสดงใหนักเรียนดู โดยการเขียนกราฟของเสนตรงที่ผานจุด (1, 2) และ (2, 4) ไดดังนี้ y2 − y1 จากนั้นอธิบายวาความชัน m ของเสนตรงคือ m = x2 − x1 เมื่อ x1 ≠ x2
  • 32. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 98 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ เสนตรงผานจุด (1, 2) และ (2, 4) ให (x1, y1) = (1, 2) และ (x2, y2) = (2, 4) จะได m = 4 − 1 = 2 2− 2 ตอบ ความชันของเสนตรงซึ่งผานจุด (1, 2) และ (2, 4) เทากับ 2 19. ครูกําหนดจุดผาน 2 จุดใหนักเรียน แลวใหนักเรียนเขียนกราฟและหาความ ทักษะการคิดวิเคราะห ชัน 2-3 ตัวอยาง ขึ้นอยูกับความเขาใจของนักเรียน ครูซักถามนักเรียนถึงความชัน ที่ไดวามีมุมเปนมุมอะไร ตอจากนั้นครูจึงแนะนําวา ถาวัดมุมจากแกน X ทวนเข็ม นาฬิกาไปยังเสนกราฟ แลวไดขนาดของมุมนอยกวา 90° มุมที่ไดคือมุมแหลมกับ แกน X 20. ครูเขียนโจทยบนกระดานใหนักเรียนชวยกันหาคําตอบเปนการบาน โดยครู ทักษะการคิดวิเคราะห กําหนดวันและเวลาสง เชน ทักษะการคิดคํานวณ (1) จงหาความชันของเสนตรงที่ผานจุด (1, 3) และ (2, 6) (2) จงหาความชันของเสนตรงที่ผานจุด (1, 4) และ (2, 8) หรือตัวอยางอื่นๆ เปนตน ชั่วโมงที่ 8 (ความชันของเสนตรง ตอ) 21. ครูทบทวนเรื่องของการหาความชันของเสนตรงที่เรียนในชั่วโมงที่แลว โดย ทักษะการคิดวิเคราะห การตั้งโจทยใหนักเรียนชวยกันหาคําตอบ และสรุปวามุมที่ไดเปนมุมอะไร ทักษะการคิดคํานวณ เชน จงหาความชันของเสนตรงที่ผานจุด (2, 4) และ (–2, –4) หรือโจทยอื่นๆ ที่ เกี่ยวของ เปนตน จากนั้นครูนําเสนอตัวอยางที่ 8 ใหนักเรียนชวยกันศึกษาและทําความเขาใจ โดย ครูเปนผูอธิบายและซักถาม ตัวอยางที่ 8 จงหาความชันของเสนตรงซึ่งผานจุด (1, 2) และ (2, –2) วิธีทํา ครูซักถามนักเรียนถึงวิธีการหาคําตอบของโจทยขอนี้ ตอจากนั้นครูเขียน แสดงวิธีทําบนกระดาน
  • 33. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 99 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ y2 − y1 จากนั้นอธิบายวาความชัน m ของเสนตรงคือ m = x2 − x1 เมื่อ x1 ≠ x2 เสนตรงผานจุด (1, 2) และ (2, –2) ให (x1, y1) = (1, 2) และ (x2, y2) = (2, –2) จะได m = −22− 12 = − 4 − ตอบ ความชันของเสนตรงซึ่งผานจุด (1, 2) และ (2, –2) เทากับ –4 ใหนักเรียนสังเกตและรวมกันอภิปรายถึงขนาดของมุมของเสนตรงที่เปนความ ชัน วามีลักษณะเปนมุมอะไร เหมือนหรือตางจากตัวอยางที่ 7 อยางไร โดยครูเปน ผูแนะนํา จนไดขอสรุปดังนี้ เมื่อวัดมุมจากแกน X ทวนเข็มนาฬิกาไปยังเสนกราฟ ขนาดของมุมจะมากกวา 90° ซึ่งกลาววา กราฟทํามุมปานกับแกน X 22. ใหนักเรียนชวยกันพิจารณาโจทยการหาความชันเชน เดียวกับตัวอยางที่ 7 ทักษะการคิดวิเคราะห และ 8 ของแบบฝกหัด 2 ขอ 4 (1), (3), (4) และ (5) แลวใหชวยกันหาคําตอบ โดย ทักษะการคิดคํานวณ ครูค อยช ว ยเหลื อ ในกรณี ที่ นั ก เรีย นหาคํ าตอบไม ไ ด ห รื อ มี ป ญ หา และให ทํ า แบบฝกหัด 2 ขอ 4 ขอที่เหลือเปนการบานโดยกําหนดวันและเวลาสงงาน เฉลย (1) จงหาความชันของเสนตรงที่ผานจุด (4, 3) และ (2, –1) วิธีทํา เนื่องจาก m = y2 − x1 เมื่อ x1 ≠ x2 x − y 2 1 เสนตรงผานจุด (4, 3) และ (2, –1) ให (x1, y1) = (4, 3) และ (x2, y2) = (2, –1) ดังนั้น m = −21−−43 = 2
  • 34. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 100 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ (3) จงหาความชันของเสนตรงที่ผานจุด (–2, –3) และ (2, 3) วิธีทํา เนื่องจาก m = y2 − x1 เมื่อ x1 ≠ x2 x − y 2 1 เสนตรงผานจุด (–2, –3) และ (2, 3)ให (x1, y1) = (–2, –3) และ (x2, y2) = (2, 3) ดังนั้น m = 2 − ((−3)) = 6 = 3 3 − −2 4 2 (4) จงหาความชันของเสนตรงที่ผานจุด (–4, –6) และ (8, –10) วิธีทํา เนื่องจาก m = y2 − x1 เมื่อ x1 ≠ x2 x − y 2 1 เสนตรงผานจุด (–4, –6) และ (8, –10)ให (x1, y1) = (–4, –6) และ (x2, y2)=(8, –10) ดังนั้น m = −8 −−−(4)6) = 12 = −31 10 − ( −4 (5) จงหาความชันของเสนตรงที่ผานจุด (–4, 3) และ (2, 10) วิธีทํา เนื่องจาก m = y2 − x1 เมื่อ x1 ≠ x2 x − y 2 1 เสนตรงผานจุด (–4, 3) และ (2, 10) ให (x1, y1) = (–4, 3) และ (x2, y2) = (2, 10) ดังนั้น m = 210 (−−3 ) = 7 − 4 6 ชั่วโมงที่ 9 (ความชันและสมการเชิงเสน ตอ) 23. ครูสนทนาและซักถามนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องการหาความชันของเสนตรงมี ทักษะการคิดวิเคราะห สูตรในการหาวาอยางไร และมีวิธีการทําอยางไรบาง เพื่อเปนการทบทวนความรู ทักษะการคิดคํานวณ เดิมที่เรียนมาแลว ตอจากนั้นใหนักเรียนชวยกันหาความชันจากโจทยตอไปนี้ ตัวอยางที่ 9 จงหาความชันของเสนตรงซึ่งผานจุด (1, 2) และ (4, 2) ใหนักเรียนชวยกันหาคําตอบและออกมาเขียนบนกระดานโดยครูเปนผูแนะนํา ได ดังนี้