SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 15
Baixar para ler offline
แนวทางการดูแลรักษาลิ้มเลือดอุดตันในปอด ในผูปวยฉุกเฉิน
    Management of Massive And Submassive Pulmonary Embolism In The Emergency Department

                                                                      อาจารยนายแพทย ธนดล โรจนศานติกุล
                                                     เวชศาสตรฉุกเฉิน โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ สภากาชาดไทย
                                                                  คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

        แนวทางการดูแลรักษาผูปวยนี้ ผูเขียนไดรับอนุญาติ ในการ review และเผยแพร จาก EM Practice
Guideline Update ที่ทําการ review และตีพิมพแนวทางการดูแลรักษาผูปวย จากสมาคมทางการแพทยตางๆ
ในประเทศสหรัฐอเมริกา ในสวนที่เกี่ยวของกับการวินิจฉัยและรักษาผูปวยฉุกเฉิน

          แนวทางการดูแลรักษาผูปวยนี้ไดทําการ review แนวทางการดูแลรักษา ผูปวย pulmonary embolism
( PE ) 3 แนวทาง โดย venous thromboembolism (VTE) นั้นจัดเปนภาวะที่พบไดบอย และพบไดตั้งแตอาการ
เล็กนอยจนถึงอาการรุนแรง ขอมูลจากการศึกษาที่มีผลชัดเจนตอการดูแลรักษาผูปวยฉุกเฉิน คือ ในผูปวย PE
ที่มภาวะ hemodynamic unstable มีโอกาสเกิด morbility และ mortality ไดสง โดยปจจุบันนี้พบผูปวยเสียชีวิต
    ี                                                                  ู
จาก PE ในประเทศสหรัฐฯ สูงถึง 300,000 รายตอป และ ในสวนผูปวยที่รอดชีวิตจาก PE ที่มีอาการรุนแรง ก็ยังมี
โอกาสเกิด morbidity จากภาวะ RV dysfunction ไดสูง หลักฐานจากการศึกษาในปจจุบันนี้ มีขอมูลสนับสนุน
การใหยา Thrombolysis มากขึ้น โดยเฉพาะในผูปวยอาการรุนแรง ดังนั้น การดูแลรักษาผูปวย PE ที่มี
ขนาดพยาธิสภาพใหญจึงมีจําเปนตองมีแนวทางการดูแลรักษาที่ชัดเจน โดยเฉพาะ เพื่อพิจารณาใชยา
thrombolysis เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดจากการใชยาและมีโอกาสเสี่ยงตอภาวะแทรกซอนจากยาใหนอยที่สุด

Practice guideline impact แนวทางการดูแลรักษาที่สงผลตอแนวทางปฎิบัติในปจจุบัน
    • การใหยา intravenous thrombolysis แนะนําใหในผูปวย massive PE เชน ผูปวย PE ที่มีภาวะ unstable
         hemodynamic
    • การวินิจฉัยภาวะ RV dysfunction เปนสิ่งสําคัญในการตัดสินใจวาผูปวยเปนผูปวย PE ที่มีภาวะ
         hemodynamic stable และมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซอนจากตัวโรคไดสูง ซึ่งผูปวยกลุมนีมีแนวโนม
                                                                                          ้
         ที่จะไดรับ ประโยชนจากการใหยา intravenous thrombolysis
    • การใหยา intravenous thrombolysis ในผูปวย stable PE ที่มีภาวะ RV dysfunction ยังไมขอมูล
         สนับสนุนที่ชัดเจน จะเห็นไดจากไมมีขอบงชี้ในการใชยาจากแนวทาการดูแลรักษาจาก American Heart
         Association and the American College of Chest Physicians แตสําหรับแนวทาง การดูแลรักษาของ
         American College of Emergency Physicians มีแนวโนมสนับสนุนการดวยวิธีดังกลาวมากขึ้น
Critical Issues In The Evaluation And Management Of Adult Patients Presenting To The Emergency
Department With Suspected Pulmonary Embolism
จาก Annals of Emergency Medicine, 2011

          แนวทางการดูลรักษานี้เขียนขึ้นโดย committee และ subcommittee ของ American College of
Emergency Physician (ACEP) โดยการสนับสนุนทุนจากสมาคมเอง โดยทางกลุมไดพิจารณาตั้ง 6 คําถามเพื่อทํา
literature search และ review โดยใชผูเชี่ยวชาญจาก emergency physician, cardiologist, สมาชิกของ
American College of Chest Physicians, American College of Radiology, ACEP’s ultrasound Section,
ACEP’s Quality and Performance Committee อันเปนที่ที่มาแนวทางการรักษานี้
          โดย evidence จัดลําดับเปน I, II, III และ X-fetally flawed
          สวน Recommendation จัดลําดับตาม ความนาเชื่อถือของ evidence ดังนี้
          A มีความนาเชื่อถือทางคลีนิคสูง
          B มีความนาเชื่อถือทางคลีนิคปานกลาง
          C จากการศึกษา class C หรือ ไมพบหลักฐานเพียงพอ อาศัยขอมูลจากความเห็นของจากที่
ประชุมเปนหลัก

            คําถามที่เลือกมาใหทําแนวทางการดูแลรักษานี้มีที่มาจากการตีพิมพป 2003 โดยไดยกบางหัวขอ
ที่ยังไมมีขอมูลสนับสนุนชัดเจนระบุไวมาปรับปรุงเพิ่มเติม รวมถึงเพิ่มประเด็นที่หนาสนใจจากป 2003 แนวทาง
ใหการรักษานี้มจําทําขึ้นเพื่อจุดประสงคเปน evidence-based guideline ใหแพทยที่ปฏิบัติงานในหองฉุกเฉิน
                  ี
ใชดูแลรักษาผูปวย ที่มาดวยอาการสงสัย PE โดยการแนวทางการรักษานี้ไมไดรับ การสนับสนุนทุนการศึกษาใดๆ
จากภาคเอกชน ใชงบประมานในการดําเนินงานทั้งหมดจากสมาคมเอง

           กลุมเปาหมายของแนวทางการดูแลรักษานี้ คือ แพทยที่ปฏิบัติงานในหองฉุกเฉินของโรงพยาบาล
หรือหองฉุกเฉินที่มีหนวยสังเกตุอาการ โดยแนวทางการดูแลรักษานี้สามารถใชไดกับผูปวยผูใหญที่สงสัย PE
ไมวาจะเปนผูปวยหัวใจหยุดเตน ผูปวยตั้งครรภ แตแนวทางใหการรักษานี้ไมเหมาะกับผูปวยเด็ก หรือ
ผูปวยที่ไมสงสัย หรือไมมีอาการของ PE
    

Critical Question 1: objective criteria สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการวินัจฉัยผูปวย PE ไดดีกวาการใช gestalt
clinical assessment หรือไม
     • Level A Recommendations : none specific
     • Level B Recommendations : ไมวาจะเปนการใช objective criteria หรือ gestalt clinical assessment
          ไมพบหลักฐานแสดงวาวิธีไหนสามารถวินัจฉัยไดแมนยํากวา
     • Level C Recommendations : none specific

Critical Question 2: อะไรคือประโยชนของ PERC ในการดูแลผูปวยสงสัย PE
     • Level A Recommendations : none specific
     • Level B Recommendations : ในผูปวย low pretest probability พิจารณาใช PERC ในการ exclude PE
          จากประวัติและตรวจรางกาย
     • Level C Recommendations : none specific
Critical Question 3: อะไรคือประโยชนของ quantitative D-dimmer test ในการยืนยันวาผูไมมีภาวะ PE
                                                                                   
     • Level A Recommendations : ในผูปวย low pretest probability ผลตรวจ D-dimer
          ที่ใหผลการตรวจปรกติสามารถยืนยันวาผูปวยไมมีภาวะ PE ได
     • Level B Recommendations : none specific
     • Level C Recommendations : ในผูปวย intermediate pretest probability ผลตรวจ D-dimer ปรกติ
          นาจะสามารถใชสามารถยืนยันวาผูปวยไมมีภาวะ PE

Critical Question 4: อะไรคือประโยชนของการทํา computed tomography pulmonary angiogram
เพื่อยืนยันวาผูไมมีภาวะ PE
                  
      • Level A Recommendations : none specific
      • Level B Recommendations : ในผูปวย low pretest probability หรือ Well score นอยกวาหรือเทากับ 4
            ที่ตองการการตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติม (เชน รายที่ผลตรวจ D-dimer ผิดปรกติ, หรือไมสามารถตรวจ high
            sensitive D-dimer ได) หากผลการตรวจ computed tomography pulmonary angiogram
            ปรกติสามารถยืนยันไดวาไมมีภาวะ PE
      • Level C Recommendations
      1. ในผูปวย intermediate pretest probability ที่ผลตรวจ computed tomography pulmonary angiogram
            ใหผลปรกติแตอาการของผูปวยนาสงสัยวาจะมีภาวะ PE และยังไมไดทําการตรวจ CT venogram
            แนะนําใหทําการตรวจเพิ่มเติมเพื่อยืนยันวาผูปวยไมมีภาวะ PE ดังนี้ คือ D-dimer, Lower extremities
            imaging, VQ scaning, หรือ traditional pulmonary arteriography
      2. ในผูปวย high pretest probability ที่ผลตรวจ computed tomography pulmonary angiogram
            ใหผลปรกติ และยังไมไดทําการตรวจ CT venogram แนะนําใหทําการตรวจเพิ่มเติมเพื่อยืนยันวา
            ผูปวยไมมีภาวะ PE ดังนี้ คือ D-dimer, Lower extremities imaging, VQ scaning, หรือ traditional
            pulmonary arteriography
      ดังนั้น ถาหากผลตรวจ highly sensitive quantitative D-dimer ใหผลปรกติ รวมกับ multidetector CT
pulmonary angiogram ใหผลปรกติ สามารถสรุปไดวา post test probability ของ VTE ในผูปวยรายนั้น
นอยกวา 1%

Critical Question 5: อะไรคือขอบงชี้ในการตรวจ venous imaging ในผูปวยสงสัย PE
     • Level A Recommendations : non specified
     • Level B Recommendations : การตรวจ venous imaging เบื้องตน ถาผลตรวจพบ blood clot
          ในเสนเลือดดํา รวมกับอาการที่สงสัย PE สามารถใหการวินิจฉัย PE เบื้องตนได เและยังชวยลดการตรวจ
          imaging อื่นๆ ในหองฉุกเฉินได
          ตัวอยางผูปวยรายที่แนะนําการตรวจ venous ultrasound เชน ในผูปวยที่สงสัย PE และมีอาการแสดง
          สงสัย deep venous thrombosis (DVT) และมีขอบงหามในการตรวจ CT scan (เชน คาการทํางาน
          ของไตผิดปรกติ หรือผูปวยตั้งครรภ)
• Level C Recommendations :
    1. ในผูปวย intermediate pretest probability หากผลตรวงจ CT angiogram ใหผลปรกติหากยังไมได
       ทำการตรวจ CT venogram การตรวจ lower extremities venous ultrasound เปนการตรวจเพิ่มเติมที่
       แนะนําเพื่อยืนยันวาผูปวยไมมีภาวะ PE
    2. ในผูปวย high pretest probability หากผลตรวงจ CT angiogram ใหผลปรกติ และยังไมไดทําการตรวจ
       CT venogram การตรวจ lower extremities venous ultrasound เปนการตรวจเพิ่มเติมที่แนะนํา
       เพื่อยืนยันวาผูปวยไมมีภาวะ PE

Critical Question 6: อะไรคือขอบงชี้ของการใหยา thrombolytic ในผูปวย PE
     • Level A Recommendations : non specified
     • Level B Recommendations :
     1. แนะนำใหยา thrombolytic ในผูปวย PE ที่มีการตรวจยืนยันการวินิจฉัย และมีภาวะ unstable
          hemodynamic รวมถึงไดรับการพิจารณาแลววาประโยชนของการใหยามีมากกวาโทษจากโอกาส
          เสี่ยงของภาวะแทรกซอนจากใหยา โดยเฉพาะโอกาสเสียงตอภาวะเลือดออกผิดปรกติ
                                                             ่
     2. การทําฝาตัด (surgical or mechanical thrombectomy) ถือวาเปนอีกทางเลือกหนึ่งของผูปวยที่มี
          โอกาสเสี่ยงตอภาวะแทรกซอนเลือดออกผิดปรกติจากใหยา หากมีศักยภาพทําได
     • Level C Recommendations:
     1. พิจารณาใหยา thrombolytic ในรายที่มีภาวะ unstable hemodynamic โดยใหในผูปวยที่เขาไดกับ PE
                                                                                  
          แตไมสามารถทําการตรวจวินิจฉัยยืนยันภาวะ PE ได
     2. ปจจุบันนี้ยังไมหลักฐานสนับสนุนเพียงพอในการใหยา thrombolytic ในกลุมผูปวย stable hemodynamic
          ที่มีภาวะ RV dysfunction ถึงแมวาจะมีหลักฐานสนับสนุนวาการใหยา thrombolytic สามารถชวยเพิ่ม RV
          function ไดในเวลารวดเร็ว แตไมพบการศึกษาใดที่แสดงวายา thrombolytic มีสวนชวยเพิ่มโอกาส
          รอดชีวิตในผูปวยในกลุมดังกลาว

Editor comment
          การใช Well score, Geneva score, Kline rule, Pisa model หรือ Gestalt clinical assessment
เพื่อพิจารณาโอกาสการเกิด PE เปน low, intermediate และ high pretest probability ลวนแลวแตมี
ความสําคัญในการวินิจฉัยและกําหนดแนวทางการรักษาผูปวยทั้งสิ้น เชน Level B recommendation แนะนําวา
PERC rule ควรใชสําหรับผูปวย Low pretest probability เทานั้น และหลักฐานสนับสนุนการสงตรวจ D-dimer
ขึ้นกับ pretest probability เทานั้น แตอยางไรก็ตามไมวาจะใชหลัก criteria ใด ไมพบขอมูลสนับสนุนวาวิธีใด
มีความชัดเจนและความนาเชื่อถือในการวินิจฉัยมากวาวิธีอื่นๆ
           ในเรื่อง D-dimer testing มีการเปลี่ยนแปลงที่ชัดเจนของแนวทางการดูแลรักษาป 2011 จากป 2003 คือ
มี evidence base level C สนับสนุนการตรวจ D-dimer ใน intermediate risk เพิ่มขึ้นมา โดยอาศัย evidence
base จาก consensus (ไมมีขอมูลจาก evidence base ระดับที่สูงกวานั้น) รวมถึงมีการศึกษา retrospective 2
การศึกษา จาก Righini ที่แสดงวา ผลตรวจ D-dimer ที่ใหผลปรกติจะมีสวนชวยในการวินิจฉัย PE จะลดลงตาม
pretest probability จาก low ไป intermediate risk ถึงแมการศึกษาดังกลาวนี้ไมมีผลตอแนวทางการรักษา
แตการศึกษาดังกลาวมีผลแสดงใหเห็นวา specificity ของ D-dimer ขึ้นกับ pretest probability ของ PE
           อยางไรก็ตาม D-dimer ก็สามารถสงตรวจไดในผูปวย intermediate และ high pretest probability
แตตองสงตรวจ CT angiography เพื่อวินิจฉัย PE ในทางกลับกันเนื่องจาก CT angiogram อาจใหผล false
negative ได 15% ดังนั้น ACEP แนะนําใหตรวจ D-dimer ในผูปวยกลุม intermediate และ high pretest
probability ที่ CTA ใหผลปรกติและยังไมไดผล CT venogram การที่ D-dimer ใผผลปรกติรวมกับ CTA ปรกตินั้น
สามารถสรุปไดวา post test probability ของการเกิด PE นอยกวา 1 %
           การสงตรวจ venous ultrasonography แนะนำตรวจ venous ultrasonography ในรายที่มีอาการ
เขาไดกับ DVT ชัดเจนรวมกับมีขอหามในการสงตรวจ CT (เชน renal insuffiency, IV contrast allergy, ตั้งครรภ)
ในการศึกษาแบบ multicenter randomized prospective noninferiority trial ของ Righini ไดทําการศึกษา
การตรวจ venous ultrasonography เพิ่มเติมกอนการทํา CTA ในผูปวยสงสัย PE เริ่มการศึกษาโดยแบง
ผูปวยออกเปน 2 กลุม ทั้งสองกลุมทําการประเมิน pretest probability, ทำการตรวจ D-dimer และทำ CTA
จากนั้นติดตามการรักษา 3 เดือน โดยทำการศึกษาเปรียบเทียบระหวางกลุมแรกดังที่กลาวขางตน กับกลุม
ที่สองที่เพิ่มการตรวจ venous ultrasonography กอนทํา CTA และถาผลการตรวจ venous ultrasonography
พบ DVT ไมจําเปนตองทําการตรวจเพิ่มเติมอื่นอีกใหทําการรักษาตามแนวทางปรกติไดเลย ผลการศึกษา
พบวาเมื่อติดตามการรักษาไป 3 เดือน ทั้งสองกลุมไดรับการรักษาเหมือนกัน และผลการรักษาปลอดภัยเทาเทียมกัน
(การศึกษาพบวาผูปวย 10% ตรวจพบ venous ultrasonography พบ DVT และผูปวยกลุมนีไดรับการรักษา
                                                                                        ้
ไมแตกตางกับกลุมที่ทํา CTA และผลการรักษาจาก 2 กลุมปลอดภัยเทาเทียมกัน
ซึ่งทําใหลดการไดรับรังสีและสารทึบรังสีจากการทำ CTA)
           ในผูปวย intermediate และ high pretest probability ที่ผล CTA ปรกติ รวมกับอาการและอาการแสดง
สงสัยวาเปนอาการจาก PE การทำ venous imaging รวมถึง ultrasound ควรพิจารณาทําเพื่อ rule out ภาวะ VTE
ดังเห็นไดจากการศึกษาของ Anderson ผลทําการศึกษา multicenter prospective trail เกี่ยวกับความปลอดภัย
ของการใชผลตรวจ CTA หากผลการตรวจปรกติ ในการยืนยันวาไมมีภาวะ PE โดยพิจารณา pretest probability,
D-dimer, CTA และ venous ultrasound เมื่อติดตามการรักษาไป 3 เดือน หลังจากแยกผูปวย low pretest
probability และ ผล D-dimer ปรกติออกไปแลว ผูปวยทั้งหมดที่ทํา CTA ไดทำการตรวจ venous ultrasound
ผลการศึกษาพบวา ผูปวย 13.7% ไดรับการวินิจฉัย PE จากการทำ CTA และผูปวย 3.1% ไดรับการวินิจฉัย DVT
เพิ่มเติมจากการทําโดยการตรวจ ultrasound นอกจากนั้นยังมีการศึกษาอื่นที่แสดงใหเห็นวา venous ultrasound
เพิ่มอัตราการวินิจฉัย VTE ได 0%-6% ดังนั้นจึงสรุปไดวา venous ultrasound มีประสิทธิภาพเทาเทียมกับการตรวจ
CT venous imaging ในรายที่ผล CTA ปรกติ
           การใหยา thrombolytics แนะนําใหในผูปวยที่มีภาวะ hemodynamic unstable และมีการตรวจยืนยัน
การวินิจฉัย PE แลวเทานั้น ( level B recommendation ในป 2003 และ 2011) แนวทางใหการรักษาป 2011
ไดเพิ่มในสวน ขอบงชี้ของการใหยา thrombolytics ที่วาพิจารณาใหเฉพาะที่มีประโยชนจากใหยาเมื่อเทียบ
กับอัตราเสี่ยงของโอกาสเกิดภาวะแทรกซอนจากยาแลวเทานั้น ขอมูลจาก International Cooperative Pulmonary
Embolism Registry (ICOPER) พบภาวะIntracranial bleeding 3%, และภาวะเลือดออกสําคัญอื่นๆ 21.7%
ของผูปวยทั้งหมดที่ไดรับยา thrombolytic ดังนั้น American College of Emergency Physicians จึงไมแนะนำ
       
ใหใชยา thrombolytics ในผูปวย submassive PE (submassive PE คือ ผูปวย PE ที่มี hemodynamic stable
รวมกับ RV infarction) เพราะ การที่ RV function กลับมาเปนปรกติ ในเวลาอันสั้น และ pulmonary perfusion
กลับสูภาวะปรกตินั้น ไมไดมีประโยชนชวยลดอัตราการเสียชีวิต ( mortality ) ในผูปวย PE
           ผูเขียนแนะนําใหใช pulmonary embolism severity index ในการพิจารณาประโยชนและโอกาสเสี่ยง
ของภาวะแทรกซอนในการใหยา thrombolytics และอีกประเด็นที่ควรไดรับการพิจารณาคือ เวลาที่จะเริ่มใหยา
นามีผลตอการใหยา thrombolytics เชนเดียวกับการใหยาในผูปวย myocardial infarction และ ischemic stroke
           การพิจารณาใหยา thrombolytics อาจพิจารณาใหในผูปวยที่มภาวะ hemodynamic unstable
                                                                       ี
รวมกับมีอาการสงสัยเขาไดกับ PE ที่ไมสามารถยืนยันการวินิจฉัยได โดยใช Level C recommendation
ซึ่งอาศัยการทํา ultrasound ตรวจหาภาวะ RV strain หรือ RV dysfunction ที่เขาไดกับ submassive หรือ massive
PE (พิจารณาตรวจ echocardiography เพื่อหา RV infarction, ตรวจ electrocardiogram EKG เพื่อหา
incomplete right bundle branch block หรือ anteroseptal ST T change หรือ ตรวจ brain natriuretic peptide
BNP, troponin เพื่อชวยพิจารณาการวินิจฉัยภาวะ PE) และ พิจารณาตรวจ focus cardiac sonography โดย
Emergency Physicians เพื่อพิจารณาขนาด ventricle หากตรวจพบวาขางขวามีขนาดใหญกวาขางซายนั้น
มีความจําเพาะเจาะจงเพียงพอในการวินิจฉัยภาวะ RV strain

ตารางแสดง Pulmonary Embolism Severity Index
(จาก American Journal of Respiratory and Critical Care Medicine. Vol 172(8) หนา 1043)

Prognostic Variables                                             Points Assigned
Demographics
Age                                                               Age, in years
Male sex                                                            +10
Comorbid Conditions
Cancer                                                               +30
Heart failure                                                        +10
Chronic lung disease                                                 +10
Clinical Findings
Pulse ≥ 110 beats/minute                                             +20
Systolic blood pressure < 100 mmHg                                   +30
Respiratory rate ≥ 30 breaths/minute                                 +20
Temperature < 36°C (< 96.8°F)                                        +20
Altered mental status                                                +60
Arterial oxygen saturation < 90%                                     +20

           Risk Class            30-Day Mortality (95% CI)*           Total Point Score**
        I (very low risk)             1.6% (0.9-2.6)                          ≤ 65
           II (low risk)              3.5% (2.5-4.7)                         66-85
    III (intermediate risk)           7.1% (5.7-8.7)                        86-105
          IV (high risk)             11.4% (9.3-13.8)                       106-125
       V (very high risk)            23.9% (21.4-26.5)                       > 125


*Mortality by class reported for the 5177-patient internal validation sample.
**A total point score for a given patient is obtained by summing the patient's age in years and the points
for each applicable prognostic variable. Abbreviation: CI, confidence interval.
Management of Massive and Submassive Pulmonary Embolism, iliofemoral Deep Vein Thrombosi, And
Chronic Thromboembolic Pulmonary Hypertension: A Scientific Statement From The American Heart
Association.
จาก Circulation 2011;123(16):1788-1830

          ตัวแทนจาก Council ในดาน peripheral vascular disease และ council ในดาน cardiopulmonary,
critical care, perioperating และ resuscitation ของสมาคม American Heart Association จัดตั้งขึ้นเพื่อพิจารณา
literature และจัดทําแนวทางการดูแลรักษา massive และ submassive PE, โดยไมไดระบุทมาของงบประมาณ
                                                                                     ี่
สนับสนุนการจัดทําแนวทางการดูแลรักษานี้ แตผูเขียนแนวการดูแลรักษาทุกรายไดชี้แจงวาไมมี conflict of interest
กับบริษัทยา และเครื่องมือแพทยในสวนที่เกี่ยวของกับแนวทางการดูแลรักษา
          แนวทางการการดูแลรักษานี้ ไดทําการแบงระดับของ evidence เปน grade A,B และ C และแบง
recommendation เปน class I, IIa, IIb และ III ดังตารางตอไปนี้

American Heart Association Classification Of Recommendations And Level Of Evidence

   Levels of Evidence
     • Level A Multiple populations evaluated. Data derived from multiple randomized
       controlled trials or meta-analyses
     • Level B Limited populations evaluated. Data derived from a single randomized
       trial or nonrandomized studies
     • Level C Very limited populations evaluated; only consensus opinion of experts,
       case studies, or standard of care

   Classes of Evidence
     •    Class I Benefit >>> Risk
     •    Class IIa Benefit >> Risk
     •    Class IIb Benefit ≥ Risk
     •    Class III Risk ≥ Benefit


คํานิยามภาวะตางๆที่เกี่ยวของกับ PE ของ American Heart Association

    • Massive PE คือ Acute PE ที่มีภาวะดังตอไปนี้
    1. ภาวะความดันโลหิตต่ํา (systolic blood pressure SBP<90 mmHg อยางนอย 15 นาที หรือ
    ความดันโลหิตต่ําที่ตองไดรับยา inotropic) และผูปวยตองไมมีสาเหตุจากสาเหตุอื่นๆ ของความดันโลหิตต่ํา
    เชน arrhythmia, hypovolemia, sepsis หรือ left ventricular dysfunction LV
    2. หัวใจหยุดเตนหรือคลําชีพจรไมได
    3. Bradycardia หัวใจเตนชากวา 40 ครังตอนาที รวมกับมีอาการหรืออาการแสดงของภาวะช็อค
                                           ้
• Submassive PE คือ acute PE ที่ไมพบภาวะความดันโลหิตต่ํา (systolic blood pressure SBP≥ 90
        mmHg) รวมกับภาวะ RV dysfunction หรือ myocardial necrosis
    • RV dysfunction หมายถึง ภาวะดังตอไปนี้อยางนอย 1 อยาง
    1. พบ RV dilation (apical 4-chamber RV diameter divided by LV diameter > 0.9) หรือพบ RV systolic
    dysfunction โดยการทำ echocardiography
    2. พบ RV dilation (4-chamber RV diameter divided by LV diameter> 0.9) จากการทำ CT scan
    3. ผลการตรวจ BNP มีคาผิดปรกติ (> 90 pg/mL)
    4. ผลการตรวจ N-terminal pro-BNP มีคาผิดปรกติ (> 500 pg/mL) or
    5. ผลการตรวจคลื่นไฟฟาหัวใจผิดปรกติ ( Electrocardiographic พบ new complete or incomplete right
    bundle-branch block, anteroseptal ST elevation or depression, หรือ anteroseptal T-wave inversion)

    • Myocardial necrosis คือ ภาวะที่ผลการตรวจ troponin I เพิ่มมากกวา 0.4 ng/mL หรือ
    ผลการตรวจ troponin T เพิ่มมากกวา 0.1 ng/mL

    • Low-risk PE คือ Acute PE ที่ตรวจไมพบอาการ อาการแสดง ของ massive or submassive PE

Recommendations For Fibrinolysis For Acute Pulmonary Embolism

        1. Fibrinolysis เหมาะสําหรับผูปวย acute PE ที่พบภาวะ massive PE และโอกาสเสี่ยง
        ตอภาวะแทรกซอนเลือดออกผิดปรกติอยูในเกณฑที่รับได (Class IIa; Level of Evidence B).
        2. Fibrinolysis อาจพิจารณาใหในผูปวย submassive acute PE โดยพิจารณาแนวโนม prognosis
        ของตัวโรค (เชน hemodynamic instability, worsening respiratory insufficiency, severe RV
        dysfunction, or major myocardial necrosis) และผูปวยนั้นตองมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซอน
        เลือดออกผิดปรกติต่ํา (Class IIb; Level of Evidence C).
        3. Fibrinolysis ไมแนะนําใหในผูปวย low-risk PE (Class III; Level of Evidence B) หรือ submassive
        acute PE ที่พบเพียง minor RV dysfunction หรือ minor myocardial necrosis โดยไมมีอาการหรือ
        อาการแสดงอื่นๆ (Class III; Level of Evidence B).
        4. Fibrinolysis ไมแนะนําใหในผูปวย cardiac arrest ที่ไมทราบสาเหตุหรือไมสามารถยืนยันการตรวจ
        วินิจฉัย Acute PE (Class III; Level of Evidence B).

ขอหามในการให Fibrinolysis

1. Absolute contraindications
    • ประวัติเลือดออกในสมอง (ไมกําหนดระยะเวลา)
    • ประวัติ structural intracranial cerebrovascular disease เชน arteriovenous malformation
    • ประวัติ malignant intracranial neoplasm
    • ประวัติ Ischemic stroke ภายใน 3 เดือน
    • ผูปวยสงสัย aortic dissection
• ผูปวย Active bleeding หรือ bleeding diathesis
    • ประวัติฝาตัดสมอง หรือ ไขสันหลัง
    • ประวัติอุบัติเหตุทางสมอง closed-head trauma หรือ อุบัติเหตุทางใบหนา facial trauma ที่ radiographic
      แสดงใหเห็นวามีกระโหลกศีรษะแตก หรือ มี brain injury

2. Relative contraindications
    • อายุมากกวา 75 ป
    • ประวัติใชยา anticoagulation
    • ภาวะตั้งครรภ
    • ผูปวยที่มี noncompressible vascular punctures
    • ประวัติอุบัติเหตุ หรือ prolonged cardiopulmonary resuscitation (> 10 นาที)
    • ประวัติเลือดออกในชองทอง (ภายใน 2 to 4 สัปดาห)
    • ประวัติความดันโลหิตสูงรุนแรงเรื้อรังที่ควบคุมไมได
    • ความดันโลหิตสูง (systolic blood pressure SBP >180 mm Hg หรือ diastolic blood pressure (DBP)
          > 110 mm Hg)
    • ประวัติ dementia
    • ประวัติ ischemic stroke > 3 เดือน
    • ประวัติฝาตัดภายใน 3 สัปดาห

       ประวัติฝาตัดขึ้นอยูกับวาทําการฝาตัดอะไร และประวัติอุบัติเหตุเล็กนอย เชน minor head trauma
จากการเปนลม ไมใชขอหามการให fibrinolysis.
       การตัดสินใจใหการรักษาขึ้นกับความรุนแรงของโรคและโอกาสเกิดภาวะแทรกซอนจาก fibrinolysis
โดยควรพิจารณาผูปวยเปนรายๆไป
แผนผังแสดงแนวทางใหยา fibrinolytic ในการรักษาผูปวย pulmonary embolism




Editorial comment

           ขอมูลจาก 13 การศึกษาแบบ placebo-controlled randomized trials สําหรับผูปวย acute PE ที่ไดรับ
fibrinolysis การวิเคราะหขอมูลในสวนผูปวย massive PE (จํานวนผูปวยเล็กนอย ) แสดงใหเห็นดังตอไปนี้
การศึกษาของ Wan ในผูปวย Massive PE เปรียบเทียบการรักษาโดย fibrinolysis และ heparin พบวา
การรักษาโดย fibrinolysis ลดอัตราการเสียชีวิต และลดอัตราการเกิดซ้ําของ PE ไดอยางชัดเจน ( 9.4% เมื่อไดรับ
fibrinolysis เมื่อเทียบกับ 19% เมื่อไดรับแตเพียงไดรับเพียง heparin อยางเดียว ) ถึงแมวา การลดลงของ
อัตราการเสียชีวิตเมื่อใช fibrinolysis อยางชัดเจนในผูปวยกลุมดังกลาวนี้ อยางไรก็ตามจากการศึกษานี้ และ
การศึกษาอื่นๆกอนหนานี้ ผูปวยมีที่ไดรับ fibrinolysis มีโอกาสเสี่ยงตอภาวะเลือดออกเพิ่มขึ้นไดอยางชัดเจน
           ขอมูลจากการศึกษาผูปวย massive PE อัตราเสียชีวิตจาก PE ถือเปนปจจัยสําคัญ แตเมื่อพิจารณา
ผูปวยกลุม submassive PE ( ตามคําจํากัดความของ AHA ผูปวย acute PE ที่ไมพบ SBP ≥ 90 mm Hg แตพบ
ภาวะ RV dysfunction หรือ myocardial necrosis ) อัตราการเสียชีวิตจากรักษาโดย heparin อยางเดียว พบได
คอนขางต่ํา (ประมาณ < 3%) ดังนั้น ถึงแมวาการให fibrinolytic จะมีประสิทธิภาพการรักษาที่สูง ในการลดอัตรา
การเสียชีวิต (ประมาณ 30%) ผลการรักษาทั้งหมดในภาพรวมนั้นจะลด อัตราเสี่ยงของ การเสียชีวิตของ
ผูปวยกลุมนีไดเพียง 1%
              ้
ถึงแมวาอัตราการเสียชีวิตไมไดลดลงอยางชัดเจน แตการลดโอกาสเกิดผล secondary adverse outcome
เชน RV dysfunction, chronic thromboembolic pulmonary hypertension (CTEPH) และ คุณภาพชีวิตหลัง
การรักษา ถือเปนจุดมุงหมายที่สําคัญของการรักษา PE ตัวอยางเชน การศึกษาแบบ single prospective designed
study ผลของการรักษาผูปวย PE ที่ไดรับ alteplase ที่ 6 เดือน (ผูปวย 162 คน 144 คนไดรับการรักษาโดย heparin
อยางเดียว และ 18 รายไดรับการรักษาโดย alteplase และ heparin) ผูปวย 27% จาก 144 รายที่ไดรับการรักษาโดย
heparin อยางเดียว พบวามี RV systolic pressure เพิ่มขึ้นเมื่อติดตามการรักษาไป 6 เดือน เมื่อเปรียบเทียบกันแลว
ไมพบผูปวยมีการเพิ่มขึ้นของ RV systolic pressure ในกลุมที่ไดรับการรักษาโดย alteplase ดังนั้น อาจจะสรุปไดวา
การรักษาโดย finbrinolysis มีประโยชนสามารถชวยลดโอกาสเกิด CTEPH
          ในผูปวย low risk PE รวมถึงผูปวยที่ผลตรวจ troponin หรือ BNP ปรกติ และผูปวยที่ไมมีพบภาวะ RV
                
dysfunction ในผูปวยกลุมนี้เปนผูปวยที่มีโอกาสเสี่ยงตอการเสียชีวิตนอย คือนอยกวา 1% เนื่องจากโอกาส
                          
เสี่ยงของการเกิดภาวะแทรกซอนจาก finbrinolysis ที่มีโอกาสเกิดขึ้นไดคอนขางสูง ดังนั้น AHA จึงไมแนะนําใหใช
fibrinolysis ในผูปวย minor submassive PE จากการพิจารณาโอกาสเสียงตอภาวะเลือดออก และประโยชนที่ไดรับ
                                                                          ่
จากยา fibrinolysis ในผูปวยกลุมนี้ (ถึงแมวา AHA เองไมไดใหคําจํากัดความของ minor submassive PE ไว)
          ถึงแมวา AHA มีแนวโนมสนับสนุนการใชยา thrombolytics ในผูปวย unstable และมี high pretest
probability ของ PE แตไมมีการสนับสนุนการใหยาดังกลาวในผูปวยหัวใจหยุดเตนที่ไมทราบสาเหตุ
(undifferntiated cardiac arrest) ดังจะเห็นไดจากการศึกษาของ Bottiger ที่ทําการศึกษาแบบ double-blind
multicenter trial เพื่อประเมินการใช tenecteplase ในผูปวยหัวใจหยุดเตนกระทันหันนอกโรงพยาบาล (witnessed
out-of-hospital cardiac arrest) ผลการศึกษาไมพบความแตกตางระหวางการไดโดยยา tenecteplase และ
placebo เพื่อพิจารณา โอกาสรอดชีวิตที่ 30 วัน (primary endpoint) หรือ พิจารณาเรื่อง hospital admission,
return of spontaneous circulation, โอกาสรอดชีวิตจากโรงพยาบาล (secondary endpoint) นอกจากนั้นยังพบ
โอกาสเลือดออกในสมอง intracranial hemorrhage จาก tenecteplase เพิ่มขึ้น โดยการศึกษานี้ไดหยุด
ทำการศึกษาไปกอนทําการศึกษาเสร็จสิ้น เพราะโอกาสรอดชีวิตมีคอนขางนอย อยางไรก็ตามในผูปวยหัวใจหยุดเตน
และมีแนวโนมวา มีสาเหตุจาก PE การใหยา thrombolytics (50mg alteplase) ระหวางทําการกูชีวิตควรพิจารณา
และควรพิจารณาเปนอยางยิ่งในผูปวยหัวใจหยุดเตนในโรงพยาบาล และหัวใจหยุดเตนทันที
Antithrombotic Therapy For Venous Thromboembolic Disease: American College Of Chest Physicians
Evidence Based Clinical Practice Guidelines (8th Edition)
จาก Chest. 2008;133(6 Suppl):454S-545S

        The American College of Chest Physicians (ACCP) ออกแนวทางการรักษาดวย antithrombotic
therapy สําหรับผูปวย VTE ในป 2008. โดยจัดระดับ Quality of evidence ดังนี้
        1. Quality A คือ high quality จาก RCTs
        2. Quality B คือ moderate quality ใชขอมูลจาก randomized trials with important limitations หรือ
        จาก observational studies with large effects
        3. Quality C คือ low quality ขอมูลจาก observational studies
        การจัดลําดับ Recommendations จัดโดยแบง quality of evidence เปน 1 หรือ 2 สําหรับ strong หรือ
weak recommendations ตามลําดับ ดังตาราง

ตารางแสดง The Strength Of The Recommendations

 Level of Recommendation
 1 Strong recommendation. Desirable effects clearly outweigh undesirable effects, or vice versa.
 2 Weak recommendation. Desirable effects closely balanced with undesirable effects.
 Quality of Evidence
 A High-quality evidence
 B Moderate-quality evidence
 C Low-quality evidence

            งบประมาณในการจัดทําแนวทางการรักษา ผูเขารวมการจัดทําแนวทางใหการรักษา กลุมเปาหมาย
ผูใชแนวทางใหการรักษา รวมถึง methodology of the literature review ไมไดกลาวไวในแนวทางใหการรักษานี้
มีเพียงการชี้แจง Conflicts of interest ของผูรวมจัดทําไวเทานั้น โดยแนวทางใหการรักษาสําหรับผูปวย PE
ที่เกี่ยวของกับหองฉุกเฉินสรุปไดดังนี้

Systematically And Locally Administered Thrombolytic Therapy For Pulmonary Embolism

    • ผูปวย PE ทุกรายควรไดรับการพิจารณา risk stratification (Grade 1C) สําหรับผูปวยที่พบ
      hemodynamic compromise ถาไมมีโอกาสเสี่ยงสูงตอภาวะเลือดออกผิดปรกติแนะนําใหการรักษาโดย
      thrombolytic therapy (Grade 1B) และแนะนําวาควรให Thrombolysis เร็วที่สุดเทาที่ทําได
      เพราะเชื่อวาอาจเกิดภาวะ irreversible cardiogenic shock ในผูปวยกลุมนี้ได
    • และในผูปวย PE ที่มีโอกาสเสี่ยงสูง (high-risk patients) ถึงแมวาไมพบภาวะความดันโลหิตต่ํา
      ถาผูปวยมีโอกาสเสี่ยงภาวะเลือดออกผิดปรกติต่ํา แนะนําให thrombolytic therapy (Grade 2B)
    • การตัดสินใจให thrombolytic therapy ขึ้นอยูกับการประเมินผูปวย PE ทั้งความรุนแรงของโรค (severity),
      แนวโนมการเปนไปของตัวโรค (prognosis) รวมถึงปจจัยเสี่ยงตอภาวะแทรกซอนของเลือดออกผิดปรกติ
(risk of bleeding) ดังนั้นจะเห็นไดวาผูปวย PE สวนใหญไมมีความจําเปนใหใชและไมมีขอบงชี้ในการใช
      thrombolytic therapy (Grade 1B)
    • ผูปวย acute PE การใหยา thrombolytic agent แนะนําใหยาทางหลอดเลือดดํา peripheral vein
      มากกวาทาง artery catheter (Grade 1B)
    • ในผูปวย acute PE ที่ไดรับการรักษาดวย thrombolytic therapy แนะนําใหยาในเวลาอันสั้น เชน 2 ชั่วโมง
      มากกวาใหยาแบบ 24 ชั่วโมง (Grade 1B).

Editorial Comment

           Thrombolysis แนะนําใหใชในผูปวย hemodynamically unstable โดยใหยาเร็วที่สุดเพื่อสลาย thrombus
เพื่อหวังผลการรักษาที่ดีทสุด ผูปวยทุกรายควรไดรับการประเมินโอกาสเสี่ยงของตัวโรคใหเร็วที่สุด (risk stratified)
                          ี่
ดวยความเชื่อที่วาถาหากเวลาผานไป ผูปวยอาจมีภาวะการทํางานของรางกายลมเหลว (multiorgan failure)
รวมถึงเพิ่มอัตราเสียชีวิตของผูปวย (mortality) ซึ่งตางกับกับแนวทางการใหการรักษาของ AHA หรือ ACEP, ACCP
ที่แนะนำวาเวลาใหเริ่มยามีความสําคัญเฉพาะในผูปวยกลุม high-risk โดยแนะนําใหยาเร็วที่สุดเทาที่ทําได
แตไมไดมีระบุระยะเวลาไวในแนวทางใหการรักษานี้
           แนวทางใหการรักษาของ ACCP 7th edition ไมไดแนะนําให lytics ในผูปวย submassive PE
แตแนวทางใหการรักษาลาสุดเพิ่มความสําคัญในผูปวยกลุมนีโดยเชื่อวานาจะไดประโยชน หากผูปวยไมมี
                                                               ้
ปจจัยเสี่ยงตอภาวะเลือดออกผิดปรกติ โดยเฉพาะผูปวยที่มีแนวโนม poor prognostic ดังนี้

         1) ผูปวยที่พบ ill-appearing, marked dyspnea, anxiety, และ hypoxemia
         2) ผูปวยที่ตรวจพบคา troponin สูงขึ้น
         3) ผูปวยที่ตรวจพบ RV dysfunction จากการทำ echocardiography
         4) ผูปวยที่ตรวจพบ RV enlargement จากการทำ chest CT
               

          แนวทางการรักษาของ ACCP ยังแนะนําวิธีการใหยา lytics คือ แนะนําใหยาทาง peripheral IV catheter
มากกวาการใหยาทาง pulmonary artery catheter โดยเชื่อการใหยาทาง pulmonary artery โดยตรงนั้น ไมพบ
ประสิทธิภาพที่สูงกวา และยังเพิ่มอัตราเสี่ยงของภาวะเลือดออกผิดปรกติจากบริเวณ catheter site โดยแนะนำ
ใหยาในระยะเวลาอันสั้น (2 ชั่วโมง) มากกวาใหยาระยะเวลานาน (12 หรือ 24 ชั่วโมง) โดยเชื่อวาการใหยาแบบ
> 12 ชั่วโมง เพิ่มความเสี่ยงของภาวะแทรกซอนจากเลือดออกผิดปรกติ
          แนวทางการรักษายังมีประเด็นที่ไมชัดเจนนัก สําหรับการให heparin ในผูปวยที่ไดรับยา thrombolytic
ไมวาจะเปนการให unfractionated heparin ตั้งแตเริ่มแรก โดยหวังผล activated partial thromboplastin time
(APTT) 60-80 วินาที โดยใหหยุด unfractionated heparin เมื่อเริ่มใหยา fibrinolytics โดยสามารถให
unfractionated heparin อีกครั้งเมื่อ APTT < 80 วินาที
เอกสารอางอิง

    1. Tapson VF. Acute pulmonary embolism. N Engl J Med. 2008;358(10):1037-1052.

    2. Wood KE. Major pulmonary embolism: review of a pathophysiologic approach to the
    golden hour of hemodynamically significant pulmonary embolism. Chest. 2002;121(3):877-
    905.

    3. Fesmire FM, Brown MD, Espinosa JA, et al. American College of Emergency Physicians.
    Critical issues in the evaluation and management of adult patients presenting to the
    emergency department with suspected pulmonary embolism. Ann Emerg Med.
    2011;57(6):628-652, e675.

    4. American College of Emergency Physicians. Clinical policy: critical issues in the evaluation
    and management of adult patients presenting with suspected pulmonary embolism. Ann
    Emerg Med. 2003;41(2):257-270.

    5. Righini M, Aujesky D, Roy PM, et al. Clinical usefulness of D-dimer depending on clinical
    probability and cutoff value in outpatients with suspected pulmonary embolism. Arch Intern
    Med. 2004;164(22):2483-2487.

    6. Douma RA, le Gal G, Sohne M, et al. Potential of an age-adjusted D-dimer cut-off value to
    improve the exclusion of pulmonary embolism in older patients: a retrospective analysis of
    three large cohorts. BMJ. 2010;340:c1475.

    7. Kabrhel C, Courtney DM, Camargo CA Jr., et al. Potential impact of adjusting the threshold
    of the quantitative D-dimer based on pretest probability of acute pulmonary embolism. Acad
    Emerg Med. 2009;16(4):325-332.

    8. Linkins LA, Bates SM, Ginsberg JS, et al. Use of diferent D-dimer levels to exclude venous
    thromboembolism depending on clinical pretest probability. J Thromb Haemost.
    2004;2(8):1256-1260.

    9. Stein PD, Fowler SE, Goodman LR, et al, for the PIOPED II Investigators. Multidetector
    computed tomography for acute pulmonary embolism. N Engl J Med. 2006;354(22):2317-
    2327.

    10. Righini M, Le Gal G, Aujesky D, et al. Diagnosis of pulmonary embolism by multidetector
    CT alone or combined with venous ultrasonography of the leg: a randomised non-inferiority
    trial. Lancet. 2008;371(9621):1343-1352.

    11. Anderson DR, Kovacs MJ, Dennie C, et al. Use of spiral computed tomography contrast
    angiography and ultrasonography to exclude the diagnosis of pulmonary embolism in the
    emergency department. J Emerg Med. 2005;29(4):399-404.

    12. Goldhaber SZ, Visani L, De Rosa M. Acute pulmonary embolism: clinical outcomes in the
    International Cooperative Pulmonary Embolism Registry (ICOPER). Lancet.
    1999;353(9162):1386-1389.

    13. Aujesky D, Obrosky DS, Stone RA, et al. Derivation and validation of a prognostic model
    for pulmonary embolism. Am J Respir Crit Care Med. 2005;172(8):1041-1046.

    14. Moore C, Tarabar K, Osborne M. Prevalence and accuracy of right ventricular strain in
    emergency physician echocardiography. SAEM Annual Meeting. Acad Emerg Med. 2008;
    5:S78.
15. Jaff MR, McMurtry MS, Archer SL, et al. Management of massive and submassive
pulmonary embolism, iliofemoral deep vein thrombosis, and chronic thromboembolic
pulmonary hypertension: a scientific statement from the American Heart Association.
Circulation. 2011;123(16):1788-1830.

16. Wan S, Quinlan DJ, Agnelli G, et al. Thrombolysis compared with heparin for the initial
treatment of pulmonary embolism: a meta-analysis of the randomized controlled trials.
Circulation. 2004;110(6):744-749.

17. Kline JA, Steuerwald MT, Marchick MR, et al. Prospective evaluation of right ventricular
function and functional status 6 months after acute submassive pulmonary embolism:
frequency of persistent or subsequent elevation in estimated pulmonary artery pressure.
Chest. 2009;136(5):1202-1210.

18. Jimenez D, Yusen RD, Otero R, et al. Prognostic models for selecting patients with acute
pulmonary embolism for initial outpatient therapy. Chest. 2007;132(1):24-30.

19. Bӧttiger BW, Arntz HR, Chamberlain DA, et al. Thrombolysis during resuscitation for out-
of-hospital cardiac arrest. New Engl J Med. 2008;359(25):2651-2662.

20. British Thoracic Society Standards of Care Committee Pulmonary Embolism Guideline
Development Group. British Thoracic Society guidelines for the management of suspected
acute pulmonary embolism. Thorax. 2003;58(6):470-483.

21. Kearon C, Kahn SR, Agnelli G, et al. Antithrombotic therapy for venous thromboembolic
disease: American College of Chest Physicians evidence-based clinical practice guidelines
(8th Edition). Chest. 2008;133(6Suppl):454S-545S.

22. Piazza G, Goldhaber S. Management of submassive pulmonary embolism. Circulation.
2010;122:1124-1129.

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็กแนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็กUtai Sukviwatsirikul
 
Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)piyarat wongnai
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgtechno UCH
 
คำแนะนำการวินิจฉัยและการรักษาไข้เดงกีและไข้เลือดออกเดงกีในผู้ใหญ่ Rcpt 2013
คำแนะนำการวินิจฉัยและการรักษาไข้เดงกีและไข้เลือดออกเดงกีในผู้ใหญ่ Rcpt 2013คำแนะนำการวินิจฉัยและการรักษาไข้เดงกีและไข้เลือดออกเดงกีในผู้ใหญ่ Rcpt 2013
คำแนะนำการวินิจฉัยและการรักษาไข้เดงกีและไข้เลือดออกเดงกีในผู้ใหญ่ Rcpt 2013Utai Sukviwatsirikul
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfporkhwan
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...Utai Sukviwatsirikul
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition techno UCH
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...Chutchavarn Wongsaree
 
ประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำPrathan Somrith
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจtechno UCH
 

Mais procurados (20)

CAD IHD and VHD
CAD IHD and VHDCAD IHD and VHD
CAD IHD and VHD
 
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็กแนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
 
Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
 
EKG in ACLS
EKG in ACLSEKG in ACLS
EKG in ACLS
 
คำแนะนำการวินิจฉัยและการรักษาไข้เดงกีและไข้เลือดออกเดงกีในผู้ใหญ่ Rcpt 2013
คำแนะนำการวินิจฉัยและการรักษาไข้เดงกีและไข้เลือดออกเดงกีในผู้ใหญ่ Rcpt 2013คำแนะนำการวินิจฉัยและการรักษาไข้เดงกีและไข้เลือดออกเดงกีในผู้ใหญ่ Rcpt 2013
คำแนะนำการวินิจฉัยและการรักษาไข้เดงกีและไข้เลือดออกเดงกีในผู้ใหญ่ Rcpt 2013
 
Chest drain systems
Chest drain systemsChest drain systems
Chest drain systems
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
Berodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solutionBerodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solution
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
 
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
 
ประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำ
 
Cancer cycle
Cancer cycle Cancer cycle
Cancer cycle
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 

Destaque (13)

Pulmonary embolism
Pulmonary embolismPulmonary embolism
Pulmonary embolism
 
Triage
TriageTriage
Triage
 
Cpg ped
Cpg pedCpg ped
Cpg ped
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
 
Ayutthaya Triage Scale
Ayutthaya Triage ScaleAyutthaya Triage Scale
Ayutthaya Triage Scale
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
Pulmonary embolism
Pulmonary embolismPulmonary embolism
Pulmonary embolism
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
Pulmonary embolism
Pulmonary embolismPulmonary embolism
Pulmonary embolism
 
Pulmonary embolism,overview
Pulmonary embolism,overviewPulmonary embolism,overview
Pulmonary embolism,overview
 
Pulmonary embolism
Pulmonary embolism Pulmonary embolism
Pulmonary embolism
 
Pulmonary embolism ppt
Pulmonary embolism pptPulmonary embolism ppt
Pulmonary embolism ppt
 
Pulmonary Embolism
Pulmonary Embolism	Pulmonary Embolism
Pulmonary Embolism
 

Semelhante a แนวทางการดูแลรักษาลิ้มเลือดอุดตันในปอด ในผูปวยฉุกเฉิน

สอบ-ศรว-มีนาคม-2551
สอบ-ศรว-มีนาคม-2551สอบ-ศรว-มีนาคม-2551
สอบ-ศรว-มีนาคม-2551rookiess
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรังแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรังUtai Sukviwatsirikul
 
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็ก
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็กCPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็ก
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็กThorsang Chayovan
 
Surgery of acquired heart disease อ.วรวงศ์ ศลิษฏ์อรรถกร
Surgery of acquired heart disease อ.วรวงศ์ ศลิษฏ์อรรถกรSurgery of acquired heart disease อ.วรวงศ์ ศลิษฏ์อรรถกร
Surgery of acquired heart disease อ.วรวงศ์ ศลิษฏ์อรรถกรpohgreen
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationNarenthorn EMS Center
 
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่ CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่ Thorsang Chayovan
 
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.docWed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.docjiratiyarapong
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf60941
 
Interhospital chest conference
Interhospital chest conferenceInterhospital chest conference
Interhospital chest conferenceMy Parents
 
TAEM10:Roles of endoscopic nurse
TAEM10:Roles of endoscopic nurseTAEM10:Roles of endoscopic nurse
TAEM10:Roles of endoscopic nursetaem
 

Semelhante a แนวทางการดูแลรักษาลิ้มเลือดอุดตันในปอด ในผูปวยฉุกเฉิน (20)

สอบ-ศรว-มีนาคม-2551
สอบ-ศรว-มีนาคม-2551สอบ-ศรว-มีนาคม-2551
สอบ-ศรว-มีนาคม-2551
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรังแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
 
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็ก
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็กCPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็ก
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็ก
 
Surgery of acquired heart disease อ.วรวงศ์ ศลิษฏ์อรรถกร
Surgery of acquired heart disease อ.วรวงศ์ ศลิษฏ์อรรถกรSurgery of acquired heart disease อ.วรวงศ์ ศลิษฏ์อรรถกร
Surgery of acquired heart disease อ.วรวงศ์ ศลิษฏ์อรรถกร
 
Cpg std aug 2011
Cpg std aug 2011Cpg std aug 2011
Cpg std aug 2011
 
Ag 16 in_1.2.4_896(2555)
Ag 16 in_1.2.4_896(2555)Ag 16 in_1.2.4_896(2555)
Ag 16 in_1.2.4_896(2555)
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and Resuscitation
 
Pci guideline
Pci guidelinePci guideline
Pci guideline
 
Pci guideline
Pci guidelinePci guideline
Pci guideline
 
A003
A003A003
A003
 
Chf guideline
Chf guidelineChf guideline
Chf guideline
 
(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update
 
Dementia in Thai
Dementia in ThaiDementia in Thai
Dementia in Thai
 
Cpg hypertension guideline 2013
Cpg hypertension guideline 2013Cpg hypertension guideline 2013
Cpg hypertension guideline 2013
 
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่ CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่
 
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.docWed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
 
Cpg cervical cancer
Cpg cervical cancerCpg cervical cancer
Cpg cervical cancer
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
 
Interhospital chest conference
Interhospital chest conferenceInterhospital chest conference
Interhospital chest conference
 
TAEM10:Roles of endoscopic nurse
TAEM10:Roles of endoscopic nurseTAEM10:Roles of endoscopic nurse
TAEM10:Roles of endoscopic nurse
 

Mais de Society of Thai Emergency Physicians

Mais de Society of Thai Emergency Physicians (20)

Sawanpracharak Triage Scale
Sawanpracharak Triage ScaleSawanpracharak Triage Scale
Sawanpracharak Triage Scale
 
Principle Of Prachinburi Triage Scale(Pts)
Principle Of Prachinburi Triage Scale(Pts)Principle Of Prachinburi Triage Scale(Pts)
Principle Of Prachinburi Triage Scale(Pts)
 
Prachinburi Triage Scale
Prachinburi Triage ScalePrachinburi Triage Scale
Prachinburi Triage Scale
 
Medical Management Of Chemical Casualties
Medical Management Of Chemical CasualtiesMedical Management Of Chemical Casualties
Medical Management Of Chemical Casualties
 
Nopparat Hazmat Preparedness
Nopparat Hazmat PreparednessNopparat Hazmat Preparedness
Nopparat Hazmat Preparedness
 
Workplace Violence
Workplace ViolenceWorkplace Violence
Workplace Violence
 
Post Exposure Prophylaxis
Post Exposure ProphylaxisPost Exposure Prophylaxis
Post Exposure Prophylaxis
 
Tuberculosis And Airborne
Tuberculosis And AirborneTuberculosis And Airborne
Tuberculosis And Airborne
 
Management Of Violent Patient
Management Of Violent PatientManagement Of Violent Patient
Management Of Violent Patient
 
Bioterrorism Present
Bioterrorism PresentBioterrorism Present
Bioterrorism Present
 
Approach to Shock and Hemodynamics
Approach to Shock and HemodynamicsApproach to Shock and Hemodynamics
Approach to Shock and Hemodynamics
 
Shock: Emergency approach and management
Shock: Emergency approach and managementShock: Emergency approach and management
Shock: Emergency approach and management
 
Updates And Adjuncts In CPR
Updates And Adjuncts In CPRUpdates And Adjuncts In CPR
Updates And Adjuncts In CPR
 
Vascular Access And Others Essentail Procedures
Vascular Access And Others Essentail ProceduresVascular Access And Others Essentail Procedures
Vascular Access And Others Essentail Procedures
 
Severe Sepsis And Septic Shock
Severe Sepsis And Septic ShockSevere Sepsis And Septic Shock
Severe Sepsis And Septic Shock
 
Why do we need NMBAs for RSI?
Why do we need NMBAs for RSI?Why do we need NMBAs for RSI?
Why do we need NMBAs for RSI?
 
What about the "nearly arrest" patients?
What about the "nearly arrest" patients?What about the "nearly arrest" patients?
What about the "nearly arrest" patients?
 
Literature And Journal in Emergency Medicine
Literature And Journal in Emergency MedicineLiterature And Journal in Emergency Medicine
Literature And Journal in Emergency Medicine
 
Updates in ACLS 2005
Updates in ACLS 2005Updates in ACLS 2005
Updates in ACLS 2005
 
Basic concepts of resuscitation in trauma patients
Basic concepts of resuscitation in trauma patientsBasic concepts of resuscitation in trauma patients
Basic concepts of resuscitation in trauma patients
 

แนวทางการดูแลรักษาลิ้มเลือดอุดตันในปอด ในผูปวยฉุกเฉิน

  • 1. แนวทางการดูแลรักษาลิ้มเลือดอุดตันในปอด ในผูปวยฉุกเฉิน Management of Massive And Submassive Pulmonary Embolism In The Emergency Department อาจารยนายแพทย ธนดล โรจนศานติกุล เวชศาสตรฉุกเฉิน โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ สภากาชาดไทย คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย แนวทางการดูแลรักษาผูปวยนี้ ผูเขียนไดรับอนุญาติ ในการ review และเผยแพร จาก EM Practice Guideline Update ที่ทําการ review และตีพิมพแนวทางการดูแลรักษาผูปวย จากสมาคมทางการแพทยตางๆ ในประเทศสหรัฐอเมริกา ในสวนที่เกี่ยวของกับการวินิจฉัยและรักษาผูปวยฉุกเฉิน แนวทางการดูแลรักษาผูปวยนี้ไดทําการ review แนวทางการดูแลรักษา ผูปวย pulmonary embolism ( PE ) 3 แนวทาง โดย venous thromboembolism (VTE) นั้นจัดเปนภาวะที่พบไดบอย และพบไดตั้งแตอาการ เล็กนอยจนถึงอาการรุนแรง ขอมูลจากการศึกษาที่มีผลชัดเจนตอการดูแลรักษาผูปวยฉุกเฉิน คือ ในผูปวย PE ที่มภาวะ hemodynamic unstable มีโอกาสเกิด morbility และ mortality ไดสง โดยปจจุบันนี้พบผูปวยเสียชีวิต ี ู จาก PE ในประเทศสหรัฐฯ สูงถึง 300,000 รายตอป และ ในสวนผูปวยที่รอดชีวิตจาก PE ที่มีอาการรุนแรง ก็ยังมี โอกาสเกิด morbidity จากภาวะ RV dysfunction ไดสูง หลักฐานจากการศึกษาในปจจุบันนี้ มีขอมูลสนับสนุน การใหยา Thrombolysis มากขึ้น โดยเฉพาะในผูปวยอาการรุนแรง ดังนั้น การดูแลรักษาผูปวย PE ที่มี ขนาดพยาธิสภาพใหญจึงมีจําเปนตองมีแนวทางการดูแลรักษาที่ชัดเจน โดยเฉพาะ เพื่อพิจารณาใชยา thrombolysis เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดจากการใชยาและมีโอกาสเสี่ยงตอภาวะแทรกซอนจากยาใหนอยที่สุด Practice guideline impact แนวทางการดูแลรักษาที่สงผลตอแนวทางปฎิบัติในปจจุบัน • การใหยา intravenous thrombolysis แนะนําใหในผูปวย massive PE เชน ผูปวย PE ที่มีภาวะ unstable hemodynamic • การวินิจฉัยภาวะ RV dysfunction เปนสิ่งสําคัญในการตัดสินใจวาผูปวยเปนผูปวย PE ที่มีภาวะ hemodynamic stable และมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซอนจากตัวโรคไดสูง ซึ่งผูปวยกลุมนีมีแนวโนม ้ ที่จะไดรับ ประโยชนจากการใหยา intravenous thrombolysis • การใหยา intravenous thrombolysis ในผูปวย stable PE ที่มีภาวะ RV dysfunction ยังไมขอมูล สนับสนุนที่ชัดเจน จะเห็นไดจากไมมีขอบงชี้ในการใชยาจากแนวทาการดูแลรักษาจาก American Heart Association and the American College of Chest Physicians แตสําหรับแนวทาง การดูแลรักษาของ American College of Emergency Physicians มีแนวโนมสนับสนุนการดวยวิธีดังกลาวมากขึ้น
  • 2. Critical Issues In The Evaluation And Management Of Adult Patients Presenting To The Emergency Department With Suspected Pulmonary Embolism จาก Annals of Emergency Medicine, 2011 แนวทางการดูลรักษานี้เขียนขึ้นโดย committee และ subcommittee ของ American College of Emergency Physician (ACEP) โดยการสนับสนุนทุนจากสมาคมเอง โดยทางกลุมไดพิจารณาตั้ง 6 คําถามเพื่อทํา literature search และ review โดยใชผูเชี่ยวชาญจาก emergency physician, cardiologist, สมาชิกของ American College of Chest Physicians, American College of Radiology, ACEP’s ultrasound Section, ACEP’s Quality and Performance Committee อันเปนที่ที่มาแนวทางการรักษานี้ โดย evidence จัดลําดับเปน I, II, III และ X-fetally flawed สวน Recommendation จัดลําดับตาม ความนาเชื่อถือของ evidence ดังนี้ A มีความนาเชื่อถือทางคลีนิคสูง B มีความนาเชื่อถือทางคลีนิคปานกลาง C จากการศึกษา class C หรือ ไมพบหลักฐานเพียงพอ อาศัยขอมูลจากความเห็นของจากที่ ประชุมเปนหลัก คําถามที่เลือกมาใหทําแนวทางการดูแลรักษานี้มีที่มาจากการตีพิมพป 2003 โดยไดยกบางหัวขอ ที่ยังไมมีขอมูลสนับสนุนชัดเจนระบุไวมาปรับปรุงเพิ่มเติม รวมถึงเพิ่มประเด็นที่หนาสนใจจากป 2003 แนวทาง ใหการรักษานี้มจําทําขึ้นเพื่อจุดประสงคเปน evidence-based guideline ใหแพทยที่ปฏิบัติงานในหองฉุกเฉิน ี ใชดูแลรักษาผูปวย ที่มาดวยอาการสงสัย PE โดยการแนวทางการรักษานี้ไมไดรับ การสนับสนุนทุนการศึกษาใดๆ จากภาคเอกชน ใชงบประมานในการดําเนินงานทั้งหมดจากสมาคมเอง กลุมเปาหมายของแนวทางการดูแลรักษานี้ คือ แพทยที่ปฏิบัติงานในหองฉุกเฉินของโรงพยาบาล หรือหองฉุกเฉินที่มีหนวยสังเกตุอาการ โดยแนวทางการดูแลรักษานี้สามารถใชไดกับผูปวยผูใหญที่สงสัย PE ไมวาจะเปนผูปวยหัวใจหยุดเตน ผูปวยตั้งครรภ แตแนวทางใหการรักษานี้ไมเหมาะกับผูปวยเด็ก หรือ ผูปวยที่ไมสงสัย หรือไมมีอาการของ PE  Critical Question 1: objective criteria สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการวินัจฉัยผูปวย PE ไดดีกวาการใช gestalt clinical assessment หรือไม • Level A Recommendations : none specific • Level B Recommendations : ไมวาจะเปนการใช objective criteria หรือ gestalt clinical assessment ไมพบหลักฐานแสดงวาวิธีไหนสามารถวินัจฉัยไดแมนยํากวา • Level C Recommendations : none specific Critical Question 2: อะไรคือประโยชนของ PERC ในการดูแลผูปวยสงสัย PE • Level A Recommendations : none specific • Level B Recommendations : ในผูปวย low pretest probability พิจารณาใช PERC ในการ exclude PE จากประวัติและตรวจรางกาย • Level C Recommendations : none specific
  • 3. Critical Question 3: อะไรคือประโยชนของ quantitative D-dimmer test ในการยืนยันวาผูไมมีภาวะ PE  • Level A Recommendations : ในผูปวย low pretest probability ผลตรวจ D-dimer ที่ใหผลการตรวจปรกติสามารถยืนยันวาผูปวยไมมีภาวะ PE ได • Level B Recommendations : none specific • Level C Recommendations : ในผูปวย intermediate pretest probability ผลตรวจ D-dimer ปรกติ นาจะสามารถใชสามารถยืนยันวาผูปวยไมมีภาวะ PE Critical Question 4: อะไรคือประโยชนของการทํา computed tomography pulmonary angiogram เพื่อยืนยันวาผูไมมีภาวะ PE  • Level A Recommendations : none specific • Level B Recommendations : ในผูปวย low pretest probability หรือ Well score นอยกวาหรือเทากับ 4 ที่ตองการการตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติม (เชน รายที่ผลตรวจ D-dimer ผิดปรกติ, หรือไมสามารถตรวจ high sensitive D-dimer ได) หากผลการตรวจ computed tomography pulmonary angiogram ปรกติสามารถยืนยันไดวาไมมีภาวะ PE • Level C Recommendations 1. ในผูปวย intermediate pretest probability ที่ผลตรวจ computed tomography pulmonary angiogram ใหผลปรกติแตอาการของผูปวยนาสงสัยวาจะมีภาวะ PE และยังไมไดทําการตรวจ CT venogram แนะนําใหทําการตรวจเพิ่มเติมเพื่อยืนยันวาผูปวยไมมีภาวะ PE ดังนี้ คือ D-dimer, Lower extremities imaging, VQ scaning, หรือ traditional pulmonary arteriography 2. ในผูปวย high pretest probability ที่ผลตรวจ computed tomography pulmonary angiogram ใหผลปรกติ และยังไมไดทําการตรวจ CT venogram แนะนําใหทําการตรวจเพิ่มเติมเพื่อยืนยันวา ผูปวยไมมีภาวะ PE ดังนี้ คือ D-dimer, Lower extremities imaging, VQ scaning, หรือ traditional pulmonary arteriography ดังนั้น ถาหากผลตรวจ highly sensitive quantitative D-dimer ใหผลปรกติ รวมกับ multidetector CT pulmonary angiogram ใหผลปรกติ สามารถสรุปไดวา post test probability ของ VTE ในผูปวยรายนั้น นอยกวา 1% Critical Question 5: อะไรคือขอบงชี้ในการตรวจ venous imaging ในผูปวยสงสัย PE • Level A Recommendations : non specified • Level B Recommendations : การตรวจ venous imaging เบื้องตน ถาผลตรวจพบ blood clot ในเสนเลือดดํา รวมกับอาการที่สงสัย PE สามารถใหการวินิจฉัย PE เบื้องตนได เและยังชวยลดการตรวจ imaging อื่นๆ ในหองฉุกเฉินได ตัวอยางผูปวยรายที่แนะนําการตรวจ venous ultrasound เชน ในผูปวยที่สงสัย PE และมีอาการแสดง สงสัย deep venous thrombosis (DVT) และมีขอบงหามในการตรวจ CT scan (เชน คาการทํางาน ของไตผิดปรกติ หรือผูปวยตั้งครรภ)
  • 4. • Level C Recommendations : 1. ในผูปวย intermediate pretest probability หากผลตรวงจ CT angiogram ใหผลปรกติหากยังไมได ทำการตรวจ CT venogram การตรวจ lower extremities venous ultrasound เปนการตรวจเพิ่มเติมที่ แนะนําเพื่อยืนยันวาผูปวยไมมีภาวะ PE 2. ในผูปวย high pretest probability หากผลตรวงจ CT angiogram ใหผลปรกติ และยังไมไดทําการตรวจ CT venogram การตรวจ lower extremities venous ultrasound เปนการตรวจเพิ่มเติมที่แนะนํา เพื่อยืนยันวาผูปวยไมมีภาวะ PE Critical Question 6: อะไรคือขอบงชี้ของการใหยา thrombolytic ในผูปวย PE • Level A Recommendations : non specified • Level B Recommendations : 1. แนะนำใหยา thrombolytic ในผูปวย PE ที่มีการตรวจยืนยันการวินิจฉัย และมีภาวะ unstable hemodynamic รวมถึงไดรับการพิจารณาแลววาประโยชนของการใหยามีมากกวาโทษจากโอกาส เสี่ยงของภาวะแทรกซอนจากใหยา โดยเฉพาะโอกาสเสียงตอภาวะเลือดออกผิดปรกติ ่ 2. การทําฝาตัด (surgical or mechanical thrombectomy) ถือวาเปนอีกทางเลือกหนึ่งของผูปวยที่มี โอกาสเสี่ยงตอภาวะแทรกซอนเลือดออกผิดปรกติจากใหยา หากมีศักยภาพทําได • Level C Recommendations: 1. พิจารณาใหยา thrombolytic ในรายที่มีภาวะ unstable hemodynamic โดยใหในผูปวยที่เขาไดกับ PE  แตไมสามารถทําการตรวจวินิจฉัยยืนยันภาวะ PE ได 2. ปจจุบันนี้ยังไมหลักฐานสนับสนุนเพียงพอในการใหยา thrombolytic ในกลุมผูปวย stable hemodynamic ที่มีภาวะ RV dysfunction ถึงแมวาจะมีหลักฐานสนับสนุนวาการใหยา thrombolytic สามารถชวยเพิ่ม RV function ไดในเวลารวดเร็ว แตไมพบการศึกษาใดที่แสดงวายา thrombolytic มีสวนชวยเพิ่มโอกาส รอดชีวิตในผูปวยในกลุมดังกลาว Editor comment การใช Well score, Geneva score, Kline rule, Pisa model หรือ Gestalt clinical assessment เพื่อพิจารณาโอกาสการเกิด PE เปน low, intermediate และ high pretest probability ลวนแลวแตมี ความสําคัญในการวินิจฉัยและกําหนดแนวทางการรักษาผูปวยทั้งสิ้น เชน Level B recommendation แนะนําวา PERC rule ควรใชสําหรับผูปวย Low pretest probability เทานั้น และหลักฐานสนับสนุนการสงตรวจ D-dimer ขึ้นกับ pretest probability เทานั้น แตอยางไรก็ตามไมวาจะใชหลัก criteria ใด ไมพบขอมูลสนับสนุนวาวิธีใด มีความชัดเจนและความนาเชื่อถือในการวินิจฉัยมากวาวิธีอื่นๆ ในเรื่อง D-dimer testing มีการเปลี่ยนแปลงที่ชัดเจนของแนวทางการดูแลรักษาป 2011 จากป 2003 คือ มี evidence base level C สนับสนุนการตรวจ D-dimer ใน intermediate risk เพิ่มขึ้นมา โดยอาศัย evidence base จาก consensus (ไมมีขอมูลจาก evidence base ระดับที่สูงกวานั้น) รวมถึงมีการศึกษา retrospective 2 การศึกษา จาก Righini ที่แสดงวา ผลตรวจ D-dimer ที่ใหผลปรกติจะมีสวนชวยในการวินิจฉัย PE จะลดลงตาม pretest probability จาก low ไป intermediate risk ถึงแมการศึกษาดังกลาวนี้ไมมีผลตอแนวทางการรักษา แตการศึกษาดังกลาวมีผลแสดงใหเห็นวา specificity ของ D-dimer ขึ้นกับ pretest probability ของ PE อยางไรก็ตาม D-dimer ก็สามารถสงตรวจไดในผูปวย intermediate และ high pretest probability แตตองสงตรวจ CT angiography เพื่อวินิจฉัย PE ในทางกลับกันเนื่องจาก CT angiogram อาจใหผล false
  • 5. negative ได 15% ดังนั้น ACEP แนะนําใหตรวจ D-dimer ในผูปวยกลุม intermediate และ high pretest probability ที่ CTA ใหผลปรกติและยังไมไดผล CT venogram การที่ D-dimer ใผผลปรกติรวมกับ CTA ปรกตินั้น สามารถสรุปไดวา post test probability ของการเกิด PE นอยกวา 1 % การสงตรวจ venous ultrasonography แนะนำตรวจ venous ultrasonography ในรายที่มีอาการ เขาไดกับ DVT ชัดเจนรวมกับมีขอหามในการสงตรวจ CT (เชน renal insuffiency, IV contrast allergy, ตั้งครรภ) ในการศึกษาแบบ multicenter randomized prospective noninferiority trial ของ Righini ไดทําการศึกษา การตรวจ venous ultrasonography เพิ่มเติมกอนการทํา CTA ในผูปวยสงสัย PE เริ่มการศึกษาโดยแบง ผูปวยออกเปน 2 กลุม ทั้งสองกลุมทําการประเมิน pretest probability, ทำการตรวจ D-dimer และทำ CTA จากนั้นติดตามการรักษา 3 เดือน โดยทำการศึกษาเปรียบเทียบระหวางกลุมแรกดังที่กลาวขางตน กับกลุม ที่สองที่เพิ่มการตรวจ venous ultrasonography กอนทํา CTA และถาผลการตรวจ venous ultrasonography พบ DVT ไมจําเปนตองทําการตรวจเพิ่มเติมอื่นอีกใหทําการรักษาตามแนวทางปรกติไดเลย ผลการศึกษา พบวาเมื่อติดตามการรักษาไป 3 เดือน ทั้งสองกลุมไดรับการรักษาเหมือนกัน และผลการรักษาปลอดภัยเทาเทียมกัน (การศึกษาพบวาผูปวย 10% ตรวจพบ venous ultrasonography พบ DVT และผูปวยกลุมนีไดรับการรักษา ้ ไมแตกตางกับกลุมที่ทํา CTA และผลการรักษาจาก 2 กลุมปลอดภัยเทาเทียมกัน ซึ่งทําใหลดการไดรับรังสีและสารทึบรังสีจากการทำ CTA) ในผูปวย intermediate และ high pretest probability ที่ผล CTA ปรกติ รวมกับอาการและอาการแสดง สงสัยวาเปนอาการจาก PE การทำ venous imaging รวมถึง ultrasound ควรพิจารณาทําเพื่อ rule out ภาวะ VTE ดังเห็นไดจากการศึกษาของ Anderson ผลทําการศึกษา multicenter prospective trail เกี่ยวกับความปลอดภัย ของการใชผลตรวจ CTA หากผลการตรวจปรกติ ในการยืนยันวาไมมีภาวะ PE โดยพิจารณา pretest probability, D-dimer, CTA และ venous ultrasound เมื่อติดตามการรักษาไป 3 เดือน หลังจากแยกผูปวย low pretest probability และ ผล D-dimer ปรกติออกไปแลว ผูปวยทั้งหมดที่ทํา CTA ไดทำการตรวจ venous ultrasound ผลการศึกษาพบวา ผูปวย 13.7% ไดรับการวินิจฉัย PE จากการทำ CTA และผูปวย 3.1% ไดรับการวินิจฉัย DVT เพิ่มเติมจากการทําโดยการตรวจ ultrasound นอกจากนั้นยังมีการศึกษาอื่นที่แสดงใหเห็นวา venous ultrasound เพิ่มอัตราการวินิจฉัย VTE ได 0%-6% ดังนั้นจึงสรุปไดวา venous ultrasound มีประสิทธิภาพเทาเทียมกับการตรวจ CT venous imaging ในรายที่ผล CTA ปรกติ การใหยา thrombolytics แนะนําใหในผูปวยที่มีภาวะ hemodynamic unstable และมีการตรวจยืนยัน การวินิจฉัย PE แลวเทานั้น ( level B recommendation ในป 2003 และ 2011) แนวทางใหการรักษาป 2011 ไดเพิ่มในสวน ขอบงชี้ของการใหยา thrombolytics ที่วาพิจารณาใหเฉพาะที่มีประโยชนจากใหยาเมื่อเทียบ กับอัตราเสี่ยงของโอกาสเกิดภาวะแทรกซอนจากยาแลวเทานั้น ขอมูลจาก International Cooperative Pulmonary Embolism Registry (ICOPER) พบภาวะIntracranial bleeding 3%, และภาวะเลือดออกสําคัญอื่นๆ 21.7% ของผูปวยทั้งหมดที่ไดรับยา thrombolytic ดังนั้น American College of Emergency Physicians จึงไมแนะนำ  ใหใชยา thrombolytics ในผูปวย submassive PE (submassive PE คือ ผูปวย PE ที่มี hemodynamic stable รวมกับ RV infarction) เพราะ การที่ RV function กลับมาเปนปรกติ ในเวลาอันสั้น และ pulmonary perfusion กลับสูภาวะปรกตินั้น ไมไดมีประโยชนชวยลดอัตราการเสียชีวิต ( mortality ) ในผูปวย PE ผูเขียนแนะนําใหใช pulmonary embolism severity index ในการพิจารณาประโยชนและโอกาสเสี่ยง ของภาวะแทรกซอนในการใหยา thrombolytics และอีกประเด็นที่ควรไดรับการพิจารณาคือ เวลาที่จะเริ่มใหยา นามีผลตอการใหยา thrombolytics เชนเดียวกับการใหยาในผูปวย myocardial infarction และ ischemic stroke การพิจารณาใหยา thrombolytics อาจพิจารณาใหในผูปวยที่มภาวะ hemodynamic unstable ี รวมกับมีอาการสงสัยเขาไดกับ PE ที่ไมสามารถยืนยันการวินิจฉัยได โดยใช Level C recommendation
  • 6. ซึ่งอาศัยการทํา ultrasound ตรวจหาภาวะ RV strain หรือ RV dysfunction ที่เขาไดกับ submassive หรือ massive PE (พิจารณาตรวจ echocardiography เพื่อหา RV infarction, ตรวจ electrocardiogram EKG เพื่อหา incomplete right bundle branch block หรือ anteroseptal ST T change หรือ ตรวจ brain natriuretic peptide BNP, troponin เพื่อชวยพิจารณาการวินิจฉัยภาวะ PE) และ พิจารณาตรวจ focus cardiac sonography โดย Emergency Physicians เพื่อพิจารณาขนาด ventricle หากตรวจพบวาขางขวามีขนาดใหญกวาขางซายนั้น มีความจําเพาะเจาะจงเพียงพอในการวินิจฉัยภาวะ RV strain ตารางแสดง Pulmonary Embolism Severity Index (จาก American Journal of Respiratory and Critical Care Medicine. Vol 172(8) หนา 1043) Prognostic Variables Points Assigned Demographics Age Age, in years Male sex +10 Comorbid Conditions Cancer +30 Heart failure +10 Chronic lung disease +10 Clinical Findings Pulse ≥ 110 beats/minute +20 Systolic blood pressure < 100 mmHg +30 Respiratory rate ≥ 30 breaths/minute +20 Temperature < 36°C (< 96.8°F) +20 Altered mental status +60 Arterial oxygen saturation < 90% +20 Risk Class 30-Day Mortality (95% CI)* Total Point Score** I (very low risk) 1.6% (0.9-2.6) ≤ 65 II (low risk) 3.5% (2.5-4.7) 66-85 III (intermediate risk) 7.1% (5.7-8.7) 86-105 IV (high risk) 11.4% (9.3-13.8) 106-125 V (very high risk) 23.9% (21.4-26.5) > 125 *Mortality by class reported for the 5177-patient internal validation sample. **A total point score for a given patient is obtained by summing the patient's age in years and the points for each applicable prognostic variable. Abbreviation: CI, confidence interval.
  • 7. Management of Massive and Submassive Pulmonary Embolism, iliofemoral Deep Vein Thrombosi, And Chronic Thromboembolic Pulmonary Hypertension: A Scientific Statement From The American Heart Association. จาก Circulation 2011;123(16):1788-1830 ตัวแทนจาก Council ในดาน peripheral vascular disease และ council ในดาน cardiopulmonary, critical care, perioperating และ resuscitation ของสมาคม American Heart Association จัดตั้งขึ้นเพื่อพิจารณา literature และจัดทําแนวทางการดูแลรักษา massive และ submassive PE, โดยไมไดระบุทมาของงบประมาณ ี่ สนับสนุนการจัดทําแนวทางการดูแลรักษานี้ แตผูเขียนแนวการดูแลรักษาทุกรายไดชี้แจงวาไมมี conflict of interest กับบริษัทยา และเครื่องมือแพทยในสวนที่เกี่ยวของกับแนวทางการดูแลรักษา แนวทางการการดูแลรักษานี้ ไดทําการแบงระดับของ evidence เปน grade A,B และ C และแบง recommendation เปน class I, IIa, IIb และ III ดังตารางตอไปนี้ American Heart Association Classification Of Recommendations And Level Of Evidence Levels of Evidence • Level A Multiple populations evaluated. Data derived from multiple randomized controlled trials or meta-analyses • Level B Limited populations evaluated. Data derived from a single randomized trial or nonrandomized studies • Level C Very limited populations evaluated; only consensus opinion of experts, case studies, or standard of care Classes of Evidence • Class I Benefit >>> Risk • Class IIa Benefit >> Risk • Class IIb Benefit ≥ Risk • Class III Risk ≥ Benefit คํานิยามภาวะตางๆที่เกี่ยวของกับ PE ของ American Heart Association • Massive PE คือ Acute PE ที่มีภาวะดังตอไปนี้ 1. ภาวะความดันโลหิตต่ํา (systolic blood pressure SBP<90 mmHg อยางนอย 15 นาที หรือ ความดันโลหิตต่ําที่ตองไดรับยา inotropic) และผูปวยตองไมมีสาเหตุจากสาเหตุอื่นๆ ของความดันโลหิตต่ํา เชน arrhythmia, hypovolemia, sepsis หรือ left ventricular dysfunction LV 2. หัวใจหยุดเตนหรือคลําชีพจรไมได 3. Bradycardia หัวใจเตนชากวา 40 ครังตอนาที รวมกับมีอาการหรืออาการแสดงของภาวะช็อค ้
  • 8. • Submassive PE คือ acute PE ที่ไมพบภาวะความดันโลหิตต่ํา (systolic blood pressure SBP≥ 90 mmHg) รวมกับภาวะ RV dysfunction หรือ myocardial necrosis • RV dysfunction หมายถึง ภาวะดังตอไปนี้อยางนอย 1 อยาง 1. พบ RV dilation (apical 4-chamber RV diameter divided by LV diameter > 0.9) หรือพบ RV systolic dysfunction โดยการทำ echocardiography 2. พบ RV dilation (4-chamber RV diameter divided by LV diameter> 0.9) จากการทำ CT scan 3. ผลการตรวจ BNP มีคาผิดปรกติ (> 90 pg/mL) 4. ผลการตรวจ N-terminal pro-BNP มีคาผิดปรกติ (> 500 pg/mL) or 5. ผลการตรวจคลื่นไฟฟาหัวใจผิดปรกติ ( Electrocardiographic พบ new complete or incomplete right bundle-branch block, anteroseptal ST elevation or depression, หรือ anteroseptal T-wave inversion) • Myocardial necrosis คือ ภาวะที่ผลการตรวจ troponin I เพิ่มมากกวา 0.4 ng/mL หรือ ผลการตรวจ troponin T เพิ่มมากกวา 0.1 ng/mL • Low-risk PE คือ Acute PE ที่ตรวจไมพบอาการ อาการแสดง ของ massive or submassive PE Recommendations For Fibrinolysis For Acute Pulmonary Embolism 1. Fibrinolysis เหมาะสําหรับผูปวย acute PE ที่พบภาวะ massive PE และโอกาสเสี่ยง ตอภาวะแทรกซอนเลือดออกผิดปรกติอยูในเกณฑที่รับได (Class IIa; Level of Evidence B). 2. Fibrinolysis อาจพิจารณาใหในผูปวย submassive acute PE โดยพิจารณาแนวโนม prognosis ของตัวโรค (เชน hemodynamic instability, worsening respiratory insufficiency, severe RV dysfunction, or major myocardial necrosis) และผูปวยนั้นตองมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซอน เลือดออกผิดปรกติต่ํา (Class IIb; Level of Evidence C). 3. Fibrinolysis ไมแนะนําใหในผูปวย low-risk PE (Class III; Level of Evidence B) หรือ submassive acute PE ที่พบเพียง minor RV dysfunction หรือ minor myocardial necrosis โดยไมมีอาการหรือ อาการแสดงอื่นๆ (Class III; Level of Evidence B). 4. Fibrinolysis ไมแนะนําใหในผูปวย cardiac arrest ที่ไมทราบสาเหตุหรือไมสามารถยืนยันการตรวจ วินิจฉัย Acute PE (Class III; Level of Evidence B). ขอหามในการให Fibrinolysis 1. Absolute contraindications • ประวัติเลือดออกในสมอง (ไมกําหนดระยะเวลา) • ประวัติ structural intracranial cerebrovascular disease เชน arteriovenous malformation • ประวัติ malignant intracranial neoplasm • ประวัติ Ischemic stroke ภายใน 3 เดือน • ผูปวยสงสัย aortic dissection
  • 9. • ผูปวย Active bleeding หรือ bleeding diathesis • ประวัติฝาตัดสมอง หรือ ไขสันหลัง • ประวัติอุบัติเหตุทางสมอง closed-head trauma หรือ อุบัติเหตุทางใบหนา facial trauma ที่ radiographic แสดงใหเห็นวามีกระโหลกศีรษะแตก หรือ มี brain injury 2. Relative contraindications • อายุมากกวา 75 ป • ประวัติใชยา anticoagulation • ภาวะตั้งครรภ • ผูปวยที่มี noncompressible vascular punctures • ประวัติอุบัติเหตุ หรือ prolonged cardiopulmonary resuscitation (> 10 นาที) • ประวัติเลือดออกในชองทอง (ภายใน 2 to 4 สัปดาห) • ประวัติความดันโลหิตสูงรุนแรงเรื้อรังที่ควบคุมไมได • ความดันโลหิตสูง (systolic blood pressure SBP >180 mm Hg หรือ diastolic blood pressure (DBP) > 110 mm Hg) • ประวัติ dementia • ประวัติ ischemic stroke > 3 เดือน • ประวัติฝาตัดภายใน 3 สัปดาห ประวัติฝาตัดขึ้นอยูกับวาทําการฝาตัดอะไร และประวัติอุบัติเหตุเล็กนอย เชน minor head trauma จากการเปนลม ไมใชขอหามการให fibrinolysis. การตัดสินใจใหการรักษาขึ้นกับความรุนแรงของโรคและโอกาสเกิดภาวะแทรกซอนจาก fibrinolysis โดยควรพิจารณาผูปวยเปนรายๆไป
  • 10. แผนผังแสดงแนวทางใหยา fibrinolytic ในการรักษาผูปวย pulmonary embolism Editorial comment ขอมูลจาก 13 การศึกษาแบบ placebo-controlled randomized trials สําหรับผูปวย acute PE ที่ไดรับ fibrinolysis การวิเคราะหขอมูลในสวนผูปวย massive PE (จํานวนผูปวยเล็กนอย ) แสดงใหเห็นดังตอไปนี้ การศึกษาของ Wan ในผูปวย Massive PE เปรียบเทียบการรักษาโดย fibrinolysis และ heparin พบวา การรักษาโดย fibrinolysis ลดอัตราการเสียชีวิต และลดอัตราการเกิดซ้ําของ PE ไดอยางชัดเจน ( 9.4% เมื่อไดรับ fibrinolysis เมื่อเทียบกับ 19% เมื่อไดรับแตเพียงไดรับเพียง heparin อยางเดียว ) ถึงแมวา การลดลงของ อัตราการเสียชีวิตเมื่อใช fibrinolysis อยางชัดเจนในผูปวยกลุมดังกลาวนี้ อยางไรก็ตามจากการศึกษานี้ และ การศึกษาอื่นๆกอนหนานี้ ผูปวยมีที่ไดรับ fibrinolysis มีโอกาสเสี่ยงตอภาวะเลือดออกเพิ่มขึ้นไดอยางชัดเจน ขอมูลจากการศึกษาผูปวย massive PE อัตราเสียชีวิตจาก PE ถือเปนปจจัยสําคัญ แตเมื่อพิจารณา ผูปวยกลุม submassive PE ( ตามคําจํากัดความของ AHA ผูปวย acute PE ที่ไมพบ SBP ≥ 90 mm Hg แตพบ ภาวะ RV dysfunction หรือ myocardial necrosis ) อัตราการเสียชีวิตจากรักษาโดย heparin อยางเดียว พบได คอนขางต่ํา (ประมาณ < 3%) ดังนั้น ถึงแมวาการให fibrinolytic จะมีประสิทธิภาพการรักษาที่สูง ในการลดอัตรา การเสียชีวิต (ประมาณ 30%) ผลการรักษาทั้งหมดในภาพรวมนั้นจะลด อัตราเสี่ยงของ การเสียชีวิตของ ผูปวยกลุมนีไดเพียง 1% ้
  • 11. ถึงแมวาอัตราการเสียชีวิตไมไดลดลงอยางชัดเจน แตการลดโอกาสเกิดผล secondary adverse outcome เชน RV dysfunction, chronic thromboembolic pulmonary hypertension (CTEPH) และ คุณภาพชีวิตหลัง การรักษา ถือเปนจุดมุงหมายที่สําคัญของการรักษา PE ตัวอยางเชน การศึกษาแบบ single prospective designed study ผลของการรักษาผูปวย PE ที่ไดรับ alteplase ที่ 6 เดือน (ผูปวย 162 คน 144 คนไดรับการรักษาโดย heparin อยางเดียว และ 18 รายไดรับการรักษาโดย alteplase และ heparin) ผูปวย 27% จาก 144 รายที่ไดรับการรักษาโดย heparin อยางเดียว พบวามี RV systolic pressure เพิ่มขึ้นเมื่อติดตามการรักษาไป 6 เดือน เมื่อเปรียบเทียบกันแลว ไมพบผูปวยมีการเพิ่มขึ้นของ RV systolic pressure ในกลุมที่ไดรับการรักษาโดย alteplase ดังนั้น อาจจะสรุปไดวา การรักษาโดย finbrinolysis มีประโยชนสามารถชวยลดโอกาสเกิด CTEPH ในผูปวย low risk PE รวมถึงผูปวยที่ผลตรวจ troponin หรือ BNP ปรกติ และผูปวยที่ไมมีพบภาวะ RV  dysfunction ในผูปวยกลุมนี้เปนผูปวยที่มีโอกาสเสี่ยงตอการเสียชีวิตนอย คือนอยกวา 1% เนื่องจากโอกาส  เสี่ยงของการเกิดภาวะแทรกซอนจาก finbrinolysis ที่มีโอกาสเกิดขึ้นไดคอนขางสูง ดังนั้น AHA จึงไมแนะนําใหใช fibrinolysis ในผูปวย minor submassive PE จากการพิจารณาโอกาสเสียงตอภาวะเลือดออก และประโยชนที่ไดรับ ่ จากยา fibrinolysis ในผูปวยกลุมนี้ (ถึงแมวา AHA เองไมไดใหคําจํากัดความของ minor submassive PE ไว) ถึงแมวา AHA มีแนวโนมสนับสนุนการใชยา thrombolytics ในผูปวย unstable และมี high pretest probability ของ PE แตไมมีการสนับสนุนการใหยาดังกลาวในผูปวยหัวใจหยุดเตนที่ไมทราบสาเหตุ (undifferntiated cardiac arrest) ดังจะเห็นไดจากการศึกษาของ Bottiger ที่ทําการศึกษาแบบ double-blind multicenter trial เพื่อประเมินการใช tenecteplase ในผูปวยหัวใจหยุดเตนกระทันหันนอกโรงพยาบาล (witnessed out-of-hospital cardiac arrest) ผลการศึกษาไมพบความแตกตางระหวางการไดโดยยา tenecteplase และ placebo เพื่อพิจารณา โอกาสรอดชีวิตที่ 30 วัน (primary endpoint) หรือ พิจารณาเรื่อง hospital admission, return of spontaneous circulation, โอกาสรอดชีวิตจากโรงพยาบาล (secondary endpoint) นอกจากนั้นยังพบ โอกาสเลือดออกในสมอง intracranial hemorrhage จาก tenecteplase เพิ่มขึ้น โดยการศึกษานี้ไดหยุด ทำการศึกษาไปกอนทําการศึกษาเสร็จสิ้น เพราะโอกาสรอดชีวิตมีคอนขางนอย อยางไรก็ตามในผูปวยหัวใจหยุดเตน และมีแนวโนมวา มีสาเหตุจาก PE การใหยา thrombolytics (50mg alteplase) ระหวางทําการกูชีวิตควรพิจารณา และควรพิจารณาเปนอยางยิ่งในผูปวยหัวใจหยุดเตนในโรงพยาบาล และหัวใจหยุดเตนทันที
  • 12. Antithrombotic Therapy For Venous Thromboembolic Disease: American College Of Chest Physicians Evidence Based Clinical Practice Guidelines (8th Edition) จาก Chest. 2008;133(6 Suppl):454S-545S The American College of Chest Physicians (ACCP) ออกแนวทางการรักษาดวย antithrombotic therapy สําหรับผูปวย VTE ในป 2008. โดยจัดระดับ Quality of evidence ดังนี้ 1. Quality A คือ high quality จาก RCTs 2. Quality B คือ moderate quality ใชขอมูลจาก randomized trials with important limitations หรือ จาก observational studies with large effects 3. Quality C คือ low quality ขอมูลจาก observational studies การจัดลําดับ Recommendations จัดโดยแบง quality of evidence เปน 1 หรือ 2 สําหรับ strong หรือ weak recommendations ตามลําดับ ดังตาราง ตารางแสดง The Strength Of The Recommendations Level of Recommendation 1 Strong recommendation. Desirable effects clearly outweigh undesirable effects, or vice versa. 2 Weak recommendation. Desirable effects closely balanced with undesirable effects. Quality of Evidence A High-quality evidence B Moderate-quality evidence C Low-quality evidence งบประมาณในการจัดทําแนวทางการรักษา ผูเขารวมการจัดทําแนวทางใหการรักษา กลุมเปาหมาย ผูใชแนวทางใหการรักษา รวมถึง methodology of the literature review ไมไดกลาวไวในแนวทางใหการรักษานี้ มีเพียงการชี้แจง Conflicts of interest ของผูรวมจัดทําไวเทานั้น โดยแนวทางใหการรักษาสําหรับผูปวย PE ที่เกี่ยวของกับหองฉุกเฉินสรุปไดดังนี้ Systematically And Locally Administered Thrombolytic Therapy For Pulmonary Embolism • ผูปวย PE ทุกรายควรไดรับการพิจารณา risk stratification (Grade 1C) สําหรับผูปวยที่พบ hemodynamic compromise ถาไมมีโอกาสเสี่ยงสูงตอภาวะเลือดออกผิดปรกติแนะนําใหการรักษาโดย thrombolytic therapy (Grade 1B) และแนะนําวาควรให Thrombolysis เร็วที่สุดเทาที่ทําได เพราะเชื่อวาอาจเกิดภาวะ irreversible cardiogenic shock ในผูปวยกลุมนี้ได • และในผูปวย PE ที่มีโอกาสเสี่ยงสูง (high-risk patients) ถึงแมวาไมพบภาวะความดันโลหิตต่ํา ถาผูปวยมีโอกาสเสี่ยงภาวะเลือดออกผิดปรกติต่ํา แนะนําให thrombolytic therapy (Grade 2B) • การตัดสินใจให thrombolytic therapy ขึ้นอยูกับการประเมินผูปวย PE ทั้งความรุนแรงของโรค (severity), แนวโนมการเปนไปของตัวโรค (prognosis) รวมถึงปจจัยเสี่ยงตอภาวะแทรกซอนของเลือดออกผิดปรกติ
  • 13. (risk of bleeding) ดังนั้นจะเห็นไดวาผูปวย PE สวนใหญไมมีความจําเปนใหใชและไมมีขอบงชี้ในการใช thrombolytic therapy (Grade 1B) • ผูปวย acute PE การใหยา thrombolytic agent แนะนําใหยาทางหลอดเลือดดํา peripheral vein มากกวาทาง artery catheter (Grade 1B) • ในผูปวย acute PE ที่ไดรับการรักษาดวย thrombolytic therapy แนะนําใหยาในเวลาอันสั้น เชน 2 ชั่วโมง มากกวาใหยาแบบ 24 ชั่วโมง (Grade 1B). Editorial Comment Thrombolysis แนะนําใหใชในผูปวย hemodynamically unstable โดยใหยาเร็วที่สุดเพื่อสลาย thrombus เพื่อหวังผลการรักษาที่ดีทสุด ผูปวยทุกรายควรไดรับการประเมินโอกาสเสี่ยงของตัวโรคใหเร็วที่สุด (risk stratified) ี่ ดวยความเชื่อที่วาถาหากเวลาผานไป ผูปวยอาจมีภาวะการทํางานของรางกายลมเหลว (multiorgan failure) รวมถึงเพิ่มอัตราเสียชีวิตของผูปวย (mortality) ซึ่งตางกับกับแนวทางการใหการรักษาของ AHA หรือ ACEP, ACCP ที่แนะนำวาเวลาใหเริ่มยามีความสําคัญเฉพาะในผูปวยกลุม high-risk โดยแนะนําใหยาเร็วที่สุดเทาที่ทําได แตไมไดมีระบุระยะเวลาไวในแนวทางใหการรักษานี้ แนวทางใหการรักษาของ ACCP 7th edition ไมไดแนะนําให lytics ในผูปวย submassive PE แตแนวทางใหการรักษาลาสุดเพิ่มความสําคัญในผูปวยกลุมนีโดยเชื่อวานาจะไดประโยชน หากผูปวยไมมี ้ ปจจัยเสี่ยงตอภาวะเลือดออกผิดปรกติ โดยเฉพาะผูปวยที่มีแนวโนม poor prognostic ดังนี้ 1) ผูปวยที่พบ ill-appearing, marked dyspnea, anxiety, และ hypoxemia 2) ผูปวยที่ตรวจพบคา troponin สูงขึ้น 3) ผูปวยที่ตรวจพบ RV dysfunction จากการทำ echocardiography 4) ผูปวยที่ตรวจพบ RV enlargement จากการทำ chest CT  แนวทางการรักษาของ ACCP ยังแนะนําวิธีการใหยา lytics คือ แนะนําใหยาทาง peripheral IV catheter มากกวาการใหยาทาง pulmonary artery catheter โดยเชื่อการใหยาทาง pulmonary artery โดยตรงนั้น ไมพบ ประสิทธิภาพที่สูงกวา และยังเพิ่มอัตราเสี่ยงของภาวะเลือดออกผิดปรกติจากบริเวณ catheter site โดยแนะนำ ใหยาในระยะเวลาอันสั้น (2 ชั่วโมง) มากกวาใหยาระยะเวลานาน (12 หรือ 24 ชั่วโมง) โดยเชื่อวาการใหยาแบบ > 12 ชั่วโมง เพิ่มความเสี่ยงของภาวะแทรกซอนจากเลือดออกผิดปรกติ แนวทางการรักษายังมีประเด็นที่ไมชัดเจนนัก สําหรับการให heparin ในผูปวยที่ไดรับยา thrombolytic ไมวาจะเปนการให unfractionated heparin ตั้งแตเริ่มแรก โดยหวังผล activated partial thromboplastin time (APTT) 60-80 วินาที โดยใหหยุด unfractionated heparin เมื่อเริ่มใหยา fibrinolytics โดยสามารถให unfractionated heparin อีกครั้งเมื่อ APTT < 80 วินาที
  • 14. เอกสารอางอิง 1. Tapson VF. Acute pulmonary embolism. N Engl J Med. 2008;358(10):1037-1052. 2. Wood KE. Major pulmonary embolism: review of a pathophysiologic approach to the golden hour of hemodynamically significant pulmonary embolism. Chest. 2002;121(3):877- 905. 3. Fesmire FM, Brown MD, Espinosa JA, et al. American College of Emergency Physicians. Critical issues in the evaluation and management of adult patients presenting to the emergency department with suspected pulmonary embolism. Ann Emerg Med. 2011;57(6):628-652, e675. 4. American College of Emergency Physicians. Clinical policy: critical issues in the evaluation and management of adult patients presenting with suspected pulmonary embolism. Ann Emerg Med. 2003;41(2):257-270. 5. Righini M, Aujesky D, Roy PM, et al. Clinical usefulness of D-dimer depending on clinical probability and cutoff value in outpatients with suspected pulmonary embolism. Arch Intern Med. 2004;164(22):2483-2487. 6. Douma RA, le Gal G, Sohne M, et al. Potential of an age-adjusted D-dimer cut-off value to improve the exclusion of pulmonary embolism in older patients: a retrospective analysis of three large cohorts. BMJ. 2010;340:c1475. 7. Kabrhel C, Courtney DM, Camargo CA Jr., et al. Potential impact of adjusting the threshold of the quantitative D-dimer based on pretest probability of acute pulmonary embolism. Acad Emerg Med. 2009;16(4):325-332. 8. Linkins LA, Bates SM, Ginsberg JS, et al. Use of diferent D-dimer levels to exclude venous thromboembolism depending on clinical pretest probability. J Thromb Haemost. 2004;2(8):1256-1260. 9. Stein PD, Fowler SE, Goodman LR, et al, for the PIOPED II Investigators. Multidetector computed tomography for acute pulmonary embolism. N Engl J Med. 2006;354(22):2317- 2327. 10. Righini M, Le Gal G, Aujesky D, et al. Diagnosis of pulmonary embolism by multidetector CT alone or combined with venous ultrasonography of the leg: a randomised non-inferiority trial. Lancet. 2008;371(9621):1343-1352. 11. Anderson DR, Kovacs MJ, Dennie C, et al. Use of spiral computed tomography contrast angiography and ultrasonography to exclude the diagnosis of pulmonary embolism in the emergency department. J Emerg Med. 2005;29(4):399-404. 12. Goldhaber SZ, Visani L, De Rosa M. Acute pulmonary embolism: clinical outcomes in the International Cooperative Pulmonary Embolism Registry (ICOPER). Lancet. 1999;353(9162):1386-1389. 13. Aujesky D, Obrosky DS, Stone RA, et al. Derivation and validation of a prognostic model for pulmonary embolism. Am J Respir Crit Care Med. 2005;172(8):1041-1046. 14. Moore C, Tarabar K, Osborne M. Prevalence and accuracy of right ventricular strain in emergency physician echocardiography. SAEM Annual Meeting. Acad Emerg Med. 2008; 5:S78.
  • 15. 15. Jaff MR, McMurtry MS, Archer SL, et al. Management of massive and submassive pulmonary embolism, iliofemoral deep vein thrombosis, and chronic thromboembolic pulmonary hypertension: a scientific statement from the American Heart Association. Circulation. 2011;123(16):1788-1830. 16. Wan S, Quinlan DJ, Agnelli G, et al. Thrombolysis compared with heparin for the initial treatment of pulmonary embolism: a meta-analysis of the randomized controlled trials. Circulation. 2004;110(6):744-749. 17. Kline JA, Steuerwald MT, Marchick MR, et al. Prospective evaluation of right ventricular function and functional status 6 months after acute submassive pulmonary embolism: frequency of persistent or subsequent elevation in estimated pulmonary artery pressure. Chest. 2009;136(5):1202-1210. 18. Jimenez D, Yusen RD, Otero R, et al. Prognostic models for selecting patients with acute pulmonary embolism for initial outpatient therapy. Chest. 2007;132(1):24-30. 19. Bӧttiger BW, Arntz HR, Chamberlain DA, et al. Thrombolysis during resuscitation for out- of-hospital cardiac arrest. New Engl J Med. 2008;359(25):2651-2662. 20. British Thoracic Society Standards of Care Committee Pulmonary Embolism Guideline Development Group. British Thoracic Society guidelines for the management of suspected acute pulmonary embolism. Thorax. 2003;58(6):470-483. 21. Kearon C, Kahn SR, Agnelli G, et al. Antithrombotic therapy for venous thromboembolic disease: American College of Chest Physicians evidence-based clinical practice guidelines (8th Edition). Chest. 2008;133(6Suppl):454S-545S. 22. Piazza G, Goldhaber S. Management of submassive pulmonary embolism. Circulation. 2010;122:1124-1129.