SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 22
Baixar para ler offline
Emergency department
Triage
TRIAGE
การคัดแยกผู้ป่วย
 การคัดแยกผู้ป่วยให้ได้รับการรักษาพยาบาลในภาวะฉุกเฉินอย่างมีประสิทธิภาพ ภายใน
  เวลาที่เหมาะสม
 ไม่เน้นการวินิจฉัยโรคที่ถูกต้อง แต่เน้นค้นหาภาวะคุกคามชีวิต(Life-
  Threatening) หรือภาวะเร่งด่วนของผู้ป่วยเพื่อประเมินความต้องการการ
  ช่วยเหลือและให้การช่วยเหลือฉุกเฉินอย่างทันท่วงที
 5 R            Right patient
                        Right time
                        Right place
                        Right care
                        Right provider
Here comes your footer  Page 2
Triage process
                                  Job description of triage nurse
           1.Triage Decision                          2.Initial Treatment or
                                                Intervention&Information
  ผู้ป่วยได้รับการจัดลาดับตามความเร่งด่วนและ  ผู้ป่วยได้รับการดูแลเบื้องต้นตามความเร่งด่วน
   ความรุนแรง                                  ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่มีภาวะคุกคามชีวิต พยาบาล
                                                    คัดแยกสามารถ ให้การพยาบาลเบื้องต้นก่อนพบ
  ส่งผู้ป่วยไปรักษาในบริเวณที่เหมาะสมกับความ       แพทย์ได้ เช่น
   เร่งด่วน (Appropriate Area)                o ส่งตวรจทางห้องปฏิบัติการ
                                                   o ระงับปวด
                                                   o เช็ดตัวลดไข้ หรืออื่นๆเป็นต้น
                                                   ให้ข้อมูลเบื้องต้นแก่ผู้ป่วย และญาติ

Here comes your footer  Page 3
Triage decision making


        General
                                    Chief       Focused
      appearance&
                                  complain     assessment
     primary survay




      Reassess the                determine      Pose
         acuity                     acuity     hypothesis




Here comes your footer  Page 4
AYTS - AYUTTHAYA TRIAGE SYSTEM

  ATS – AUSTRALIAN TRIAGE SYSTEM
 A- airway
 B- breathing
 C- circulation
 D- disability
 ESI – EMERGENCY SEVERITY INDEX V.4
จะตายไหม?
รอได้ไหม?
ใช้ทรัพยากรมากน้อยแค่ไหน ?
Here comes your footer  Page 5
5 levels triage
ระดับ 1 Life threatening condition
ภาวะเจ็บป่วยที่เป็นอันตรายต่อชีวต ต้องช่วยเหลือทันที
                                ิ
          ระดับ 2 Emergency condition
     ภาวะเจ็บป่วยรุนแรงที่ต้องให้การช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน
                   ระดับ 3 Urgency condition
   ภาวะเจ็บป่วยเร่งด่วนที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตและอวัยวะหากให้การช่วยเหลือ ล่าช้า

                      ระดับ 4 Less urgency condition
                                     ภาวะเจ็บป่วยเร่งด่วนทั่วไป
                               ระดับ 5 Nonurgency condition
                                               ภาวะเจ็บป่วยไม่ฉุกเฉิน
patient
                                  ถ้าไม่ช่วย
                                  จะตายไหม?                   Decission point
                                           Immediate life threatening?
Triage nurse ประเมิน
                                              Require life saving          yes   1
1.GA & primary survey                           intervention?
2.Vital sign& sat O2
3.Chife complain
4.Identify risk factor                         Potential life,limb,organ
                                                     threatening           yes   2
5.Identify resource needs



            ควรรอหรือไม่?
                                                High risk situation &
                                                                           yes   3
                                                  need resources?



    มีความเสี่ยง?
                                           No risk situation but need
                                                  resources?
                                                                           yes   4
    ใช้ทรัพยากรมากแค่ไหน?

Here comes your footer  Page 7
                                           No risk situation and not
                                               need resources?
                                                                           yes   5
ระดับ 1 Life threatening condition
 ภาวะเจ็บป่วยที่เป็นอันตรายต่อชีวิต ต้องช่วยเหลือทันที ( ระยะเวลารอคอย 0 นาที )

• หยุดหายใจ                         • ผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้น
  (apnea)                             (cardiac arrest )
                                    • ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะช็อก
     A                                • SBP < 90 mm.Hg
                                         ในผู้ใหญ่
                        B             • SBP < 80 mm.Hg                      D
                                         ในเด็กอายุ < 5 ปี
         • ภาวะหายใจล้มเหลว                                      • GCS < 8
           • เขียว                                    C          • ชัก หรือ ไม่รู้ตัว
           • หายใจช้า < 10 ครั้ง
           • หายใจเร็ว >35 ครั้ง
          • Sat O2 < 90
Life-saving intervention
Airway/breathing                     Hemodynamics
 BVM ventilation                     Significant IV fluid resuscitation
 Intubation                         Medications
 Surgical airway                     Naloxone
 Emergent cardioversion              D50
 External pacing                     Dopamine
Procedures                            Atropine
 Chest needle decompression          Adrenaline
 Pericardiocentesis


Here comes your footer  Page 9
patient
                                                   Decission point
                                   Immediate life threatening?
Triage nurse ประเมิน                  Require life saving        yes   1
1.GA & primary survey                   intervention?
2.Vital sign& sat O2
3.Chife complain
4.Identify risk factor              Potential life,limb,organ
                                          threatening            yes   2
5.Identify resource needs


                                     High risk situation &
                                       need resources?
                                                                 yes   3
          ควรรอหรือไม่?
                                   No risk situation but need
                                          resources?             yes   4

                                   No risk situation and not
Here comes your footer  Page 10
                                       need resources?           yes   5
ระดับ 2 Emergency condition
     ภาวะเจ็บป่วยรุนแรงที่ต้องให้การช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน (ระยะเวลารอคอยไม่เกิน 15 นาที )
A       ผู้ป่วยทางเดินหายใจส่วนบนอุดกั้น ( upper airway obstruction ) เช่น
        มี stridor หรือ drooling


B       ผู้ป่วยที่เสี่ยงต่อการมีภาวะหายใจล้มเหลว ( severe respiratory
        distress )
                หายใจเร็ว > 30 ครั้ง/นาที                                    POTENTIAL
                                                                              LIFE
                Sat O2 < 95
                                                                              LIMB
                หายใจโดยใช้ accessory muscle หรือมี chest wall
                                                                              ORGAN
                retraction*                                                   THREATENING


C       ผู้ป่วยที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะช็อก
               ตัวลาย หรือ capillary refill > 2 วินาที
               ชีพจร < 50 ครั้ง/นาที หรือ ชีพจร > 150 ครั้ง/นาที ในผู้ใหญ่
               เสียเลือดมาก( > 750 cc )


D comes your footer  Page 11 score < 13
Here
      Glassglow coma
•ผู้ป่วยเจ็บหน้าอกที่สงสัยสาเหตุจากโรคหัวใจ
            •ผู้ป่วยที่มีอาการปวดรุนแรง( pain score > 7 ) ร่วมกับมี vital
            signs ผิดปกติ
POTENTIAL   •ผู้ป่วยที่มีภาวะน้าตาลต่า
LIFE               DTX < 60 mg% หรือ DTX < 80 mg% ร่วมกับมีอาการ
LIMB
            •ผู้ป่วยที่มีอาการอ่อนแรง ปากเบี้ยว หรือ พูดไม่ชัด
ORGAN
THREATENING •ไข้สูง > 39 c ในเด็กต่ากว่า 6 ปี * หรือ > 40 c ในผู้ใหญ่
                              o                                  o

            •ตัวเย็น body temp.< 36 oc *
            •ผู้ป่วยถูกกรดด่างกระเด็นเข้าตา
            •ผู้ป่วยบาดเจ็บตาที่มีปัญหากับการมองเห็น
            •ผู้ป่วยอุบัติเหตุ บาดเจ็บมากกว่า 2 ระบบขึ้นไป
            •ผู้ป่วยอุบัติเหตุ บาดเจ็บเฉพาะที่แบบรุนแรง เช่น แขนขาขาด กระดูกชิ้นใหญ่หัก
            •ผู้ป่วยที่สงสัยได้รับพิษ หรือ กินยาเกินขนาด*
            •ผู้ป่วยที่ถูกสัตว์มีพิษรุนแรงกัด*
            •ผุ้ป่วยจิตเวช หรือพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงที่มี พฤติกรรมรุนแรงเสี่ยงต่อการ
            บาดเจ็บของตัวเองและผู้อื่น
 Here comes your footer  Page 12
ระดับ 2 Emergency condition
 กรณีผู้ป่วยเด็กให้พิจารณาตามตาราง กลุ่มที่ vital signs อยู่ใน danger zone จัดเป็น
  ระดับ 2*
 * สามารถส่งตรวจ OPD เด็กได้โดยใช้
   คิวฉุกเฉิน




Here comes your footer  Page 13
patient
                                                   Decission point
                                   Immediate life threatening?
Triage nurse ประเมิน                  Require life saving
                                        intervention?
                                                                 yes   1
1.GA & primary survey
2.Vital sign& sat O2
3.Chife complain
                                    Potential life,limb,organ
4.Identify risk factor                    threatening            yes   2
5.Identify resource needs

                                     High risk situation &
                                       need resources?           yes   3

                                   No risk situation but need
    มีความเสี่ยง?                         resources?             yes   4
    ใช้ทรัพยากรมากแค่ไหน?
                                   No risk situation and not
Here comes your footer  Page 14
                                       need resources?           yes   5
High risk situation
  age        Co- mobid   MECHANISM                          ประวัติที่น่าสงสัย
                            OF INJURY
> 65 ปี DM,HT         ติดภายใน > 30 นาที              ชัก
< 3 เดือน IHD         ถูกแทง หรือ ถูกยิง              หยุดหายใจ หรือหายใจลาบาก
          ASTHMA/COPD มีผู้เสียชีวิต ณ ที่เกิดเหตุ    เจ็บหน้าอก
          CKD         กระเด็นออกจากรถ หรือรถ          ซึม หรือ alteration of
                      พลิกคว่า                        conscious
           MALIGNANCY         Burn                    สงสัยแพ้ยา
           CIRRHOSIS          Electrical injury
           IMMUNOCOM          ตกจากที่สูง > 6 เมตร
           PROMISE            หรือสูงกว่าสองเท่าของ
                              ความสูงผู้ป่วย
                              Child abuse
                              บาดเจ็บดวงตา
Here comes your footer  Page 16
Expect resources need




Here comes your footer  Page 17
ระดับ 3 Urgency condition
 ภาวะเจ็บป่วยเร่งด่วนที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตและอวัยวะหากให้การช่วยเหลือ ล่าช้า (ระยะเวลารอคอยไม่เกิน 30 นาที)
 ความดันโลหิตสูง                                           ผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะที่มีประวัติสลบ หรือ จาเหตุการณ์ไม่ได้ แต่
  - SBP > 180 mm.Hg                                          รู้ตัวดี
   - DBP > 100 mm.Hg                                       ปวดรุนแรงปานกลาง ( pain score > 5 ) ร่วมกับมี
   - BP > 160/90 mm.Hg ร่วมกับมีอาการ                       vital sign ผิดปกติ

 เสียเลือดปานกลาง ( > 500 cc )                            ผู้ป่วยเจ็บหน้าอกที่สงสัยสาเหตุอื่นที่ไม่ใช่โรคหัวใจ

 ผู้ป่วยมีอาการหายใจลาบาก หรือ หายใจติดขัด*               ผู้ป่วยปวดท้องที่มีความเสี่ยง
                                                             - อายุมากกว่า 65 ปี หรือน้อยกว่า 5 ปี
 ผู้ป่วยชัก ที่หยุดชักแล้ว และรู้ตัวดี*
                                                             - สงสัยสาเหตุที่รุนแรง เช่น rupture AAA หรือ
 ไข้ ในกลุ่มผู้ป่วยภูมิคุ้มกันต่า เช่น ผู้ป่วยมะเร็ง หรือ กิน       ectopic pregnancy
  ยากดภูมิคุ้มกัน หรือ ไข้ ร่วมกับมีอาการของ SIRS
  (sepsis)*                                                     ผู้ป่วยที่มีแขนขาผิดรูป มีแผลขนาดใหญ่ หรือแผลถูกทับ /
                                                                 กระแทกรุนแรง
 อาเจียนมากตลอดเวลา*
                                                                ผู้ป่วยที่คลาชีพจรบริเวณแขนขาไม่ได้ หรือมีอาการชาแขนขา
 ผู้ป่วยที่มีภาวะขาดน้าปานกลาง ( moderate
  dehydration)*                                                 ผู้ป่วยอุบัติเหตุที่มีประวัติอุบัติเหตุรุนแรงมาก

 ผู้ป่วยตาอักเสบ หรือสิงแปลกปลอมเข้าตา ที่การมองเห็น  ผู้ป่วยเด็กอายุน้อยกว่า 3 เดือน*
                            ่
  ปกติ
ระดับ 4 Less urgency condition
                     ภาวะเจ็บป่วยเร่งด่วนทั่วไป (ระยะเวลารอคอยไม่เกิน 60 นาที )

 เสียเลือดเล็กน้อย ( < 500 cc )                     บาดเจ็บแขนขาเล็กน้อย เช่น กล้ามเนื้ออักเสบ
 ผู้ป่วยที่กลืน หรือสาลักสิ่งแปลกปลอม โดยไม่มี       สงสัยกระดูกชิ้นเล็กหัก หรือบาดแผลขนาดเล็ก
  อาการหายใจติดขัด                                   เฝือกคับจากอาการบวมโดยที่ไม่มีอาการของ
 บาดเจ็บทรวงอกที่ไม่มีอาการหายใจลาบาก หรือ           compartment syndrome
  เจ็บหน้าอก                                         ข้ออักเสบบวมแดง
 ผู้ป่วยกลืนลาบากที่ไม่มีภาวะหายใจติดขัด            ผู้ป่วยปวดท้องที่ยังไม่ทราบสาเหตุชัดเจน แต่
 บาดเจ็บศีรษะเล็กน้อยโดยที่ไม่มีประวัติสลบ           ประวัติไม่มีความเสี่ยง
  หรือ จาเหตุการณ์ไม่ได้                             ผู้ป่วยจิตเวชที่มีอาการเปลี่ยนแปลง แต่สามารถ
 ปวดรุนแรงปานกลาง( 5 > pain score > 3 )              สังเกตอาการได้ และไม่เสี่ยงทาร้ายตัวเองและผู้อื่น

 ผู้ป่วยอาเจียน หรือถ่ายเหลวที่ไม่มีภาวะขาดน้า
Here comes your footer  Page 19
ระดับ 5 Nonurgency condition

               ภาวะเจ็บป่วยไม่ฉุกเฉิน ( ระยะเวลารอคอยไม่เกิน 120 นาที )

ปวดเล็กน้อย ( pain score < 3 ) ประวัติเจ็บป่วยไม่รุนแรง
อาการเจ็บป่วยเล็กน้อย และไม่รุนแรงขึ้น หรือเป็นภาวะที่ไม่มีความเสี่ยง
ผู้ป่วยอุบัติเหตุ บาดแผลเล็กน้อย ไม่ต้องเย็บ
ผู้ป่วยนัด เช่น ทาแผล หรือ ฉีดวัคซีน
ผู้ป่วยจิตเวชที่ป่วยมานาน และไม่มีพฤติกรรมรุนแรง



Here comes your footer  Page 20
Hospital triage



                                      Hospital
                                       triage



                                          ED
                                        triage



Here comes your footer  Page 21
OPD or ER ?
  ระดับ 1 Life threatening condition
                                                                                              ER
  ภาวะเจ็บป่วยที่เป็นอันตรายต่อชีวต ต้องช่วยเหลือทันที
                                  ิ
             ระดับ 2 Emergency condition
        ภาวะเจ็บป่วยรุนแรงที่ต้องให้การช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน
                      ระดับ 3 Urgency condition
      ภาวะเจ็บป่วยเร่งด่วนที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตและอวัยวะหากให้การช่วยเหลือ ล่าช้า

                         ระดับ 4 Less urgency condition
                                        ภาวะเจ็บป่วยเร่งด่วนทั่วไป
                                  ระดับ 5 Nonurgency condition
OPD
                                                  ภาวะเจ็บป่วยไม่ฉุกเฉิน

                                              อุบัติเหตุแผลใหม่ ภายใน 24 ชั่วโมงส่ง ER

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfporkhwan
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำNickson Butsriwong
 
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...Utai Sukviwatsirikul
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalfreelance
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการUtai Sukviwatsirikul
 
12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวนSuradet Sriangkoon
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
Monitor traumatic shock 16 พค.58
Monitor traumatic shock  16 พค.58Monitor traumatic shock  16 พค.58
Monitor traumatic shock 16 พค.58Krongdai Unhasuta
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triagefreelance
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Aphisit Aunbusdumberdor
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)Weerawan Ueng-aram
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 

Mais procurados (20)

SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
EKG in ACLS
EKG in ACLSEKG in ACLS
EKG in ACLS
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
Pharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy strokePharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy stroke
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
 
12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
Monitor traumatic shock 16 พค.58
Monitor traumatic shock  16 พค.58Monitor traumatic shock  16 พค.58
Monitor traumatic shock 16 พค.58
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาล
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
Septic Shock
Septic ShockSeptic Shock
Septic Shock
 
VAP
VAPVAP
VAP
 
Shock
ShockShock
Shock
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 

Destaque

Manual government หลักการจำแนกประเภทหน่วยงานของรัฐ
Manual government หลักการจำแนกประเภทหน่วยงานของรัฐManual government หลักการจำแนกประเภทหน่วยงานของรัฐ
Manual government หลักการจำแนกประเภทหน่วยงานของรัฐParun Rutjanathamrong
 
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)taem
 
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 Yanee Tongmanee
 
What Is iTriage?
What Is iTriage?What Is iTriage?
What Is iTriage?mfrost1955
 
تصنيف مرضى الطوارئ triage
تصنيف مرضى الطوارئ triageتصنيف مرضى الطوارئ triage
تصنيف مرضى الطوارئ triageMohammad Ihmeidan
 
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยNarenthorn EMS Center
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา campingการปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา campingVai2eene K
 
Severe trauma and traumatic shock 14 พค.58
Severe trauma and traumatic shock  14 พค.58Severe trauma and traumatic shock  14 พค.58
Severe trauma and traumatic shock 14 พค.58Krongdai Unhasuta
 
ตัวอย่างนวัตกรรม
ตัวอย่างนวัตกรรมตัวอย่างนวัตกรรม
ตัวอย่างนวัตกรรมsomdetpittayakom school
 
Triage In Emergency Department
Triage In Emergency DepartmentTriage In Emergency Department
Triage In Emergency DepartmentFrank Smith
 
Triageโรงพยาบาลลำปาง นพ ธานินทร์
Triageโรงพยาบาลลำปาง นพ ธานินทร์Triageโรงพยาบาลลำปาง นพ ธานินทร์
Triageโรงพยาบาลลำปาง นพ ธานินทร์ongzzz4207
 

Destaque (20)

Triage
TriageTriage
Triage
 
Sawanpracharak Triage Scale
Sawanpracharak Triage ScaleSawanpracharak Triage Scale
Sawanpracharak Triage Scale
 
Prachinburi Triage Scale
Prachinburi Triage ScalePrachinburi Triage Scale
Prachinburi Triage Scale
 
Manual government หลักการจำแนกประเภทหน่วยงานของรัฐ
Manual government หลักการจำแนกประเภทหน่วยงานของรัฐManual government หลักการจำแนกประเภทหน่วยงานของรัฐ
Manual government หลักการจำแนกประเภทหน่วยงานของรัฐ
 
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)
 
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
 
What Is iTriage?
What Is iTriage?What Is iTriage?
What Is iTriage?
 
Fte kan57
Fte kan57Fte kan57
Fte kan57
 
تصنيف مرضى الطوارئ triage
تصنيف مرضى الطوارئ triageتصنيف مرضى الطوارئ triage
تصنيف مرضى الطوارئ triage
 
Triage
TriageTriage
Triage
 
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
 
การช่วยฟื้นคืนชีพ
การช่วยฟื้นคืนชีพการช่วยฟื้นคืนชีพ
การช่วยฟื้นคืนชีพ
 
Initial Assess Trauma (Thai)
Initial Assess Trauma (Thai)Initial Assess Trauma (Thai)
Initial Assess Trauma (Thai)
 
4.ภาระงาน
4.ภาระงาน4.ภาระงาน
4.ภาระงาน
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา campingการปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
 
Severe trauma and traumatic shock 14 พค.58
Severe trauma and traumatic shock  14 พค.58Severe trauma and traumatic shock  14 พค.58
Severe trauma and traumatic shock 14 พค.58
 
Traumatic shock
Traumatic shockTraumatic shock
Traumatic shock
 
ตัวอย่างนวัตกรรม
ตัวอย่างนวัตกรรมตัวอย่างนวัตกรรม
ตัวอย่างนวัตกรรม
 
Triage In Emergency Department
Triage In Emergency DepartmentTriage In Emergency Department
Triage In Emergency Department
 
Triageโรงพยาบาลลำปาง นพ ธานินทร์
Triageโรงพยาบาลลำปาง นพ ธานินทร์Triageโรงพยาบาลลำปาง นพ ธานินทร์
Triageโรงพยาบาลลำปาง นพ ธานินทร์
 

Semelhante a Ayutthaya Triage Scale

TAEM11: รักษาทันที มีจริงหรือ (นพ.ไพโรจน์)
TAEM11: รักษาทันที มีจริงหรือ (นพ.ไพโรจน์)TAEM11: รักษาทันที มีจริงหรือ (นพ.ไพโรจน์)
TAEM11: รักษาทันที มีจริงหรือ (นพ.ไพโรจน์)taem
 
รักษาทันที มีจริงหรือ (กมลมาศ)
รักษาทันที มีจริงหรือ (กมลมาศ)รักษาทันที มีจริงหรือ (กมลมาศ)
รักษาทันที มีจริงหรือ (กมลมาศ)taem
 
Multiple trauma in special situations
Multiple trauma in special situationsMultiple trauma in special situations
Multiple trauma in special situationstaem
 
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNeonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNarenthorn EMS Center
 
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdfการปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdfpraphan khunti
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfKrongdai Unhasuta
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfKrongdai Unhasuta
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfKrongdai Unhasuta
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009taem
 

Semelhante a Ayutthaya Triage Scale (14)

Introduction to em
Introduction to emIntroduction to em
Introduction to em
 
TAEM11: รักษาทันที มีจริงหรือ (นพ.ไพโรจน์)
TAEM11: รักษาทันที มีจริงหรือ (นพ.ไพโรจน์)TAEM11: รักษาทันที มีจริงหรือ (นพ.ไพโรจน์)
TAEM11: รักษาทันที มีจริงหรือ (นพ.ไพโรจน์)
 
รักษาทันที มีจริงหรือ (กมลมาศ)
รักษาทันที มีจริงหรือ (กมลมาศ)รักษาทันที มีจริงหรือ (กมลมาศ)
รักษาทันที มีจริงหรือ (กมลมาศ)
 
Multiple trauma in special situations
Multiple trauma in special situationsMultiple trauma in special situations
Multiple trauma in special situations
 
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNeonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
 
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdfการปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
 
Psychiatric Emergency
Psychiatric EmergencyPsychiatric Emergency
Psychiatric Emergency
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009
 
First aid by Narenthorn 2016
First aid by Narenthorn 2016First aid by Narenthorn 2016
First aid by Narenthorn 2016
 
Emergency department triage
Emergency department triageEmergency department triage
Emergency department triage
 
Blunt chest injury
Blunt chest injuryBlunt chest injury
Blunt chest injury
 

Mais de Society of Thai Emergency Physicians

แนวทางการดูแลรักษาลิ้มเลือดอุดตันในปอด ในผูปวยฉุกเฉิน
แนวทางการดูแลรักษาลิ้มเลือดอุดตันในปอด ในผูปวยฉุกเฉินแนวทางการดูแลรักษาลิ้มเลือดอุดตันในปอด ในผูปวยฉุกเฉิน
แนวทางการดูแลรักษาลิ้มเลือดอุดตันในปอด ในผูปวยฉุกเฉินSociety of Thai Emergency Physicians
 

Mais de Society of Thai Emergency Physicians (19)

แนวทางการดูแลรักษาลิ้มเลือดอุดตันในปอด ในผูปวยฉุกเฉิน
แนวทางการดูแลรักษาลิ้มเลือดอุดตันในปอด ในผูปวยฉุกเฉินแนวทางการดูแลรักษาลิ้มเลือดอุดตันในปอด ในผูปวยฉุกเฉิน
แนวทางการดูแลรักษาลิ้มเลือดอุดตันในปอด ในผูปวยฉุกเฉิน
 
Principle Of Prachinburi Triage Scale(Pts)
Principle Of Prachinburi Triage Scale(Pts)Principle Of Prachinburi Triage Scale(Pts)
Principle Of Prachinburi Triage Scale(Pts)
 
Medical Management Of Chemical Casualties
Medical Management Of Chemical CasualtiesMedical Management Of Chemical Casualties
Medical Management Of Chemical Casualties
 
Nopparat Hazmat Preparedness
Nopparat Hazmat PreparednessNopparat Hazmat Preparedness
Nopparat Hazmat Preparedness
 
Workplace Violence
Workplace ViolenceWorkplace Violence
Workplace Violence
 
Post Exposure Prophylaxis
Post Exposure ProphylaxisPost Exposure Prophylaxis
Post Exposure Prophylaxis
 
Tuberculosis And Airborne
Tuberculosis And AirborneTuberculosis And Airborne
Tuberculosis And Airborne
 
Management Of Violent Patient
Management Of Violent PatientManagement Of Violent Patient
Management Of Violent Patient
 
Bioterrorism Present
Bioterrorism PresentBioterrorism Present
Bioterrorism Present
 
Approach to Shock and Hemodynamics
Approach to Shock and HemodynamicsApproach to Shock and Hemodynamics
Approach to Shock and Hemodynamics
 
Shock: Emergency approach and management
Shock: Emergency approach and managementShock: Emergency approach and management
Shock: Emergency approach and management
 
Updates And Adjuncts In CPR
Updates And Adjuncts In CPRUpdates And Adjuncts In CPR
Updates And Adjuncts In CPR
 
Vascular Access And Others Essentail Procedures
Vascular Access And Others Essentail ProceduresVascular Access And Others Essentail Procedures
Vascular Access And Others Essentail Procedures
 
Severe Sepsis And Septic Shock
Severe Sepsis And Septic ShockSevere Sepsis And Septic Shock
Severe Sepsis And Septic Shock
 
Why do we need NMBAs for RSI?
Why do we need NMBAs for RSI?Why do we need NMBAs for RSI?
Why do we need NMBAs for RSI?
 
What about the "nearly arrest" patients?
What about the "nearly arrest" patients?What about the "nearly arrest" patients?
What about the "nearly arrest" patients?
 
Literature And Journal in Emergency Medicine
Literature And Journal in Emergency MedicineLiterature And Journal in Emergency Medicine
Literature And Journal in Emergency Medicine
 
Updates in ACLS 2005
Updates in ACLS 2005Updates in ACLS 2005
Updates in ACLS 2005
 
Basic concepts of resuscitation in trauma patients
Basic concepts of resuscitation in trauma patientsBasic concepts of resuscitation in trauma patients
Basic concepts of resuscitation in trauma patients
 

Ayutthaya Triage Scale

  • 2. TRIAGE การคัดแยกผู้ป่วย การคัดแยกผู้ป่วยให้ได้รับการรักษาพยาบาลในภาวะฉุกเฉินอย่างมีประสิทธิภาพ ภายใน เวลาที่เหมาะสม ไม่เน้นการวินิจฉัยโรคที่ถูกต้อง แต่เน้นค้นหาภาวะคุกคามชีวิต(Life- Threatening) หรือภาวะเร่งด่วนของผู้ป่วยเพื่อประเมินความต้องการการ ช่วยเหลือและให้การช่วยเหลือฉุกเฉินอย่างทันท่วงที 5 R Right patient Right time Right place Right care Right provider Here comes your footer  Page 2
  • 3. Triage process Job description of triage nurse 1.Triage Decision 2.Initial Treatment or Intervention&Information  ผู้ป่วยได้รับการจัดลาดับตามความเร่งด่วนและ  ผู้ป่วยได้รับการดูแลเบื้องต้นตามความเร่งด่วน ความรุนแรง  ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่มีภาวะคุกคามชีวิต พยาบาล คัดแยกสามารถ ให้การพยาบาลเบื้องต้นก่อนพบ  ส่งผู้ป่วยไปรักษาในบริเวณที่เหมาะสมกับความ แพทย์ได้ เช่น เร่งด่วน (Appropriate Area) o ส่งตวรจทางห้องปฏิบัติการ o ระงับปวด o เช็ดตัวลดไข้ หรืออื่นๆเป็นต้น  ให้ข้อมูลเบื้องต้นแก่ผู้ป่วย และญาติ Here comes your footer  Page 3
  • 4. Triage decision making General Chief Focused appearance& complain assessment primary survay Reassess the determine Pose acuity acuity hypothesis Here comes your footer  Page 4
  • 5. AYTS - AYUTTHAYA TRIAGE SYSTEM ATS – AUSTRALIAN TRIAGE SYSTEM  A- airway  B- breathing  C- circulation  D- disability ESI – EMERGENCY SEVERITY INDEX V.4 จะตายไหม? รอได้ไหม? ใช้ทรัพยากรมากน้อยแค่ไหน ? Here comes your footer  Page 5
  • 6. 5 levels triage ระดับ 1 Life threatening condition ภาวะเจ็บป่วยที่เป็นอันตรายต่อชีวต ต้องช่วยเหลือทันที ิ ระดับ 2 Emergency condition ภาวะเจ็บป่วยรุนแรงที่ต้องให้การช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน ระดับ 3 Urgency condition ภาวะเจ็บป่วยเร่งด่วนที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตและอวัยวะหากให้การช่วยเหลือ ล่าช้า ระดับ 4 Less urgency condition ภาวะเจ็บป่วยเร่งด่วนทั่วไป ระดับ 5 Nonurgency condition ภาวะเจ็บป่วยไม่ฉุกเฉิน
  • 7. patient ถ้าไม่ช่วย จะตายไหม? Decission point Immediate life threatening? Triage nurse ประเมิน Require life saving yes 1 1.GA & primary survey intervention? 2.Vital sign& sat O2 3.Chife complain 4.Identify risk factor Potential life,limb,organ threatening yes 2 5.Identify resource needs ควรรอหรือไม่? High risk situation & yes 3 need resources? มีความเสี่ยง? No risk situation but need resources? yes 4 ใช้ทรัพยากรมากแค่ไหน? Here comes your footer  Page 7 No risk situation and not need resources? yes 5
  • 8. ระดับ 1 Life threatening condition ภาวะเจ็บป่วยที่เป็นอันตรายต่อชีวิต ต้องช่วยเหลือทันที ( ระยะเวลารอคอย 0 นาที ) • หยุดหายใจ • ผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้น (apnea) (cardiac arrest ) • ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะช็อก A • SBP < 90 mm.Hg ในผู้ใหญ่ B • SBP < 80 mm.Hg D ในเด็กอายุ < 5 ปี • ภาวะหายใจล้มเหลว • GCS < 8 • เขียว C • ชัก หรือ ไม่รู้ตัว • หายใจช้า < 10 ครั้ง • หายใจเร็ว >35 ครั้ง • Sat O2 < 90
  • 9. Life-saving intervention Airway/breathing Hemodynamics  BVM ventilation  Significant IV fluid resuscitation  Intubation Medications  Surgical airway  Naloxone  Emergent cardioversion  D50  External pacing  Dopamine Procedures  Atropine  Chest needle decompression  Adrenaline  Pericardiocentesis Here comes your footer  Page 9
  • 10. patient Decission point Immediate life threatening? Triage nurse ประเมิน Require life saving yes 1 1.GA & primary survey intervention? 2.Vital sign& sat O2 3.Chife complain 4.Identify risk factor Potential life,limb,organ threatening yes 2 5.Identify resource needs High risk situation & need resources? yes 3 ควรรอหรือไม่? No risk situation but need resources? yes 4 No risk situation and not Here comes your footer  Page 10 need resources? yes 5
  • 11. ระดับ 2 Emergency condition ภาวะเจ็บป่วยรุนแรงที่ต้องให้การช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน (ระยะเวลารอคอยไม่เกิน 15 นาที ) A ผู้ป่วยทางเดินหายใจส่วนบนอุดกั้น ( upper airway obstruction ) เช่น มี stridor หรือ drooling B ผู้ป่วยที่เสี่ยงต่อการมีภาวะหายใจล้มเหลว ( severe respiratory distress ) หายใจเร็ว > 30 ครั้ง/นาที POTENTIAL LIFE Sat O2 < 95 LIMB หายใจโดยใช้ accessory muscle หรือมี chest wall ORGAN retraction* THREATENING C ผู้ป่วยที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะช็อก ตัวลาย หรือ capillary refill > 2 วินาที ชีพจร < 50 ครั้ง/นาที หรือ ชีพจร > 150 ครั้ง/นาที ในผู้ใหญ่ เสียเลือดมาก( > 750 cc ) D comes your footer  Page 11 score < 13 Here Glassglow coma
  • 12. •ผู้ป่วยเจ็บหน้าอกที่สงสัยสาเหตุจากโรคหัวใจ •ผู้ป่วยที่มีอาการปวดรุนแรง( pain score > 7 ) ร่วมกับมี vital signs ผิดปกติ POTENTIAL •ผู้ป่วยที่มีภาวะน้าตาลต่า LIFE DTX < 60 mg% หรือ DTX < 80 mg% ร่วมกับมีอาการ LIMB •ผู้ป่วยที่มีอาการอ่อนแรง ปากเบี้ยว หรือ พูดไม่ชัด ORGAN THREATENING •ไข้สูง > 39 c ในเด็กต่ากว่า 6 ปี * หรือ > 40 c ในผู้ใหญ่ o o •ตัวเย็น body temp.< 36 oc * •ผู้ป่วยถูกกรดด่างกระเด็นเข้าตา •ผู้ป่วยบาดเจ็บตาที่มีปัญหากับการมองเห็น •ผู้ป่วยอุบัติเหตุ บาดเจ็บมากกว่า 2 ระบบขึ้นไป •ผู้ป่วยอุบัติเหตุ บาดเจ็บเฉพาะที่แบบรุนแรง เช่น แขนขาขาด กระดูกชิ้นใหญ่หัก •ผู้ป่วยที่สงสัยได้รับพิษ หรือ กินยาเกินขนาด* •ผู้ป่วยที่ถูกสัตว์มีพิษรุนแรงกัด* •ผุ้ป่วยจิตเวช หรือพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงที่มี พฤติกรรมรุนแรงเสี่ยงต่อการ บาดเจ็บของตัวเองและผู้อื่น Here comes your footer  Page 12
  • 13. ระดับ 2 Emergency condition  กรณีผู้ป่วยเด็กให้พิจารณาตามตาราง กลุ่มที่ vital signs อยู่ใน danger zone จัดเป็น ระดับ 2*  * สามารถส่งตรวจ OPD เด็กได้โดยใช้ คิวฉุกเฉิน Here comes your footer  Page 13
  • 14. patient Decission point Immediate life threatening? Triage nurse ประเมิน Require life saving intervention? yes 1 1.GA & primary survey 2.Vital sign& sat O2 3.Chife complain Potential life,limb,organ 4.Identify risk factor threatening yes 2 5.Identify resource needs High risk situation & need resources? yes 3 No risk situation but need มีความเสี่ยง? resources? yes 4 ใช้ทรัพยากรมากแค่ไหน? No risk situation and not Here comes your footer  Page 14 need resources? yes 5
  • 15. High risk situation age Co- mobid MECHANISM ประวัติที่น่าสงสัย OF INJURY > 65 ปี DM,HT ติดภายใน > 30 นาที ชัก < 3 เดือน IHD ถูกแทง หรือ ถูกยิง หยุดหายใจ หรือหายใจลาบาก ASTHMA/COPD มีผู้เสียชีวิต ณ ที่เกิดเหตุ เจ็บหน้าอก CKD กระเด็นออกจากรถ หรือรถ ซึม หรือ alteration of พลิกคว่า conscious MALIGNANCY Burn สงสัยแพ้ยา CIRRHOSIS Electrical injury IMMUNOCOM ตกจากที่สูง > 6 เมตร PROMISE หรือสูงกว่าสองเท่าของ ความสูงผู้ป่วย Child abuse บาดเจ็บดวงตา
  • 16. Here comes your footer  Page 16
  • 17. Expect resources need Here comes your footer  Page 17
  • 18. ระดับ 3 Urgency condition ภาวะเจ็บป่วยเร่งด่วนที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตและอวัยวะหากให้การช่วยเหลือ ล่าช้า (ระยะเวลารอคอยไม่เกิน 30 นาที)  ความดันโลหิตสูง  ผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะที่มีประวัติสลบ หรือ จาเหตุการณ์ไม่ได้ แต่ - SBP > 180 mm.Hg รู้ตัวดี - DBP > 100 mm.Hg  ปวดรุนแรงปานกลาง ( pain score > 5 ) ร่วมกับมี - BP > 160/90 mm.Hg ร่วมกับมีอาการ vital sign ผิดปกติ  เสียเลือดปานกลาง ( > 500 cc )  ผู้ป่วยเจ็บหน้าอกที่สงสัยสาเหตุอื่นที่ไม่ใช่โรคหัวใจ  ผู้ป่วยมีอาการหายใจลาบาก หรือ หายใจติดขัด*  ผู้ป่วยปวดท้องที่มีความเสี่ยง - อายุมากกว่า 65 ปี หรือน้อยกว่า 5 ปี  ผู้ป่วยชัก ที่หยุดชักแล้ว และรู้ตัวดี* - สงสัยสาเหตุที่รุนแรง เช่น rupture AAA หรือ  ไข้ ในกลุ่มผู้ป่วยภูมิคุ้มกันต่า เช่น ผู้ป่วยมะเร็ง หรือ กิน ectopic pregnancy ยากดภูมิคุ้มกัน หรือ ไข้ ร่วมกับมีอาการของ SIRS (sepsis)*  ผู้ป่วยที่มีแขนขาผิดรูป มีแผลขนาดใหญ่ หรือแผลถูกทับ / กระแทกรุนแรง  อาเจียนมากตลอดเวลา*  ผู้ป่วยที่คลาชีพจรบริเวณแขนขาไม่ได้ หรือมีอาการชาแขนขา  ผู้ป่วยที่มีภาวะขาดน้าปานกลาง ( moderate dehydration)*  ผู้ป่วยอุบัติเหตุที่มีประวัติอุบัติเหตุรุนแรงมาก  ผู้ป่วยตาอักเสบ หรือสิงแปลกปลอมเข้าตา ที่การมองเห็น  ผู้ป่วยเด็กอายุน้อยกว่า 3 เดือน* ่ ปกติ
  • 19. ระดับ 4 Less urgency condition ภาวะเจ็บป่วยเร่งด่วนทั่วไป (ระยะเวลารอคอยไม่เกิน 60 นาที )  เสียเลือดเล็กน้อย ( < 500 cc )  บาดเจ็บแขนขาเล็กน้อย เช่น กล้ามเนื้ออักเสบ  ผู้ป่วยที่กลืน หรือสาลักสิ่งแปลกปลอม โดยไม่มี สงสัยกระดูกชิ้นเล็กหัก หรือบาดแผลขนาดเล็ก อาการหายใจติดขัด  เฝือกคับจากอาการบวมโดยที่ไม่มีอาการของ  บาดเจ็บทรวงอกที่ไม่มีอาการหายใจลาบาก หรือ compartment syndrome เจ็บหน้าอก  ข้ออักเสบบวมแดง  ผู้ป่วยกลืนลาบากที่ไม่มีภาวะหายใจติดขัด  ผู้ป่วยปวดท้องที่ยังไม่ทราบสาเหตุชัดเจน แต่  บาดเจ็บศีรษะเล็กน้อยโดยที่ไม่มีประวัติสลบ ประวัติไม่มีความเสี่ยง หรือ จาเหตุการณ์ไม่ได้  ผู้ป่วยจิตเวชที่มีอาการเปลี่ยนแปลง แต่สามารถ  ปวดรุนแรงปานกลาง( 5 > pain score > 3 ) สังเกตอาการได้ และไม่เสี่ยงทาร้ายตัวเองและผู้อื่น  ผู้ป่วยอาเจียน หรือถ่ายเหลวที่ไม่มีภาวะขาดน้า Here comes your footer  Page 19
  • 20. ระดับ 5 Nonurgency condition ภาวะเจ็บป่วยไม่ฉุกเฉิน ( ระยะเวลารอคอยไม่เกิน 120 นาที ) ปวดเล็กน้อย ( pain score < 3 ) ประวัติเจ็บป่วยไม่รุนแรง อาการเจ็บป่วยเล็กน้อย และไม่รุนแรงขึ้น หรือเป็นภาวะที่ไม่มีความเสี่ยง ผู้ป่วยอุบัติเหตุ บาดแผลเล็กน้อย ไม่ต้องเย็บ ผู้ป่วยนัด เช่น ทาแผล หรือ ฉีดวัคซีน ผู้ป่วยจิตเวชที่ป่วยมานาน และไม่มีพฤติกรรมรุนแรง Here comes your footer  Page 20
  • 21. Hospital triage Hospital triage ED triage Here comes your footer  Page 21
  • 22. OPD or ER ? ระดับ 1 Life threatening condition ER ภาวะเจ็บป่วยที่เป็นอันตรายต่อชีวต ต้องช่วยเหลือทันที ิ ระดับ 2 Emergency condition ภาวะเจ็บป่วยรุนแรงที่ต้องให้การช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน ระดับ 3 Urgency condition ภาวะเจ็บป่วยเร่งด่วนที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตและอวัยวะหากให้การช่วยเหลือ ล่าช้า ระดับ 4 Less urgency condition ภาวะเจ็บป่วยเร่งด่วนทั่วไป ระดับ 5 Nonurgency condition OPD ภาวะเจ็บป่วยไม่ฉุกเฉิน อุบัติเหตุแผลใหม่ ภายใน 24 ชั่วโมงส่ง ER