SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 32
Baixar para ler offline
   หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครง
    ร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ (รูปธรรม) เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด
    เครื่องพิมพ์ เมาส์ เป็นต้น ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ตามลักษณะการ
    ทางาน ได้ 4 หน่วย คือ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
    หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit:CPU) หน่วยแสดงผล
    (Output Unit) หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณ์แต่ละ
    หน่วยมีหน้าที่การทางานแตกต่างกัน
   คือหน่วยความจาชนิดหนึ่ง ที่มีโปรแกรม หรือข้อมูลอยู่แล้ว และพร้อมที่จะนามาต่อกับ
    ไมโครโปรเซสเซอร์ได้โดยตรง ซึ่งโปรแกรม หรือข้อมูลนั้นจะไม่สูญหายไป
    แม้ว่าจะไม่มีการจ่ายไฟเลี้ยงให้แก่ระบบ ข้อมูลที่เก็บอยู่ใน ROM จะสามารถอ่าน
    ออกมาได้ แต่ไม่สามารถเขียนข้อมูลเข้าไปได้ เว้นแต่จะใช้วิธีการพิเศษซึ่งขึ้นกับชนิดของ
    ROM
   เมื่อซีพียูมีความเร็วสูงขึ้นเรื่อย (ปัจจุบันเกิน 2 GHz ) การระบายความ
    ร้อนด้วยพัดลมธรรมดาเพียงอย่างเดียว ไม่ สามารถใช้ได้ จึงมีการ
    ออกแบบแผ่นระบายความร้อนประกอบพัดลมด้วยวัสดุระบายความร้อน
    อย่างดีเช่น ทองแดง และรูป ทรงที่แตกต่างกันออกไปเพื่อให้มี
    ประสิทธิภาพระบายความร้อนได้ดีที่สุด และได้พัฒนาสารที่นาความร้อน
    จากซีพียู ไปยัง แผ่นระบายความร้อนขึ้นมาใช้เรียกว่า Thermal
    grease หรือ Silicone grease สาหรับใช้ ทาบนด้าน หลังซีพียู เพื่อให้ความ
    ร้อนระบายออกจากตัวซีพียูได้ดีและเร็วขึ้น สารดังกล่าวเรียกว่า ซิลิโคน
    ขายในราคาตลับละ ประมาณ 20 บาท
   อุปกรณ์ชิ้นหนึ่งในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เรามักจะมองข้ามไปและเป็นอุปกรณ์ที่
    สาคัญ
    เพราะถ้าขาดเจ้าตัวนี้แล้วเครื่องคอมพิวเตอร์ตัวเก่งของเราก็เปรียบเสมือนกล่อง
    เหล็กธรรมดาๆ
    ใช้การอะไรไม่ได้ อุปกรณ์ชิ้นนี้ก็คือ แหล่งจ่ายไฟ หรือที่เรามักจะเรียกกันว่า
    เพาเวอร์ซัพพลาย (Power Supply)นั่นเอง
   เพาเวอร์ซัพพลายมีหน้าที่หลักก็คือ เปลี่ยนแรงดันกระแสสลับจากไฟบ้าน 220
    โวลท์เอซี ให้เป็นแรงดันไฟตรงดีซีที่คอมพิวเตอร์ต้องใช้
   การ์ดจอ จะเป็นอุปกรณ์เสริม/หรือถูกติดตั้งมาแล้ว เพื่อช่วยในการแสดงผลทาง
    ภาพ หรือช่วยเร่งประสิทธิภาพในdkiแสดงผลทั้งด้าน 2D และ 3D การ์ดจอมี
    Interface 3 แบบคือ PCI, AGP และ PCI-Express
   การทางานของคอมพิวเตอร์ ใช้หลักการเก็บคาสั่งไว้ที่หน่วยความจา ซีพียูอ่านคาสั่งจาก
    หน่วยความจามาแปลความหมายและกระทาตามเรียงกันไปทีละคาสั่ง หน้าที่หลักของซีพียู
    คือควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์ทั้งระบบ ตลอดจนทาการประมวลผล
   กลไกการทางานของซีพียู มีความสลับซับซ้อน ผู้พัฒนาซีพียูได้สร้างกลไกให้ทางานได้ดี
    ขึ้น โดยแบ่งการทางานเป็นส่วน ๆ มีการทางานแบบขนาน และทางานเหลื่อมกันเพื่อให้
    ทางานได้เร็วขึ้น
   เมนบอร์ดเป็นอุปกรณ์ที่สาคัญรองมาจากซีพียู เมนบอร์ดทาหน้าที่ควบคุม ดูแลและ
    จัดการๆ ทางานของ อุปกรณ์ชนิดต่างๆ แทบทั้งหมดในเครื่องคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ซีพียู ไป
    จนถึงหน่วยความจาแคช หน่วยความจาหลัก ฮาร์ดดิกส์ ระบบบัส บนเมนบอร์ด
    ประกอบด้วยชิ้นส่วนต่างๆ มากมายแต่ส่วนสาคัญๆ
คือหน่วยความจาที่มีการเข้าถึงได้ โดยไม่ต้องใส่ลาดับ (Sequential Access)
 ต้องการข้อมูล ที่ตาแหน่งใดก็ได้ โดยส่ง Address (ตัวเลขระบุตาแหน่ง)
 ให้กับ RAM Memory Chip ที่ใช้กันในเครื่องพีซีแบ่งได้เป็น 2 ประเภท
 ใหญ่ๆ ได้แก่
1.SRAM(Static RAM)
2.DRAM(Dynamic RAM)
   ลักษณะทั่วไป
         ระบบฮาร์ดดิสค์แตกต่างกับแผ่นดิสเกตต์ ซึ่งโดยทั่วไปแล้วจะมี
    จานวนหน้าสาหรับเก็บบันทึกข้อมูลมากกว่าสองหน้า นอกจากระบบ
    ฮาร์ดดิสค์จะเก็บบันทึกข้อมูลเหมือนแผ่นดิสเกตต์ยังเป็นส่วนที่ใช้ในการ
    อ่านหรือเขียนบันทึกข้อมูลเหมือนช่องดิสค์ไดรฟ์
         แผ่นจานแม่เหล็กของฮาร์ดดิสค์ จะมีความหนาแน่นของการจุข้อมูล
    บนผิวหน้าได้สูงกว่าแผ่นดิสเกตต์มาก เช่น แผ่นดิสเกตต์มาตราฐานขนาด
    5.25 นิ้ว ความจุ 360 กิโลไบต์ จะมีจานวนวงรอบบันทึกข้อมูลหรือ
    เรียกว่า แทร็ก(track) อยู่ 40 แทร็ก กรณีของฮาร์ดดิสค์ขนาดเดียวกันจะมี
    จานวนวงรอบสูงมากกว่า 1000 แทร็กขึ้นไป
   ซอฟต์แวร์รุ่นใหม่ที่พัฒนาในระยะหลัง ๆ นี้ สามารถติดต่อกับผู้ใช้โดยการใช้รูปกราฟิก
    แทนคาสั่ง มีการใช้งานเป็นช่วงหน้าต่าง และเลือกรายการหรือคาสั่งด้วยภาพ หรือสัญรูป
    (icon) อุปกรณ์รับเข้าที่นิยมใช้จึงเป็นอุปกรณ์ประเภทตัวชี้ที่เรียกว่า เมาส์เมาส์เป็น
    อุปกรณ์ที่ให้ความรู้สึกที่ดีต่อการใช้งาน ช่วยให้การใช้งานง่ายขึ้นด้วยการใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้
    ไปยังตาแหน่งต่าง ๆ บนจอภาพ
   เป็นอุปกรณ์รับเข้าพื้นฐานที่ต้องมีในคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะรับข้อมูลจากการกดแป้น
    แล้วทาการเปลี่ยนเป็นรหัสเพื่อส่งต่อไปให้กับคอมพิวเตอร์ แป้นพิมพ์ที่ใช้ในการป้อน
    ข้อมูลจะมีจานวนตั้งแต่ 50 แป้นขึนไป แผงแป้นอักขระส่วนใหญ่มแป้นตัวเลขแยกไว้
                                        ้                              ี
    ต่างหาก เพื่อทาให้การป้อนข้อมูลตัวเลขทาได้ง่ายและสะดวกขึ้น
เมื่อพิจารณาศัพท์คาว่า คอมพิวเตอร์ ถ้าแปลกันตรงตัวตามคา
ภาษาอังกฤษ จะหมายถึงเครื่องคานวณ ดังนั้นถ้ากล่าวอย่างกว้าง ๆ เครื่อง
คานวณที่มีส่วนประกอบเป็นเครืองกลไกหรือเครื่องไฟฟ้า ต่างก็จัดเป็น
                                   ่
คอมพิวเตอร์ได้ทั้งสิ้น ลูกคิดที่เคยใช้กันในร้านค้า ไม้บรรทัด คานวณ
(slide rule) ซึ่งถือเป็นเครื่องมือประจาตัววิศวกรในยุคยี่สิบปีก่อน หรือ
เครื่องคิดเลข ล้วนเป็นคอมพิวเตอร์ได้ทั้งหมด
   ปัจจุบันความหมายของคอมพิวเตอร์จะระบุเฉพาะเจาะจง หมายถึง
เครื่องคานวณอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถทางานคานวณผลและเปรียบเทียบ
ค่าตามชุดคาสั่งด้วยความเร็วสูงอย่างต่อเนื่องและอัตโนมัติ พจนานุกรม
ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ได้ให้คาจากัดความของคอมพิวเตอร์
ไว้ค่อนข้างกะทัดรัดว่า เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทาหน้าที่
เสมือนสมองกล ใช้สาหรับแก้ปัญหาต่าง ๆ ทั้งที่ง่ายและซับซ้อน โดยวิธี
ทางคณิตศาสตร์
อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2488 ถึง พ.ศ. 2501 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้หลอดสุญญากาศซึ่งใช้
กาลังไฟฟ้าสูง จึงมีปัญหาเรื่องความร้อนและไส้หลอดขาดบ่อย ถึงแม้จะมีระบบระบาย
ความร้อนที่ดีมาก การสั่งงานใช้ภาษาเครื่องซึ่งเป็นรหัสตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน เครื่อง
คอมพิวเตอร์ของยุคนี้มีขนาดใหญ่โต เช่น มาร์ค วัน (MARK I), อีนิแอค (ENIAC), ยู
นิแวค (UNIVAC)

คอมพิวเตอร์ยุคที่สอง อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2502 ถึง พ.ศ. 2506 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้
ทรานซิสเตอร์ โดยมีแกนเฟอร์ไรท์เป็นหน่วยความจา มีอุปกรณ์เก็บข้อมูลสารองใน
รูปของสื่อบันทึกแม่เหล็ก ขึ้น โดยสามารถเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูงซึ่งเป็น
ภาษาที่เขียนเป็นประโยคทีคนสามารถเข้าใจได้ เช่น ภาษาฟอร์แทน ภาษาโคบอล
                          ่
เป็นต้น ภาษาระดับสูงนี้ได้มีการพัฒนาและใช้งานมาจนถึงปัจจุบน    ั
คอมพิวเตอร์ยุคที่สาม อยู่ระหว่างปี พ.ศ.. 2507 ถึง พ.ศ.2512 เป็นคอมพิวเตอร์ที่
ใช้วงจรรวม (Integrated Circuit : IC) โดยวงจรรวมแต่ละตัวจะมีทรานซิสเตอร์
บรรจุอยู่ภายในมากมายทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์จะออกแบบซับซ้อนมากขึ้น



คอมพิวเตอร์ยุคที่สี่ ตั้งแต่ปี พ.ศ..2513 จนถึงปัจจุบัน เป็นยุคของคอมพิวเตอร์ที่ใช้
รวมความจุสูงมาก(Very Large Scale Integration : VLSIวงจร) ระบบซอฟต์แวร์
ได้พัฒนาขีดความสามารถสูงขึ้นมาก มีโปรแกรมสาเร็จให้เลือกใช้กันมากทาให้
เกิดความสะดวกในการใช้งานอย่างกว้างขวาง
คอมพิวเตอร์ยุคที่ห้า เป็นคอมพิวเตอร์ที่มนุษย์พยายามนามาเพื่อช่วยในการ
ตัดสินใจและแก้ปญหาให้ดียิ่งขึ้น โดยจะมีการเก็บความรอบรู้ต่าง ๆ เข้าไว้ใน
                  ั
เครื่อง สามารถเรียกค้นและดึงความรู้ที่สะสมไว้มาใช้งานให้เป็นประโยชน์
คอมพิวเตอร์ยุคนี้เป็นผลจากวิชาการด้านปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence
: AI) ประเทศต่างๆ ทั่วโลกไม่ว่าจะเป็นสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และประเทศใน
ทวีปยุโรปกาลังสนใจค้นคว้าและพัฒนาทางด้านนี้กันอย่างจริงจัง
   คอมพิวเตอร์ยุคหลอดสุญญากาศ (พ.ศ. 2488-2501)
    ในปี พ.ศ. 2486 วิศวกรสองคน คือ จอห์น มอชลี (John Mouchly) และ เจ เพรสเปอร์
    เอ็ดเคิร์ท (J.Presper Eckert) ได้พัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ และจัดได้ว่าเป็นเครื่อง
    คอมพิวเตอร์ที่ใช้งาน ทั่วไปเครื่องแรกของโลก ชื่อว่า อินิแอค (Electronic Numerical
    Intergrator And Calculator : ENIAC)
    ในปี พ.ศ. 2488 จอห์น วอน นอยแมน (John Von Neumann)
    ได้เสนอแนวคิดในการสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีหน่วยความจา เพื่อใช้เก็บข้อมูลและ
    โปรแกรมการทางานหรือชุดคาสั่งคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์จะทางานโดยเรียกชุดคาสั่ง
    ที่เก็บไว้ในหน่วยความจามาทางาน หลักการนี้เป็นหลักการที่ใช้มาจนถึงปัจจุบัน
   คอมพิวเตอร์ยุคทรานซิสเตอร์ (พ.ศ.2500-2507)
    นักวิทยาศาสตร์ของห้องปฏิบัติการเบลแห่งสหรัฐอเมริกา ได้ประดิษฐ์
    ทรานซิสเตอร์สาเร็จ ซึ่งมีผลทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการสร้างคอมพิวเตอร์
    เพราะทรานซิสเตอร์มีขนาดเล็กใช้กระแสไฟฟ้าน้อย มีความคงทนและเชื่อถือได้
    สูง และราคาถูก ได้มีการผลิตคอมพิวเตอร์เรียกว่า เมนเฟรมคอมพิวเตอร์
    สาหรับประเทศไทยมีการนาเครืองคอมพิวเตอร์มาใช้ในยุคนี้ พ.ศ. 2507 โดยจุฬา
                                  ่
    ลงกรณมหาวิทยาลัยนาเข้ามาใช้ในการศึกษา ในระยะเวลาเดียวกันสานักงานสถิติ
    แห่งชาติก็นามาเพื่อใช้ในการคานวณสามะโนประชากร นับเป็นเครื่อง
    คอมพิวเตอร์รุ่นแรกที่ใช้ในประเทศไทย
   คอมพิวเตอร์ยุควงจรรวม (พ.ศ.2508-2512)
    ประมาณปี พ.ศ. 2508 ได้มีการพัฒนาสร้างทรานซิสเตอร์จานวนมากลงบนแผ่น
    ซิลิกอนขนาดเล็ก และเกิดวงจรรวมบนแผ่นซิลิกอนที่เรียกว่า ไอซี การใช้ไอซี
    เป็นส่วนประกอบทาให้คอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลง ราคาถูกลง จึงมีบริษัทผลิต
    คอมพิวเตอร์กันมากขึ้น คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กลง เรียกว่า "มินิคอมพิวเตอร์"
   คอมพิวเตอร์ยุควีแอลเอสไอ (พ.ศ.2513-2532)
    เทคโนโลยีทางด้านการผลิตวงจรอิเล็กทรอนิคส์ยังคงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง มีการ
    สร้างวงจรรวมที่มีขนาดใหญ่มารวมในแผ่นซิลิกอน เรียกว่า วีแอลเอสไอ (Very
    Large Scale Intergrated circuit : VLSI) เป็นวงจรรวมที่รวมเอาทรานซิสเตอร์
    จานวนล้านตัวมารวมอยู่ในแผ่นซิลิกอนขนาดเล็ก และผลิตเป็นหน่วยประมวลผล
    ของคอมพิวเตอร์ที่ซับซ้อน เรียกว่า ไมโครโปรเซสเซอร์ (microprocessor)
   คอมพิวเตอร์ยุคเครือข่าย (พ.ศ.2533-ปัจจุบัน)
    เมื่อไมโครคอมพิวเตอร์มีขดความสามารถสูงขึ้น ทางานได้เร็ว การแสดงผล การ
                               ี
    จัดการข้อมูล สามารถประมวลได้ครั้งละมาก ๆ จึงทาให้คอมพิวเตอร์สามารถ
    ทางานหลายงานพร้อมกัน (multitasking) ขณะเดียวกันก็มีการเชื่อมโยงเครือข่าย
    คอมพิวเตอร์ในองค์การโดยใช้เครือข่ายท้องถิ่นที่เรียกว่า Local Area Network :
    LAN เมื่อเชื่อมหลายๆ กลุ่มขององค์การเข้าด้วยกันเกิดเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์
    ขององค์การ เรียกว่า อินทราเน็ต และหากนาเครือข่ายขององค์การเชื่อมต่อเข้าสู่
    เครือข่ายสากลที่ต่อเชื่อมกันทั่วโลก เรียกว่า อินเตอร์เน็ต (internet)
   มนุษย์พยายามสร้างเครื่องมือเพื่อช่วยการคานวณมาตั้งแต่สมัยโบราณแล้ว จึงได้พยายาม
    พัฒนาเครื่องมือต่าง ๆ ให้สามารถใช้งานได้ง่ายเพิ่มขึ้นตามลาดับ ซึ่งพอที่จะลาดับ
    เครื่องมือที่ถูกประดิษฐ์ขนมามีดังนี้
                             ึ้
    ในระยะ 5,000 ปี ที่ผ่านมา มนุษย์เริ่มรู้จักการใช้นวมือและนิวเท้าของตนเพื่อช่วยใน
                                                          ิ้      ้
    การคานวณ และพัฒนาเป็นอุปกรณ์อื่น ๆ เช่น ลูกหิน ประมาณ 2,600 ปีก่อน
    คริสตกาล ชาวจีนได้ประดิษฐ์เครื่องมือเพื่อใช้ในการคานวณขึนมาชนิดหนึ่ง เรียกว่า
                                                              ้
    ลูกคิด (Abacus) ซึ่งถือได้ว่าเป็นอุปกรณ์ช่วยการคานวณที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและ
    ยังคงใช้งานมาจนถึงปัจจุบัน
   ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer)
        ไมโครคอมพิวเตอร์ คือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีหน่วยประมวลผลกลางเป็นไม
    โครโพรเซสเซอร์ ใช้งานง่าย ทางานในลักษณะส่วนบุคคลได้ สามารถแบ่งแยก
    ไมโครคอมพิวเตอร์ตามขนาดของเครื่องได้ดังนี้
•   คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (desktop computer)
•   แล็ปท็อปคอมพิวเตอร์ (laptop computer)
•   โน้ตบุ๊คคอมพิวเตอร์ (notebook computer)
•   ปาล์มท็อปคอมพิวเตอร์ (palmtop computer)
   สถานีงานวิศวกรรม (engineering workstation)
          สถานีงานวิศวกรรมมีจุดเด่นในเรืองกราฟิก การสร้างรูปภาพและ
                                        ่
    การทาภาพเคลื่อนไหว การเชื่อมโยงสถานีงานวิศวกรรมรวมกันเป็น
    เครือข่ายทาให้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลและใช้งานร่วมกันอย่างมี
    ประสิทธิภาพ สถานีงานวิศวกรรมส่วนใหญ่ใช้ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์
    ประสิทธิภาพของซีพียูของระบบอยู่ในช่วง 50-100 ล้านคาสั่งต่อวินาที
    (Million Instruction Per Second : MIPS) อย่างไรก็ตามหลักจากที่ใช้
    ซีพียูแบบริสก์ (Reduced Instruction Set Computer :RISC) ก็สามารถ
    เพิ่มขีดความสามารถเชิงคานวณของซีพียูสูงขึ้นได้อีก ทาให้สร้างสถานี
    งานวิศวกรรมให้มีขีดความสามารถเชิงคานวณได้มากกว่า 100 ล้านคาสั่ง
    ต่อวินาที
   มินิคอมพิวเตอร์ (minicomputer)
          มินิคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องที่สามารถใช้งานพร้อม ๆ กันได้หลายคน จึงมี
    เครื่องปลายทางต่อได้ มินิคอมพิวเตอร์เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีราคาสูงกว่าสถานีงาน
    วิศวกรรม นามาใช้สาหรับประมวลผลในงานสารสนเทศขององค์การขนาดกลาง
    จนถึงองค์การขนาดใหญ่ที่มีการวางระบบเป็นเครือข่ายเพื่อใช้งานร่วมกัน
    มินิคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณืที่สาคัญในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขององค์การที่
    เรียกว่าเครื่องให้บริการ (server) มีหน้าที่ให้บริการกับผู้ใช้บริการ (client) เช่น
    ให้บริการแฟ้มข้อมูล ให้บริการข้อมูล ให้บริการช่วยในการคานวณ และการ
    สื่อสาร
   เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (mainframe computer)
          เมนเฟรมคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่มีการพัฒนามา
    ตั้งแต่เริ่มแรก เหตุที่เรียกว่า เมนเฟรมคอมพิวเตอร์เพราะตัวเครืองประกอบด้วยตู้
                                                                  ่
    ขนาดใหญ่ที่ภายในตู้มีชิ้นส่วนและอุปกรณ์ต่าง ๆ อยู่เป็นจานวนมาก แต่อย่างไรก็
    ตามในปัจจุบันเมนเฟรมคอมพิวเตอร์มีขนาดลดลงมาก ข้อเด่นของการใช้
    เมนเฟรมอยู่ที่งานทีต้องการให้มีระบบศูนย์กลาง และกระจายการใช้งานไปเป็น
                         ่
    จานวนมาก
   ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (super computer)
          ซูเปอร์คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เหมาะกับงานคานวณที่ต้องมี
    การคานวณตัวเลขจานวนหลายล้านตัวภายในเวลาอันรวดเร็ว
   กลุ่มที่ 1 ได้แก่ กลุ่มที่ป้อนด้วยตัวอักษรนั่นคือ แป้นพิมพ์ หรือ keyboard ซึ่งจะ
    อ่านตัวอักษรและตัวเลขจากแป้นพิมพ์ตามที่ผู้พิมพ์กด เข้าไปเก็บไว้ใน Computer
    การป้อนข้อมูลเข้าแบบตัวอักษรอีกแบบหนึ่ง คือประเภทบัตรเจาะรู เครื่องอ่าน
    บัตรเจาะรูจะอ่านเป็นรหัส อักขระตามที่ผู้ใช้เจาะไว้ แต่ปัจจุบันบัตรเจาะรูไม่ได้
    ใช้กันแล้ว

   กลุ่มที่ 2 ได้แก่ กลุ่มที่ป้อนข้อมูลด้วยอุปกรณ์ชี้ตาแหน่ง การป้อนแบบนี้มลักษณะ
                                                                            ี
    เป็นการป้อนแบบ Graphic อุปกรณ์ที่เด่นชัดคือ Mouse ปากกาแสง Joystick
    Trackball
   กลุ่มที่ 3 เป็นการอ่านข้อมูลเป็นรูปภาพเข้ามาเก็บใน computer ได้แก่พวก
    Scanner , OCR หรือเครื่องอ่านตัวอักษรจากภาษาที่แสดงได้ (ปัจจุบัน OCR ใน
    ภาษาอังกฤษได้ผลเป็นทีน่าพอใจ แต่สาหรับภาษาไทย
                             ่
    ยังไม่ประสพผลสาเร็จ) เครื่องอ่านรหัสแถบ (Bar code)

    กลุ่มที่ 4 เป็นการป้อนข้อมูลด้วยเสียงได้แก่ระบบการจดจาเสียงพูด (Speech
    recognition) เป็นระบบทบทวนและตรวจสอบเสียงปัจจุบันยังไม่ได้ผลพอที่จะ
    นามาใช้งานอย่างจริงจัง เนื่องจากเสียงของคนแต่ละคนต่างกัน แม้แต่คนคน
    เดียวกันพูดสองครั้งยังไม่เหมือนกัน จึงยังนามาใช้เป็นมาตรฐานไม่ได้
   กลุ่มที่ 5 เป็นกลุ่มที่ป้อนข้อมูลด้วยตัวตรวจจับพิเศษ เช่น Switch,
    Sensor วัดด้าน อุณหภูมิ ความดัน แล้วเปลี่ยนเป็นสัญญาณอนาลอกเป็น ดิจิตอล
    การป้อนข้อมูลแบบอัตโนมัตเป็นระบบ ที่ใช้ในการควบคุมเครื่องจักร อุปกรณ์ต่างๆ
   การประมวลผลข้อมูลของคอมพิวเตอร์จะ
    ประกอบด้วยอุปกรณ์รับเข้า (input device) เพื่อรับ
    ข้อมูลและคาสั่งจากผู้ใช้ภายนอกเข้าไปเก็บอยู่ใน
    อุปกรณ์เก็บข้อมูลหรือหน่วยความจาหลัก (main
    memory) คาสั่งที่เก็บในส่วนความจาหลักจะถูก
    นาไปตีความ และสั่งทางานที่หน่วยประมวลผล
    กลาง ที่เรียกว่า ซีพียู ซึ่งเป็นหัวใจของการทางาน
    ในคอมพิวเตอร์ทาหน้าที่คานวณและเปรียบเทียบ
    ข้อมูลที่เก็บในหน่วยความจาหลัก ผลจากการ
    คานวณหรือประมวลผลจะนากลับไปเก็บยัง
    หน่วยความจาหลัก และพร้อมที่จะนาออกแสดงที่
    อุปกรณืส่งออก (output device) กลับไปสู่ผู้ใช้งาน
    คอมพิวเตอร์ต่อไป
เป็นอุปกรณ์รับเข้า ทาหน้าที่รับโปรแกรมและข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์รับเข้าที่ใช้กันเป็นส่วนใหญ่คือ แผงแป้นอักขระ (keyboard) และ
เมาส์ (mouse)
เป็นอุปกรณ์ส่งออก (output device) ทาหน้าที่แสดงผลจากการประมวลผล โดยนาผลที่
ได้ออกจากหน่วยความจาหลักแสดง ให้ผู้ใช้ได้เห็นทางอุปกรณ์ส่งออก อุปกรณ์ส่งออก
ที่นิยมใช้ส่วนใหญ่คือ จอภาพ และเครื่องพิมพ์
ฮาร์ดแวด์

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Noppakhun Suebloei
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โบ2
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โบ2หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โบ2
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โบ2
puangtong
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
Nattakan Wuttipisan
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ปาย1
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  ปาย1หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  ปาย1
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ปาย1
puangtong
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โรจ
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โรจหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โรจ
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โรจ
Pheeranan Thetkham
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โรจ
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โรจหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โรจ
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โรจ
Pheeranan Thetkham
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ บี
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  บีหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  บี
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ บี
Pheeranan Thetkham
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ บี
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  บีหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  บี
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ บี
Pheeranan Thetkham
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดา
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  ดาหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  ดา
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดา
Pheeranan Thetkham
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดุ่ย
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  ดุ่ยหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  ดุ่ย
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดุ่ย
Pheeranan Thetkham
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แอน
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  แอนหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  แอน
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แอน
Pheeranan Thetkham
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แอน
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  แอนหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  แอน
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แอน
Pheeranan Thetkham
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แอน
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  แอนหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  แอน
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แอน
Pheeranan Thetkham
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ เตย
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ เตยหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ เตย
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ เตย
puangtong
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Krusine soyo
 

Mais procurados (19)

บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
Work3 19
Work3 19Work3 19
Work3 19
 
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โบ2
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โบ2หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โบ2
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โบ2
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ปาย1
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  ปาย1หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  ปาย1
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ปาย1
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โรจ
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โรจหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โรจ
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โรจ
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โรจ
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โรจหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โรจ
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โรจ
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ บี
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  บีหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  บี
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ บี
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ บี
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  บีหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  บี
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ บี
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดา
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  ดาหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  ดา
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดา
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดุ่ย
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  ดุ่ยหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  ดุ่ย
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดุ่ย
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แอน
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  แอนหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  แอน
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แอน
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แอน
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  แอนหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  แอน
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แอน
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แอน
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  แอนหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  แอน
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แอน
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ เตย
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ เตยหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ เตย
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ เตย
 
คูมื่อ E book
คูมื่อ E bookคูมื่อ E book
คูมื่อ E book
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 

Semelhante a ฮาร์ดแวด์

ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1
Oat_zestful
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
runjaun
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
kachornchit_maprang
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
kachornchit_maprang
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
kachornchit_maprang
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
kwaythai
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
runjaun
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
Da Arsisa
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
okbeer
 
3.ระบบคอมพิวเตอร์
3.ระบบคอมพิวเตอร์3.ระบบคอมพิวเตอร์
3.ระบบคอมพิวเตอร์
PongPang
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
Sakonwan947
 

Semelhante a ฮาร์ดแวด์ (20)

Ch1 com tech
Ch1 com techCh1 com tech
Ch1 com tech
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 
ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
Computer2
Computer2Computer2
Computer2
 
1094876837 unit2
1094876837 unit21094876837 unit2
1094876837 unit2
 
1094876837 unit2
1094876837 unit21094876837 unit2
1094876837 unit2
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
3.ระบบคอมพิวเตอร์
3.ระบบคอมพิวเตอร์3.ระบบคอมพิวเตอร์
3.ระบบคอมพิวเตอร์
 
Computer system
Computer systemComputer system
Computer system
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 

Mais de sommat

คู่มือ+Mi..เพาเวอร์พอย[1]
คู่มือ+Mi..เพาเวอร์พอย[1]คู่มือ+Mi..เพาเวอร์พอย[1]
คู่มือ+Mi..เพาเวอร์พอย[1]
sommat
 
คู่มือ+Mi..เพาเวอร์พอย[1]
คู่มือ+Mi..เพาเวอร์พอย[1]คู่มือ+Mi..เพาเวอร์พอย[1]
คู่มือ+Mi..เพาเวอร์พอย[1]
sommat
 
คู่มือ+Mi..เพาเวอร์พอย[1]
คู่มือ+Mi..เพาเวอร์พอย[1]คู่มือ+Mi..เพาเวอร์พอย[1]
คู่มือ+Mi..เพาเวอร์พอย[1]
sommat
 
คู่มือการทำเวปไซต์เรื่อง ฮาร์แวร์
คู่มือการทำเวปไซต์เรื่อง  ฮาร์แวร์คู่มือการทำเวปไซต์เรื่อง  ฮาร์แวร์
คู่มือการทำเวปไซต์เรื่อง ฮาร์แวร์
sommat
 
คู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์ Dream
คู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์  Dreamคู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์  Dream
คู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์ Dream
sommat
 
ภาพที่ประทับใจ
ภาพที่ประทับใจภาพที่ประทับใจ
ภาพที่ประทับใจ
sommat
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์
sommat
 
แค่นิดนึงก็ชื่อนใจ
แค่นิดนึงก็ชื่อนใจแค่นิดนึงก็ชื่อนใจ
แค่นิดนึงก็ชื่อนใจ
sommat
 

Mais de sommat (9)

คู่มือ+Mi..เพาเวอร์พอย[1]
คู่มือ+Mi..เพาเวอร์พอย[1]คู่มือ+Mi..เพาเวอร์พอย[1]
คู่มือ+Mi..เพาเวอร์พอย[1]
 
คู่มือ+Mi..เพาเวอร์พอย[1]
คู่มือ+Mi..เพาเวอร์พอย[1]คู่มือ+Mi..เพาเวอร์พอย[1]
คู่มือ+Mi..เพาเวอร์พอย[1]
 
คู่มือ+Mi..เพาเวอร์พอย[1]
คู่มือ+Mi..เพาเวอร์พอย[1]คู่มือ+Mi..เพาเวอร์พอย[1]
คู่มือ+Mi..เพาเวอร์พอย[1]
 
คู่มือการทำเวปไซต์เรื่อง ฮาร์แวร์
คู่มือการทำเวปไซต์เรื่อง  ฮาร์แวร์คู่มือการทำเวปไซต์เรื่อง  ฮาร์แวร์
คู่มือการทำเวปไซต์เรื่อง ฮาร์แวร์
 
คู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์ Dream
คู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์  Dreamคู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์  Dream
คู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์ Dream
 
ภาพที่ประทับใจ
ภาพที่ประทับใจภาพที่ประทับใจ
ภาพที่ประทับใจ
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์
 
ภาพประทับใจ
ภาพประทับใจภาพประทับใจ
ภาพประทับใจ
 
แค่นิดนึงก็ชื่อนใจ
แค่นิดนึงก็ชื่อนใจแค่นิดนึงก็ชื่อนใจ
แค่นิดนึงก็ชื่อนใจ
 

ฮาร์ดแวด์

  • 1.
  • 2. หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครง ร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ (รูปธรรม) เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์ เป็นต้น ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ตามลักษณะการ ทางาน ได้ 4 หน่วย คือ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit:CPU) หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณ์แต่ละ หน่วยมีหน้าที่การทางานแตกต่างกัน
  • 3. คือหน่วยความจาชนิดหนึ่ง ที่มีโปรแกรม หรือข้อมูลอยู่แล้ว และพร้อมที่จะนามาต่อกับ ไมโครโปรเซสเซอร์ได้โดยตรง ซึ่งโปรแกรม หรือข้อมูลนั้นจะไม่สูญหายไป แม้ว่าจะไม่มีการจ่ายไฟเลี้ยงให้แก่ระบบ ข้อมูลที่เก็บอยู่ใน ROM จะสามารถอ่าน ออกมาได้ แต่ไม่สามารถเขียนข้อมูลเข้าไปได้ เว้นแต่จะใช้วิธีการพิเศษซึ่งขึ้นกับชนิดของ ROM
  • 4. เมื่อซีพียูมีความเร็วสูงขึ้นเรื่อย (ปัจจุบันเกิน 2 GHz ) การระบายความ ร้อนด้วยพัดลมธรรมดาเพียงอย่างเดียว ไม่ สามารถใช้ได้ จึงมีการ ออกแบบแผ่นระบายความร้อนประกอบพัดลมด้วยวัสดุระบายความร้อน อย่างดีเช่น ทองแดง และรูป ทรงที่แตกต่างกันออกไปเพื่อให้มี ประสิทธิภาพระบายความร้อนได้ดีที่สุด และได้พัฒนาสารที่นาความร้อน จากซีพียู ไปยัง แผ่นระบายความร้อนขึ้นมาใช้เรียกว่า Thermal grease หรือ Silicone grease สาหรับใช้ ทาบนด้าน หลังซีพียู เพื่อให้ความ ร้อนระบายออกจากตัวซีพียูได้ดีและเร็วขึ้น สารดังกล่าวเรียกว่า ซิลิโคน ขายในราคาตลับละ ประมาณ 20 บาท
  • 5. อุปกรณ์ชิ้นหนึ่งในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เรามักจะมองข้ามไปและเป็นอุปกรณ์ที่ สาคัญ เพราะถ้าขาดเจ้าตัวนี้แล้วเครื่องคอมพิวเตอร์ตัวเก่งของเราก็เปรียบเสมือนกล่อง เหล็กธรรมดาๆ ใช้การอะไรไม่ได้ อุปกรณ์ชิ้นนี้ก็คือ แหล่งจ่ายไฟ หรือที่เรามักจะเรียกกันว่า เพาเวอร์ซัพพลาย (Power Supply)นั่นเอง  เพาเวอร์ซัพพลายมีหน้าที่หลักก็คือ เปลี่ยนแรงดันกระแสสลับจากไฟบ้าน 220 โวลท์เอซี ให้เป็นแรงดันไฟตรงดีซีที่คอมพิวเตอร์ต้องใช้
  • 6. การ์ดจอ จะเป็นอุปกรณ์เสริม/หรือถูกติดตั้งมาแล้ว เพื่อช่วยในการแสดงผลทาง ภาพ หรือช่วยเร่งประสิทธิภาพในdkiแสดงผลทั้งด้าน 2D และ 3D การ์ดจอมี Interface 3 แบบคือ PCI, AGP และ PCI-Express
  • 7. การทางานของคอมพิวเตอร์ ใช้หลักการเก็บคาสั่งไว้ที่หน่วยความจา ซีพียูอ่านคาสั่งจาก หน่วยความจามาแปลความหมายและกระทาตามเรียงกันไปทีละคาสั่ง หน้าที่หลักของซีพียู คือควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์ทั้งระบบ ตลอดจนทาการประมวลผล  กลไกการทางานของซีพียู มีความสลับซับซ้อน ผู้พัฒนาซีพียูได้สร้างกลไกให้ทางานได้ดี ขึ้น โดยแบ่งการทางานเป็นส่วน ๆ มีการทางานแบบขนาน และทางานเหลื่อมกันเพื่อให้ ทางานได้เร็วขึ้น
  • 8. เมนบอร์ดเป็นอุปกรณ์ที่สาคัญรองมาจากซีพียู เมนบอร์ดทาหน้าที่ควบคุม ดูแลและ จัดการๆ ทางานของ อุปกรณ์ชนิดต่างๆ แทบทั้งหมดในเครื่องคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ซีพียู ไป จนถึงหน่วยความจาแคช หน่วยความจาหลัก ฮาร์ดดิกส์ ระบบบัส บนเมนบอร์ด ประกอบด้วยชิ้นส่วนต่างๆ มากมายแต่ส่วนสาคัญๆ
  • 9. คือหน่วยความจาที่มีการเข้าถึงได้ โดยไม่ต้องใส่ลาดับ (Sequential Access) ต้องการข้อมูล ที่ตาแหน่งใดก็ได้ โดยส่ง Address (ตัวเลขระบุตาแหน่ง) ให้กับ RAM Memory Chip ที่ใช้กันในเครื่องพีซีแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ใหญ่ๆ ได้แก่ 1.SRAM(Static RAM) 2.DRAM(Dynamic RAM)
  • 10. ลักษณะทั่วไป ระบบฮาร์ดดิสค์แตกต่างกับแผ่นดิสเกตต์ ซึ่งโดยทั่วไปแล้วจะมี จานวนหน้าสาหรับเก็บบันทึกข้อมูลมากกว่าสองหน้า นอกจากระบบ ฮาร์ดดิสค์จะเก็บบันทึกข้อมูลเหมือนแผ่นดิสเกตต์ยังเป็นส่วนที่ใช้ในการ อ่านหรือเขียนบันทึกข้อมูลเหมือนช่องดิสค์ไดรฟ์ แผ่นจานแม่เหล็กของฮาร์ดดิสค์ จะมีความหนาแน่นของการจุข้อมูล บนผิวหน้าได้สูงกว่าแผ่นดิสเกตต์มาก เช่น แผ่นดิสเกตต์มาตราฐานขนาด 5.25 นิ้ว ความจุ 360 กิโลไบต์ จะมีจานวนวงรอบบันทึกข้อมูลหรือ เรียกว่า แทร็ก(track) อยู่ 40 แทร็ก กรณีของฮาร์ดดิสค์ขนาดเดียวกันจะมี จานวนวงรอบสูงมากกว่า 1000 แทร็กขึ้นไป
  • 11. ซอฟต์แวร์รุ่นใหม่ที่พัฒนาในระยะหลัง ๆ นี้ สามารถติดต่อกับผู้ใช้โดยการใช้รูปกราฟิก แทนคาสั่ง มีการใช้งานเป็นช่วงหน้าต่าง และเลือกรายการหรือคาสั่งด้วยภาพ หรือสัญรูป (icon) อุปกรณ์รับเข้าที่นิยมใช้จึงเป็นอุปกรณ์ประเภทตัวชี้ที่เรียกว่า เมาส์เมาส์เป็น อุปกรณ์ที่ให้ความรู้สึกที่ดีต่อการใช้งาน ช่วยให้การใช้งานง่ายขึ้นด้วยการใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้ ไปยังตาแหน่งต่าง ๆ บนจอภาพ
  • 12. เป็นอุปกรณ์รับเข้าพื้นฐานที่ต้องมีในคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะรับข้อมูลจากการกดแป้น แล้วทาการเปลี่ยนเป็นรหัสเพื่อส่งต่อไปให้กับคอมพิวเตอร์ แป้นพิมพ์ที่ใช้ในการป้อน ข้อมูลจะมีจานวนตั้งแต่ 50 แป้นขึนไป แผงแป้นอักขระส่วนใหญ่มแป้นตัวเลขแยกไว้ ้ ี ต่างหาก เพื่อทาให้การป้อนข้อมูลตัวเลขทาได้ง่ายและสะดวกขึ้น
  • 13. เมื่อพิจารณาศัพท์คาว่า คอมพิวเตอร์ ถ้าแปลกันตรงตัวตามคา ภาษาอังกฤษ จะหมายถึงเครื่องคานวณ ดังนั้นถ้ากล่าวอย่างกว้าง ๆ เครื่อง คานวณที่มีส่วนประกอบเป็นเครืองกลไกหรือเครื่องไฟฟ้า ต่างก็จัดเป็น ่ คอมพิวเตอร์ได้ทั้งสิ้น ลูกคิดที่เคยใช้กันในร้านค้า ไม้บรรทัด คานวณ (slide rule) ซึ่งถือเป็นเครื่องมือประจาตัววิศวกรในยุคยี่สิบปีก่อน หรือ เครื่องคิดเลข ล้วนเป็นคอมพิวเตอร์ได้ทั้งหมด ปัจจุบันความหมายของคอมพิวเตอร์จะระบุเฉพาะเจาะจง หมายถึง เครื่องคานวณอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถทางานคานวณผลและเปรียบเทียบ ค่าตามชุดคาสั่งด้วยความเร็วสูงอย่างต่อเนื่องและอัตโนมัติ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ได้ให้คาจากัดความของคอมพิวเตอร์ ไว้ค่อนข้างกะทัดรัดว่า เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทาหน้าที่ เสมือนสมองกล ใช้สาหรับแก้ปัญหาต่าง ๆ ทั้งที่ง่ายและซับซ้อน โดยวิธี ทางคณิตศาสตร์
  • 14. อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2488 ถึง พ.ศ. 2501 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้หลอดสุญญากาศซึ่งใช้ กาลังไฟฟ้าสูง จึงมีปัญหาเรื่องความร้อนและไส้หลอดขาดบ่อย ถึงแม้จะมีระบบระบาย ความร้อนที่ดีมาก การสั่งงานใช้ภาษาเครื่องซึ่งเป็นรหัสตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน เครื่อง คอมพิวเตอร์ของยุคนี้มีขนาดใหญ่โต เช่น มาร์ค วัน (MARK I), อีนิแอค (ENIAC), ยู นิแวค (UNIVAC) คอมพิวเตอร์ยุคที่สอง อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2502 ถึง พ.ศ. 2506 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้ ทรานซิสเตอร์ โดยมีแกนเฟอร์ไรท์เป็นหน่วยความจา มีอุปกรณ์เก็บข้อมูลสารองใน รูปของสื่อบันทึกแม่เหล็ก ขึ้น โดยสามารถเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูงซึ่งเป็น ภาษาที่เขียนเป็นประโยคทีคนสามารถเข้าใจได้ เช่น ภาษาฟอร์แทน ภาษาโคบอล ่ เป็นต้น ภาษาระดับสูงนี้ได้มีการพัฒนาและใช้งานมาจนถึงปัจจุบน ั
  • 15. คอมพิวเตอร์ยุคที่สาม อยู่ระหว่างปี พ.ศ.. 2507 ถึง พ.ศ.2512 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ ใช้วงจรรวม (Integrated Circuit : IC) โดยวงจรรวมแต่ละตัวจะมีทรานซิสเตอร์ บรรจุอยู่ภายในมากมายทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์จะออกแบบซับซ้อนมากขึ้น คอมพิวเตอร์ยุคที่สี่ ตั้งแต่ปี พ.ศ..2513 จนถึงปัจจุบัน เป็นยุคของคอมพิวเตอร์ที่ใช้ รวมความจุสูงมาก(Very Large Scale Integration : VLSIวงจร) ระบบซอฟต์แวร์ ได้พัฒนาขีดความสามารถสูงขึ้นมาก มีโปรแกรมสาเร็จให้เลือกใช้กันมากทาให้ เกิดความสะดวกในการใช้งานอย่างกว้างขวาง
  • 16. คอมพิวเตอร์ยุคที่ห้า เป็นคอมพิวเตอร์ที่มนุษย์พยายามนามาเพื่อช่วยในการ ตัดสินใจและแก้ปญหาให้ดียิ่งขึ้น โดยจะมีการเก็บความรอบรู้ต่าง ๆ เข้าไว้ใน ั เครื่อง สามารถเรียกค้นและดึงความรู้ที่สะสมไว้มาใช้งานให้เป็นประโยชน์ คอมพิวเตอร์ยุคนี้เป็นผลจากวิชาการด้านปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) ประเทศต่างๆ ทั่วโลกไม่ว่าจะเป็นสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และประเทศใน ทวีปยุโรปกาลังสนใจค้นคว้าและพัฒนาทางด้านนี้กันอย่างจริงจัง
  • 17. คอมพิวเตอร์ยุคหลอดสุญญากาศ (พ.ศ. 2488-2501) ในปี พ.ศ. 2486 วิศวกรสองคน คือ จอห์น มอชลี (John Mouchly) และ เจ เพรสเปอร์ เอ็ดเคิร์ท (J.Presper Eckert) ได้พัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ และจัดได้ว่าเป็นเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่ใช้งาน ทั่วไปเครื่องแรกของโลก ชื่อว่า อินิแอค (Electronic Numerical Intergrator And Calculator : ENIAC) ในปี พ.ศ. 2488 จอห์น วอน นอยแมน (John Von Neumann) ได้เสนอแนวคิดในการสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีหน่วยความจา เพื่อใช้เก็บข้อมูลและ โปรแกรมการทางานหรือชุดคาสั่งคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์จะทางานโดยเรียกชุดคาสั่ง ที่เก็บไว้ในหน่วยความจามาทางาน หลักการนี้เป็นหลักการที่ใช้มาจนถึงปัจจุบัน
  • 18. คอมพิวเตอร์ยุคทรานซิสเตอร์ (พ.ศ.2500-2507) นักวิทยาศาสตร์ของห้องปฏิบัติการเบลแห่งสหรัฐอเมริกา ได้ประดิษฐ์ ทรานซิสเตอร์สาเร็จ ซึ่งมีผลทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการสร้างคอมพิวเตอร์ เพราะทรานซิสเตอร์มีขนาดเล็กใช้กระแสไฟฟ้าน้อย มีความคงทนและเชื่อถือได้ สูง และราคาถูก ได้มีการผลิตคอมพิวเตอร์เรียกว่า เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ สาหรับประเทศไทยมีการนาเครืองคอมพิวเตอร์มาใช้ในยุคนี้ พ.ศ. 2507 โดยจุฬา ่ ลงกรณมหาวิทยาลัยนาเข้ามาใช้ในการศึกษา ในระยะเวลาเดียวกันสานักงานสถิติ แห่งชาติก็นามาเพื่อใช้ในการคานวณสามะโนประชากร นับเป็นเครื่อง คอมพิวเตอร์รุ่นแรกที่ใช้ในประเทศไทย
  • 19. คอมพิวเตอร์ยุควงจรรวม (พ.ศ.2508-2512) ประมาณปี พ.ศ. 2508 ได้มีการพัฒนาสร้างทรานซิสเตอร์จานวนมากลงบนแผ่น ซิลิกอนขนาดเล็ก และเกิดวงจรรวมบนแผ่นซิลิกอนที่เรียกว่า ไอซี การใช้ไอซี เป็นส่วนประกอบทาให้คอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลง ราคาถูกลง จึงมีบริษัทผลิต คอมพิวเตอร์กันมากขึ้น คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กลง เรียกว่า "มินิคอมพิวเตอร์"  คอมพิวเตอร์ยุควีแอลเอสไอ (พ.ศ.2513-2532) เทคโนโลยีทางด้านการผลิตวงจรอิเล็กทรอนิคส์ยังคงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง มีการ สร้างวงจรรวมที่มีขนาดใหญ่มารวมในแผ่นซิลิกอน เรียกว่า วีแอลเอสไอ (Very Large Scale Intergrated circuit : VLSI) เป็นวงจรรวมที่รวมเอาทรานซิสเตอร์ จานวนล้านตัวมารวมอยู่ในแผ่นซิลิกอนขนาดเล็ก และผลิตเป็นหน่วยประมวลผล ของคอมพิวเตอร์ที่ซับซ้อน เรียกว่า ไมโครโปรเซสเซอร์ (microprocessor)
  • 20. คอมพิวเตอร์ยุคเครือข่าย (พ.ศ.2533-ปัจจุบัน) เมื่อไมโครคอมพิวเตอร์มีขดความสามารถสูงขึ้น ทางานได้เร็ว การแสดงผล การ ี จัดการข้อมูล สามารถประมวลได้ครั้งละมาก ๆ จึงทาให้คอมพิวเตอร์สามารถ ทางานหลายงานพร้อมกัน (multitasking) ขณะเดียวกันก็มีการเชื่อมโยงเครือข่าย คอมพิวเตอร์ในองค์การโดยใช้เครือข่ายท้องถิ่นที่เรียกว่า Local Area Network : LAN เมื่อเชื่อมหลายๆ กลุ่มขององค์การเข้าด้วยกันเกิดเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ขององค์การ เรียกว่า อินทราเน็ต และหากนาเครือข่ายขององค์การเชื่อมต่อเข้าสู่ เครือข่ายสากลที่ต่อเชื่อมกันทั่วโลก เรียกว่า อินเตอร์เน็ต (internet)
  • 21. มนุษย์พยายามสร้างเครื่องมือเพื่อช่วยการคานวณมาตั้งแต่สมัยโบราณแล้ว จึงได้พยายาม พัฒนาเครื่องมือต่าง ๆ ให้สามารถใช้งานได้ง่ายเพิ่มขึ้นตามลาดับ ซึ่งพอที่จะลาดับ เครื่องมือที่ถูกประดิษฐ์ขนมามีดังนี้ ึ้ ในระยะ 5,000 ปี ที่ผ่านมา มนุษย์เริ่มรู้จักการใช้นวมือและนิวเท้าของตนเพื่อช่วยใน ิ้ ้ การคานวณ และพัฒนาเป็นอุปกรณ์อื่น ๆ เช่น ลูกหิน ประมาณ 2,600 ปีก่อน คริสตกาล ชาวจีนได้ประดิษฐ์เครื่องมือเพื่อใช้ในการคานวณขึนมาชนิดหนึ่ง เรียกว่า ้ ลูกคิด (Abacus) ซึ่งถือได้ว่าเป็นอุปกรณ์ช่วยการคานวณที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและ ยังคงใช้งานมาจนถึงปัจจุบัน
  • 22. ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) ไมโครคอมพิวเตอร์ คือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีหน่วยประมวลผลกลางเป็นไม โครโพรเซสเซอร์ ใช้งานง่าย ทางานในลักษณะส่วนบุคคลได้ สามารถแบ่งแยก ไมโครคอมพิวเตอร์ตามขนาดของเครื่องได้ดังนี้ • คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (desktop computer) • แล็ปท็อปคอมพิวเตอร์ (laptop computer) • โน้ตบุ๊คคอมพิวเตอร์ (notebook computer) • ปาล์มท็อปคอมพิวเตอร์ (palmtop computer)
  • 23. สถานีงานวิศวกรรม (engineering workstation) สถานีงานวิศวกรรมมีจุดเด่นในเรืองกราฟิก การสร้างรูปภาพและ ่ การทาภาพเคลื่อนไหว การเชื่อมโยงสถานีงานวิศวกรรมรวมกันเป็น เครือข่ายทาให้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลและใช้งานร่วมกันอย่างมี ประสิทธิภาพ สถานีงานวิศวกรรมส่วนใหญ่ใช้ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ ประสิทธิภาพของซีพียูของระบบอยู่ในช่วง 50-100 ล้านคาสั่งต่อวินาที (Million Instruction Per Second : MIPS) อย่างไรก็ตามหลักจากที่ใช้ ซีพียูแบบริสก์ (Reduced Instruction Set Computer :RISC) ก็สามารถ เพิ่มขีดความสามารถเชิงคานวณของซีพียูสูงขึ้นได้อีก ทาให้สร้างสถานี งานวิศวกรรมให้มีขีดความสามารถเชิงคานวณได้มากกว่า 100 ล้านคาสั่ง ต่อวินาที
  • 24. มินิคอมพิวเตอร์ (minicomputer) มินิคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องที่สามารถใช้งานพร้อม ๆ กันได้หลายคน จึงมี เครื่องปลายทางต่อได้ มินิคอมพิวเตอร์เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีราคาสูงกว่าสถานีงาน วิศวกรรม นามาใช้สาหรับประมวลผลในงานสารสนเทศขององค์การขนาดกลาง จนถึงองค์การขนาดใหญ่ที่มีการวางระบบเป็นเครือข่ายเพื่อใช้งานร่วมกัน มินิคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณืที่สาคัญในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขององค์การที่ เรียกว่าเครื่องให้บริการ (server) มีหน้าที่ให้บริการกับผู้ใช้บริการ (client) เช่น ให้บริการแฟ้มข้อมูล ให้บริการข้อมูล ให้บริการช่วยในการคานวณ และการ สื่อสาร
  • 25. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (mainframe computer) เมนเฟรมคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่มีการพัฒนามา ตั้งแต่เริ่มแรก เหตุที่เรียกว่า เมนเฟรมคอมพิวเตอร์เพราะตัวเครืองประกอบด้วยตู้ ่ ขนาดใหญ่ที่ภายในตู้มีชิ้นส่วนและอุปกรณ์ต่าง ๆ อยู่เป็นจานวนมาก แต่อย่างไรก็ ตามในปัจจุบันเมนเฟรมคอมพิวเตอร์มีขนาดลดลงมาก ข้อเด่นของการใช้ เมนเฟรมอยู่ที่งานทีต้องการให้มีระบบศูนย์กลาง และกระจายการใช้งานไปเป็น ่ จานวนมาก  ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (super computer) ซูเปอร์คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เหมาะกับงานคานวณที่ต้องมี การคานวณตัวเลขจานวนหลายล้านตัวภายในเวลาอันรวดเร็ว
  • 26. กลุ่มที่ 1 ได้แก่ กลุ่มที่ป้อนด้วยตัวอักษรนั่นคือ แป้นพิมพ์ หรือ keyboard ซึ่งจะ อ่านตัวอักษรและตัวเลขจากแป้นพิมพ์ตามที่ผู้พิมพ์กด เข้าไปเก็บไว้ใน Computer การป้อนข้อมูลเข้าแบบตัวอักษรอีกแบบหนึ่ง คือประเภทบัตรเจาะรู เครื่องอ่าน บัตรเจาะรูจะอ่านเป็นรหัส อักขระตามที่ผู้ใช้เจาะไว้ แต่ปัจจุบันบัตรเจาะรูไม่ได้ ใช้กันแล้ว  กลุ่มที่ 2 ได้แก่ กลุ่มที่ป้อนข้อมูลด้วยอุปกรณ์ชี้ตาแหน่ง การป้อนแบบนี้มลักษณะ ี เป็นการป้อนแบบ Graphic อุปกรณ์ที่เด่นชัดคือ Mouse ปากกาแสง Joystick Trackball
  • 27. กลุ่มที่ 3 เป็นการอ่านข้อมูลเป็นรูปภาพเข้ามาเก็บใน computer ได้แก่พวก Scanner , OCR หรือเครื่องอ่านตัวอักษรจากภาษาที่แสดงได้ (ปัจจุบัน OCR ใน ภาษาอังกฤษได้ผลเป็นทีน่าพอใจ แต่สาหรับภาษาไทย ่ ยังไม่ประสพผลสาเร็จ) เครื่องอ่านรหัสแถบ (Bar code)  กลุ่มที่ 4 เป็นการป้อนข้อมูลด้วยเสียงได้แก่ระบบการจดจาเสียงพูด (Speech recognition) เป็นระบบทบทวนและตรวจสอบเสียงปัจจุบันยังไม่ได้ผลพอที่จะ นามาใช้งานอย่างจริงจัง เนื่องจากเสียงของคนแต่ละคนต่างกัน แม้แต่คนคน เดียวกันพูดสองครั้งยังไม่เหมือนกัน จึงยังนามาใช้เป็นมาตรฐานไม่ได้
  • 28. กลุ่มที่ 5 เป็นกลุ่มที่ป้อนข้อมูลด้วยตัวตรวจจับพิเศษ เช่น Switch, Sensor วัดด้าน อุณหภูมิ ความดัน แล้วเปลี่ยนเป็นสัญญาณอนาลอกเป็น ดิจิตอล การป้อนข้อมูลแบบอัตโนมัตเป็นระบบ ที่ใช้ในการควบคุมเครื่องจักร อุปกรณ์ต่างๆ
  • 29. การประมวลผลข้อมูลของคอมพิวเตอร์จะ ประกอบด้วยอุปกรณ์รับเข้า (input device) เพื่อรับ ข้อมูลและคาสั่งจากผู้ใช้ภายนอกเข้าไปเก็บอยู่ใน อุปกรณ์เก็บข้อมูลหรือหน่วยความจาหลัก (main memory) คาสั่งที่เก็บในส่วนความจาหลักจะถูก นาไปตีความ และสั่งทางานที่หน่วยประมวลผล กลาง ที่เรียกว่า ซีพียู ซึ่งเป็นหัวใจของการทางาน ในคอมพิวเตอร์ทาหน้าที่คานวณและเปรียบเทียบ ข้อมูลที่เก็บในหน่วยความจาหลัก ผลจากการ คานวณหรือประมวลผลจะนากลับไปเก็บยัง หน่วยความจาหลัก และพร้อมที่จะนาออกแสดงที่ อุปกรณืส่งออก (output device) กลับไปสู่ผู้ใช้งาน คอมพิวเตอร์ต่อไป
  • 31. เป็นอุปกรณ์ส่งออก (output device) ทาหน้าที่แสดงผลจากการประมวลผล โดยนาผลที่ ได้ออกจากหน่วยความจาหลักแสดง ให้ผู้ใช้ได้เห็นทางอุปกรณ์ส่งออก อุปกรณ์ส่งออก ที่นิยมใช้ส่วนใหญ่คือ จอภาพ และเครื่องพิมพ์