SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 32
Baixar para ler offline
เศรษฐกิจในสมัยสุ โขทัย อยุธยา และธนบุรี
                     สมาชิกกลุ่ม
   นางสาวขวัญฤทัย ใจคา                    เลขที่ ๑๖
   นางสาวณัฐธยาน์ โครงกาบ เลขที่ ๑๙
   นางสาวธัญวลัย         กองอาริ นทร์ เลขที่ ๒๒
   นางสาวปานชีวา         เทพา            เลขที่ ๒๕
   นางสาวอริ สรา         ลวดเงิน         เลขที่ ๒๘
                 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๖/๓
จากหลักฐานศิลาจารึกหลักที่ 1 ทาให้ เราทราบว่ า เศรษฐกิจในสมัยสุ โขทัย
มีความเจริญรุ่งเรือง ประชาชนมีความกินดีอยู่ดี บ้ านเมืองมีความอุดมสมบูรณ์
ปัจจัยสาคัญทีช่วยส่ งเสริมให้ สุโขทัยสามารถพัฒนาเศรษฐกิจให้ เจริญก้ าวหน้ า
             ่


     1. ภูมประเทศ สุโขทัยตั้งอยูบริ เวณที่ราบลุ่มแม่น้ า ที่ราบเชิงเขาซึ่ง
           ิ                    ่
  เป็ นแหล่งเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ และจับสัตว์น้ า
2. ทรัพยากรธรรมชาติ สุโขทัยมีพืชพรรณธรรมชาติต่าง ๆ
อย่างอุดมสมบูรณ์ เช่น ป่ าไม้ สัตว์ป่า และแร่ ธาตุต่าง ๆ
3. ความสามารถของผู้นา กษัตริ ยซ่ ึงเป็ นผูปกครองกรุ ง
                              ์           ้
สุ โขทัยทรงมีพระปรี ชาสามารถในการคิดริ เริ่ มและดัดแปลง
สิ่ งแวดล้อมที่เอื้ออานวยต่อการดารงชีวตของราษฎร เช่น สร้าง
                                             ิ
ทานบกั้นน้ าไว้เพื่อเก็บกักน้ าที่เรี ยกว่า “ ทานบพระร่ วง ” ส่ งน้ าไป
ตามคูคลองสู่คูเมือง เพื่อระยายน้ าสู่ พ้ืนที่เกษตรกรรม จึงทาให้
ประชาชนมีน้ าใช้สอยอย่างเพียงพอ
ทานบพระร่ วง
่ ั
      พื้นฐานทางด้านเศรษฐกิจของสุ โขทัยขึ้นอยูกบอาชีพหลักของประชาชน 3
 อาชีพ ได้แก่ เกษตรกรรม หัตถกรรม และค้าขาย
1. เกษตรกรรม
       สังคมสุ โขทัยเป็ นสังคมเกษตรกรรม อาชีพหลักของประชาชนคือ การ
 เพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ การเพาะปลูกจะมีท้ งการทานา ทาไร่ และทาสวน พืช
                                                ั
 ที่ปลูกกันมาก เช่น ข้าว มะม่วง หมากพลู เป็ นต้น บริ เวณที่ใช้เป็ นพื้นที่
 เพาะปลูก ได้แก่ ที่ราบลุ่มแม่น้ าปิ ง แม่น้ ายม และแม่น้ าน่าน
       เนื่องจากสภาพทางธรรมชาติของบริ เวณที่ราบลุ่มแม่น้ าดังกล่าวนี้ไม่
 เอื้ออานวยต่อการเพาะปลูก เพราะมีน้ าน้อยในหน้าแล้ง และเมื่อถึงฤดูน้ าจะมี
 น้ าปริ มาณมากไหลบ่ามาท่วมขังเป็ นเวลานาน ทาให้ผลผลิตทางการเกษตรไม่
 อุดมสมบูรณ์ ดังนั้นสุ โขทัยจึงรู ้จกการสร้างที่เก็บกักน้ า แล้วต่อท่อน้ าจากคู
                                     ั
 เมืองไปสู่ สระต่าง ๆ เพื่อระบายน้ าไปสู่ พ้ืนที่เกษตรกรรม ทาให้สามารถผลิต
 ผลผลิตได้อุดมสมบูรณ์
2. หัตถกรรม
        หัตถกรรมที่สาคัญของสุ โขทัยส่ วนใหญ่เป็ นการผลิต เครื่ องสังค
  โลก หรื อเครื่ องปั้นดินเผา เครื่ องสังคโลกของสุ โขทัยที่ผลิตได้คือ จาน
  ชาม และถ้วยต่างๆ นอกจากนั้นยังนิยมผลิตเครื่ องสังคโลกในรู ปแบบ
  ต่างๆตามความต้องการของผูซ้ื อ เช่น แจกัน เหยือก โถน้ า โอ่ง ไห
                                  ้
  เป็ นต้น
        จากหลักฐานการขุดพบซากเตาเผาเครื่ องสังคโลกหรื อเตาทุเรี ยง
                                          ่
  เป็ นจานวนมากทาให้สนนิษฐานได้วา แหล่งที่ผลิตเครื่ องสังคโลกที่
                           ั
  สาคัญมีอยู่ 2 แห่งคือ กรุ งสุ โขทัยและเมืองศรี สชนาลัย
                                                  ั
        และจากการพบซากเตาเผาเครื่ องสังคโลกขนาดใหญ่เป็ นจานวน
                             ่
  มาก ทาให้สนนิษฐานได้วาเครื่ องสังคโลกของสุ โขทัยน่าจะเป็ นสิ นค้า
               ั
  ที่ได้รับความนิยมจากดินแดนต่าง ๆ ในสมัยนั้น
เตาทุเรียง




เครื่องสั งคโลก
3. การค้ าขาย
       การค้าขายในสมัยสุ โขทัยเป็ นการค้าแบบเสรี ทุกคนมีอิสระใน
                                                      ่
  การค้าขาย รัฐไม่จากัดชนิดสิ นค้าและไม่เก็บภาษีผานด่านที่เรี ยกว่า
  “จังกอบ” ผูใดอยากค้าขายอะไรก็ไม่มีการห้าม มีการค้าสัตว์ชนิด
                   ้
  ต่างๆ เช่น ช้าง ม้า วัว ควาย เป็ นต้น ตลอดจนการค้าขายแร่ เงินและแร่
  ทอง นอกจากจะมีการค้าขายภายในราชอาณาจักรแล้ว ยังมีการค้าขาย
                                                   ่
  และแลกเปลี่ยนสิ นค้ากับอาณาจักรต่าง ๆ ที่อยูภายนอกอาณาจักรสุ โขทัย
  อีกด้วย เช่น เมืองหงสาวดี ตะนาวศรี ล้านนา กัมพูชา มะละกา ชวา และ
  จีน เป็ นต้น สิ นค้าออกที่สาคัญ ได้แก่ เครื่ องสังคโลก พริ กไทย น้ าตาล
  งาช้าง เป็ นต้น สิ นค้าส่ วนใหญ่เป็ นพวกผ้าไหม ผ้าทอ อัญมณี เป็ นต้น
ผ้ าไหม ผ้ าทอ




เงินพดด้ วง
ความอุดมสมบูรณ์ของบริ เวณที่ราบลุ่มแม่น้ าเจ้าพระยาตอนล่าง การมีแหล่ง
น้ าจานวนมาก ดินมีความอุดมสมบูรณ์เพราะเกิดจากการทับถมของดินตะกอน
แม่น้ า ซึ่ งเหมาะสาหรับการทานา ทาให้อาณาจักรอยุธยาเป็ นแหล่งเพาะปลูกที่
                                                                         ่
สาคัญ นอกจากนี้การมีทาเลที่ต้ งที่เหมาะสมกับการค้าขายกับเมืองต่างๆ ที่อยูภายใน
                              ั
ตามเส้นทางแม่น้ า และการค้าขายกับภายนอกทางเรื อสาเภา ทาให้เศรษฐกิจอยุธยามี
                  ่
พื้นฐานสาคัญอยูที่การเกษตรและการค้ากับต่างประเทศ ต่อมาได้พฒนาเป็ น
                                                              ั
ศูนย์กลางทางการค้าในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
1. เศรษฐกิจในสมัยอยุธยาเป็ นเศรษฐกิจแบบยังชีพทีขนอยู่กบ
                                               ่ ึ้   ั
เกษตรกรรมเช่ นเดียวกับสุ โขทัย
        พื้นฐานทางเศรษฐกิจของอยุธยาคือการเกษตร มีวตถุประสงค์ในการผลิตเพื่อ
                                                         ั
  บริ โภคภายในอาณาจักรตามลักษณะเศรษฐกิจแบบพอยังชีพ แต่อาณาจักรอยุธยา
  ได้เปรี ยบกว่าอาณาจักรสุ โขทัยในด้านภูมิศาสตร์ เพราะอาณาจักรอยุธยาตั้งอยูใน     ่
  บริ เวณที่ราบลุ่มแม่น้ าอันกว้างใหญ่ แม่น้ าสาคัญคือ แม่น้ าเจ้าพระยา แม่น้ าป่ า
  สัก แม่น้ าลพบุรี ซึ่ งมีน้ าตลอดปี สาหรับการเพาะปลูกพืชที่สาคัญคือ ข้าว รองลงมา
  ได้แก่ พริ กไทย หมาก มะพร้าว อ้อย ฝ้ าย ไม้ผลและพืชไร่ อื่นๆ
ลักษณะการผลิตยังใช้แรงงานคนและแรงงานสัตว์เป็ นหลัก ด้วยเหตุ
ดังกล่าว อาณาจักรอยุธยาจึงได้ทาสงครามกับรัฐใกล้เคียงเพื่อครอบครอง
แหล่งทรัพยากรและกวาดต้อนผูคนเพื่อนามาเป็ นแรงงานสาคัญของบ้านเมือง
                             ้
ราชอาณาจักรอยุธยาได้ทานุบารุ งการเกษตรด้วยการจัดพระราชพิธี
ต่างๆ เพื่อให้เป็ นสิ ริมงคลและบารุ งขวัญชาวนาให้มีกาลังใจ เช่น พระ
ราชพิธีพิรุณศาสตร์ เป็ น พิธีขอฝนให้ตกต้องตามฤดูกาล พระราชพิธีพืช
                                      ั
มงคล เป็ นพิธีการสร้างสิ ริมงคลให้กบชาวนาและแจกพันธุ์ขาว เป็ น พระ
                                                          ้
ราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ เป็ น พิธีลงมือจรดคันไถเป็ นครั้งแรก
เพื่อเป็ นการเตือนว่าถึงเวลาทานาแล้ว
      อาณาจักรอยุธยาไม่ได้สร้างระบบการชลประทานเพื่อส่ งเสริ ม
การเกษตร เนื่องจากมีแหล่งน้ าเพียงพอ ส่ วนการขุดคลองทาขึ้นเพื่อเป็ น
เส้นทางการคมนาคม เพื่อประโยชน์ทางยุทธศาสตร์ และการระบายน้ า
ตอนหน้าน้ าเท่านั้น
่
      แม้วาอาณาจักรอยุธยา การเพาะปลูกยังเป็ นแบบดั้งเดิมต้องพึ่งพา
แรงงานคนและธรรมชาติเป็ นหลัก แต่สภาพภูมิศาสตร์ที่อุดมสมบูรณ์ ทา
ให้ผลผลิตทางการเกษตรมีเหลือเป็ นจานวนมาก ผลผลิตทางการเกษตร
เป็ นสิ นค้าที่นาไปขายให้ชาวต่างประเทศ นารายได้มาสู่อาณาจักร ดัง
ปรากฏหลักฐานว่าอยุธยาเคยขายหมากให้จีน อินเดีย และโปรตุเกส ฝ้ าย
และมะพร้าวให้ญี่ปุ่นและมะละกา ในสมัยอยุธยาตอนปลายได้ขายข้าว
ให้ฮอลันดา ฝรั่งเศส มลายู มะละกา ชวา ปัตตาเวีย ลังกา จีน ญี่ปุ่น
      “การเกษตรจึงเป็ นรากฐานสาคัญทางเศรษฐกิจของอยุธยาและมีส่วน
ในการเสริ มสร้างราชอาณาจักรอยุธยาให้เจริ ญรุ่ งเรื องมาตลอดเวลา 417
ปี ”
2. อาณาจักรอยุธยาเป็ นศูนย์ กลางทางการค้ าในภูมภาคเอเชีย
                                               ิ
ตะวันออกเฉียงใต้
       เนื่องจากทาเลที่ต้ งของอาณาจักรอยุธยาเอื้ออานวยต่อการค้า กล่าวคือ
                          ั
                             ่
“ ศูนย์กลางอาณาจักรตั้งอยูในทาเลที่เหมาะสมกับการค้า ทั้งภายในและ
   ภายนอกราชอาณาจักร กล่าวคือ กรุ งศรี อยุธยามีแม่น้ าล้อมรอบทั้ง 3
   ด้าน คือ แม่น้ าลพบุรี แม่น้ าป่ าสัก และแม่น้ าเจ้าพระยา ทาให้อยุธยาใช้
                                           ่
   เส้นทางทางน้ าติดต่อกับแว่นแคว้นที่อยูภายในได้สะดวก เช่น
   สุ โขทัย ล้านนา ล้านช้าง
นอกจากนี้ที่ต้งของราชธานีท่ีอยูไม่ห่างไกลปากน้ าหรื อ
                    ั                   ่
ทะเล ทาให้อยุธยาติดต่อค้าขายทางเรื อกับต่างประเทศที่อยู่
ห่างไกลได้สะดวก และเมื่ออาณาจักรมีความเข้มแข็ง สามารถ
ควบคุมการค้ารอบชายฝั่งทะเลอันดามัน และโดยรอบอ่าวไทย ซึ่ง
              ่
เป็ นแหล่งที่พอค้าต่างชาติเดินทางมาค้าขายได้ ทาให้อยุธยา
สามารถทาหน้าที่เป็ นพ่อค้าคนกลางในการติดต่อค้าขายระหว่าง
จีน ญี่ปุ่นกับพ่อค้าต่างชาติอื่น ๆ กรุ งศรี อยุธยาจึงเป็ นศูนย์กลางที่
สาคัญแห่งหนึ่งในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ”
บทบาทสาคัญของอยุธยาทางการค้ามี 2 ประการ คือ เป็ นแหล่งรวมสิ นค้า
ประเภทของป่ าที่ต่างชาติตองการและเป็ นศูนย์กลางการค้าส่ งผ่าน คือ กระจายสิ นค้า
                          ้
จากจีนและอินเดียสู่ ดินแดนตอนในของภูมิภาค เช่น ล้านนา ล้านช้าง และส่ งสิ นค้า
จีนไปยังดินแดนต่างๆ ในมหาสมุทรอินเดีย และรวบรวมสิ นค้าจากดินแดนตอนใน
และจากดินแดนต่างๆ ในอินเดียไปขายต่อให้จีน
       สิ นค้าประเภทของป่ า ได้แก่ สัตว์ป่าและผลผลิตจากสัตว์ป่า ไม้ เช่น ไม้
ฝาง ไม้กฤษณา ไม้จนทร์หอม และพืชสมุนไพร เช่น ลูกกระวาน ผล
                      ั
เร่ ว กายาน การบูร เป็ นต้น
สิ นค้าเหล่านี้ได้จากดินแดนภายในอาณาจักรอยุธยา และดินแดน
ใกล้เคียง ผ่านทางระบบมูลนาย โดยแรงงานไพร่ จะเป็ นผูหาแล้วส่ งมา
                                                        ้
เป็ น ส่ วย แทนแรงงานที่จะต้องมาทางานให้รัฐ บางส่ วนได้มาด้วยการ
ซื้อหาแลกเปลี่ยนกับราษฎรและอาณาจักรเพื่อนบ้าน แต่ส่วนใหญ่มา
จากการเกณฑ์ส่วยจากหัวเมืองภายในอาณาจักร โดยเฉพาะในรัชสมัย
พระบรมไตรโลกนาถที่ปฏิรูปการปกครองหัวเมือง ทาให้การเกณฑ์
ส่ วยรัดกุมมากกว่าเดิม และส่ วนหนึ่งมาจากเมืองประเทศราชของ
อยุธยา นอกจากของป่ าแล้ว สิ นค้าออกยัง
ได้แก่ พริ กไทย ดีบุก ตะกัว ผ้าฝ้ าย และข้าว ส่ วนสิ นค้าเข้าได้แก่ ผ้า
                           ่
แพร ผ้าลายทอง เครื่ องกระเบื้อง ดาบ หอก เกราะ ฯลฯ
การค้ากับต่างประเทศในสมัยอยุธยาส่ วนใหญ่เป็ นการส่ งเรื อสาเภาไปค้าขายกับ
ดินแดนต่างๆ ที่สาคัญคือการค้ากับจีนภายใต้การค้าในระบบบรรณาการ ที่จีนถือว่า
ไทยเป็ นเมืองขึ้นของจีน แต่อยุธยาเห็นว่าเป็ นประโยชน์ทางการค้า เพราะทุกครั้งที่
เรื อของอยุธยาเดินทางไปค้าขายกับจีนจะนา ของขวัญ ซึ่ งส่ วนใหญ่เป็ นสิ นค้าจาก
ป่ า เช่น นกยูง งาช้าง สัตว์แปลกๆ กฤษณา กายาน เป็ นต้น เป็ นเครื่ องราช
บรรณาการไปถวายให้จกรพรรรดิจีน ซึ่ งจีนจะมอบของตอบแทน เช่น ผ้า
                       ั
ไหม เครื่ องลายคราม ซึ่ งเป็ นสิ นค้าราคาแพงเป็ นการตอบแทน เรื อสิ นค้าที่นาสิ นค้า
ไปค้าขายก็จะถูกละเว้นภาษีและได้รับการอนุญาตให้คาขายกับหัวเมืองต่างๆ ของจีน
                                                     ้
ได้
       นอกจากนี้อยุธยายังค้าขายกับหัวเมืองมลายู ชวา อินเดีย ฟิ ลิปปิ นส์ เปอร์ เซี ย และ
ลังกา การค้าส่ วนใหญ่จะดาเนิ นการโดยพระมหากษัตริ ย ์ เจ้านาย และขุนนาง มี
การค้าเอกชนบ้างโดยพวกพ่อค้าชาวจีนดาเนินการ ลักษณะการค้ากับต่างประเทศใน
สมัยอยุธยาตอนต้นยังเป็ นการค้าแบบเสรี พ่อค้าต่างชาติยงสามารถค้าขายกับราษฎร
                                                       ั
                                                 ็ ั
ได้โดยตรงไม่ตองผ่านหน่วยงานของรัฐบาล แต่กมีลกษณะการผูกขาดโดยทางอ้อม
                ้
ในระบบมูลนาย
หลังรัชสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 (พ.ศ. 2034-2072) การค้ากับต่างประเทศ
ได้ขยายตัวเพิ่มขึ้น เพราะอยุธยาเริ่ มมีการติดต่อค้าขายกับชาติตะวันตก เริ่ มตั้งแต่ชาติ
โปรตุเกสใน พ.ศ. 2054 ต่อมาใน พ.ศ. 2059 อยุธยาได้ทาสัญญาทางพระราชไมตรี
ทางการค้ากับโปรตุเกส เป็ นฉบับแรกที่อยุธยาทากับประเทศตะวันตก จากนั้นก็มีชาติ
ฮอลันดา (พ.ศ. 2142) สเปน (พ.ศ. 2141) อังกฤษ ในรู ปบริ ษทอินเดีย
                                                             ั
ตะวันออก บริ ษทการค้าของฮอลันดา เรี ยกว่า V.O.C. ส่ วนบริ ษทการค้าของอังกฤษ
                  ั                                             ั
เรี ยกว่า E.J.C. และฝรั่งเศสในสมัยพระนารายณ์มหาราช (พ.ศ. 2199-2231)
การค้ากับต่างประเทศเจริ ญรุ่ งเรื องมากที่สุดในสมัยสมเด็จพระมหา
จักรพรรดิ (พ.ศ. 2091-2111) มีการตรากฎหมายหลายฉบับเกี่ยวกับการค้า
และจัดระบบผูกขาดทางการค้าให้เป็ นระเบียบยิงขึ้น คือ มีการกาหนด
                                                 ่
สิ นค้าต้องห้าม ซึ่งเป็ นสิ นค้าที่รัฐบาลโดยพระคลังสิ นค้าเท่านั้นที่จะผูกขาด
ซื้อขาย สิ นค้าขาเข้า ได้แก่ ปื นไฟ กระสุ นดินดา และกามะถัน ส่ วน
สิ นค้าขาออก ได้แก่ นอระมาด งาช้าง ไม้กฤษณา ไม้จนทร์ ไม้  ั
หอม และไม้ฝาง ซึ่งต่อมาการค้าผูกขาดของรัฐ ได้เข้มข้นมากขึ้น สิ นค้า
บางประเภท เช่น ถ้วยชาม ผ้าแดง ซึ่งเป็ นสิ นค้าในชีวิตประจาวันก็เป็ น
สิ นค้าผูกขาดด้วยและมีการจัดตั้ง "พระคลังสิ นค้า" ให้รับผิดชอบดูแล
การค้าผูกขาดของรัฐบาล พระคลังสิ นค้าจึงเป็ นหน่วยงานสาคัญในระบบ
เศรษฐกิจไทยในสมัยอยุธยาสื บต่อมาจนถึงสมัยรัชกาลที่ 4 แห่งกรุ ง
รัตนโกสิ นทร์
ในปลายสมัยอยุธยา "ข้าว" ได้กลายเป็ นสิ นค้าออกที่สาคัญแทนที่สินค้าจาก
                                                                    ่
ป่ า เนื่องจากเกิดทุพภิกขภัยอย่างรุ นแรงในประเทศจีน ชาวจีนจึงขอให้พอค้าอยุธยานา
ข้าวไปขายให้จีนโดยลดภาษีให้ นอกจากนี้อยุธยายังขายข้าวให้ฮอลันดา ฝรั่งเศส หัว
เมืองมลายู มะละกา ชวา ปัตตาเวีย ญวน เขมร มะละกา ลังกา และญี่ปุ่น
การค้ากับต่างประเทศจึงเป็ นพื้นฐานสาคัญของเศรษฐกิจอยุธยา ซึ่ งนาความมังคังให้กลุ่ม
                                                                          ่ ่
ผูปกครอง ได้แก่ พระมหากษัตริ ย ์ เจ้านาย และขุนนางอย่างมหาศาล
   ้
3. รายได้ของอยุธยา

1) รายได้ ในระบบมูลนาย แรงงานจากไพร่ ถือเป็ นปั จจัยทางเศรษฐกิจที่สาคัญ รัฐบาล
   ได้เกณฑ์ แรงงานจากไพร่ ในระบบเข้าเดือนออกเดือน หรื อปี ละ 6 เดือน มา
   ทางานให้รัฐ เช่น การสร้างกาแพงเมือง ขุดคลอง สร้างวัด สร้างถนน เป็ น
   ต้น ไพร่ ที่ไม่ตองการทางานให้รัฐก็สามารถจ่ายสิ่ งของที่รัฐต้องการ เช่น มูล
                   ้
   ค้างคาว สิ นค้าป่ า เรี ยกว่า "ส่ วย" แทนการเกณฑ์แรงงานได้ ส่ วยเหล่านี้รัฐจะ
   นาไปเป็ นสิ นค้าขายยังต่างประเทศต่อไป
2) รายได้ จากภาษีอากร ภาษีอากรในสมัยอยุธยา มีดงนี้
                                              ั
- ส่ วย คือ สิ่ งของหรื อเงินที่ไพร่ หลวงจ่ายให้รัฐทดแทนการถูกเกณฑ์มาทางาน โดยรัฐ
จะเป็ นผูกาหนดว่าท้องถิ่นใดจะส่ งส่ วยประเภทใด เช่น ส่ วยดีบุก ส่ วยรังนก ส่ วยไม้
         ้
ฝาง ส่ วยนอแรด ส่ วยมูลค้างคาว เป็ นต้น
 - อากร คือ เงินที่เก็บจากผลประโยชน์ที่ราษฎรประกอบอาชีพได้ เช่น การทานา จะ
เสี ยอากรค่านา เรี ยกว่า "หางข้าว" ให้แก่รัฐ เพื่อรัฐจะได้เก็บไว้เป็ นเสบียงอาหารสาหรับ
กองทัพ ผูที่ทาสวนเสี ยอากรค่าสวนซึ่ งคิดตามประเภทและจานวนต้นไม้แต่ละ
           ้
ชนิด นอกจากนี้ ยงรวมถึงการได้รับสิ ทธิ จากรัฐบาลในการประกอบอาชีพ เช่น การ
                    ั
อนุญาตให้ขดแร่ การอนุญาตให้เก็บของป่ า การอนุญาตให้จบปลาในน้ า การอนุญาตให้
             ุ                                                ั
ต้มกลันสุ รา เป็ นต้น
       ่
- จังกอบ คือ ค่าผ่านด่านขนอนทั้งทางบกและทางน้ า โดยเรี ยกเก็บตามยานพาหนะที่
บรรทุกสิ นค้า เช่น เรื อสิ นค้าจะเก็บตามความกว้างของปากเรื อตามอัตราที่กาหนด จึง
เรี ยกว่า ภาษีปากเรื อ ส่ วนพ่อค้าแม่คาในท้องถิ่นมักเก็บในอัตราสิ บชักหนึ่ ง
                                      ้
 - ฤชา คือ เงินที่รัฐเรี ยกเก็บจากการให้บริ การจากราษฎร เช่น การออกโฉนด หรื อเงิน
ปรับไหมที่ผแพ้คดีตองจ่ายให้ผชนะ เงินค่าธรรมเนียมนี้ เรี ยกอีกชื่อหนึ่ งว่า "เงินพินย
             ู้       ้          ู้                                                ั
หลวง"

3) รายได้ จากต่ างประเทศ ได้แก่ ผลกาไรจากการค้าเรื อสาเภา ภาษีสินค้าขาเข้าและ
   สิ นค้าขาออก สิ่ งของที่ได้รับพระราชทานจากจักรพรรดิจีน บรรณาการจากต่างชาติที่
   เข้ามาติดต่อค้าขายกับอยุธยา
หลังจากกรุ งศรี อยุธยาล้มสลายอันเนื่องมาจากปัญหาภายในและภัย
                                               ่
จากพม่า ได้สร้างความเสี ยหายไปเสี ยทุกอย่างไม่วาจะเป็ นไร่ นา แรงงานถูก
กวาดต้อนไปเป็ นเชลย อาคาร วัด วังพังพินาศถูเผาวอดวายจนไม่อาจฟื้ นฟู
ทรัพย์สินต่างๆ ถูกปล้นสะดม ขาดแคล้นอาหาร เศรษฐกิจตกต่ารุ นแรง
เมื่อย้ายเมืองหลวงใหม่เป็ นกรุ งธนบุรีศรี มหาสมุทร พระเจ้าตากสิ น
                ทรงแก้ไขปั ญหาทางเศรษฐกิจดังนี้

1. การดาเนินการคลัง ทรงพยายามใช้จ่ายอย่างประหยัด เช่น ไม่สร้างการสร้าง
พระราชวังให้ใหญ่โต สร้างวัดให้สวยงามตามธรรมเนียมที่มีมา สร้างก็แต่พระราชวัง
ขนาดเล็กเท่านั้น ทาให้ประหยัดค่าใช้จ่าย ทาให้การคลังกลับมามันในเวลารวดเร็ ว
                                                               ่
2. ให้เก็บเงินเข้าพระคลังอย่างเข้มงวด ให้ต้งขุนนางผูใหญ่ให้ออกไป
                                                   ั         ้
ควบคุมและเร่ งรัดการเก็บส่ วยอาการตามหัวเมืองให้เต็มเม็ดเต็มหน่วย ไม่ให้มีการติด
ค้างหลาย ๆ ปี อย่างสมัยอยุธยาตอนปลาย
3. เก็บอากรชนิดใหม่ การเก็บค่าธรรมเนียมขุดทรัพย์ซ่ึ งไม่มีเจ้าของ เหตุที่มีการขุด
        ั
ทรัพย์กนมากเพราะเมือครั้งก่อนเสี ยกรุ งศรี อยุธยา ชาวพระนครเกิดความกลัวใน
                                                         ้
ทรัพย์สิน จึงนาทรัพย์สมบัติไปฝังดินเป็ นจานวนมาก เมื่อกูกรุ งได้ ประชาชนก็กลับไป
เอาทรัพย์สินที่ฝังไว้ บางคนก็ไม่ได้กลับไปขุดเพราะถูกจับเป็ นเฉลย เสี ยชีวิต จึงมีทรัพย์
               ่
สมบัติถกฝังอยูในดินเป็ นจานวนมาก เกิดนายทุนสมองใสประมูลเงินให้แก่รัฐบาลเป็ น
          ู
เงินก้อน เพื่อขอผูกขาดสิ ทธิ การเก็บค้าธรรมเนียม ผูประสงค์จะขุดทรัพย์สมบัติที่ซ่อนไว้
                                                   ้
รัฐบาลกาลังต้องการเงินเข้าท้องพระคลัง จึงอนุญาตให้มีนายอาการผูกขาด

4. มีการแจกจ่ายข้าวปลาอาหาร ส่ งเสริ มการทานา

5. เพิ่มพูนแรงงาน      ซึ่ งเป็ นเชลยจากหัวเมืองที่ทรงตีได้ครั้งปราบเหล่าก๊กต่าง ๆ ตาม
หัวเมือง เช่นพิษณุโลก นครราชสี มา เพื่อให้คนในกรุ งธนบุรีมีประชากรมากขึ้น
6. ส่งเสริมการทาการค้ ากับชาติตะวันตก จีน ญี่ปุ่น
และหัวเมืองชายทะเลในแหลมมาลายู
          แม้ จะเกิดความสูญเสียอย่างมากมายครั้งเสียกรุงครั้งที่ 2 ปี 2310 แต่พระ
เจ้ าตากสินมหาราชก็ทรงสร้ างบ้ านเมืองขึ้นมาใหม่ได้ ท่กรุงธนบุรี แม้ เมืองหลวงใหม่จะ
                                                      ี
ประสบปัญหาเศรษฐกิจแต่ทรงก็สามารถแก้ ไขปัญหาให้ ผ่านพ้ นวิกฤตไปได้ ด้วยพระ
ปรีชาสามารถ
   http://www.trueplookpanya.com/true/kno
    wledge_detail.php?mul_content_id=1639
 http://www.maceducation.com/e-
  knowledge/2423112100/06.htm
 http://www.gotoknow.org/blogs/posts/429
  685

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
Tong Thitiphong
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
สมศรี หอมเนียม
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
thnaporn999
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ARM ARM
 

Mais procurados (20)

ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docxแผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
การเลิกไพร่
การเลิกไพร่การเลิกไพร่
การเลิกไพร่
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 

Semelhante a เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี

อยุธยา
อยุธยาอยุธยา
อยุธยา
ja_zahao
 
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1  early thailand from prehistory to sukhothaiUnit 1  early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai
Thaiway Thanathep
 
งานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางงานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลาง
orawan155
 
Conceptของสุโขทัย
ConceptของสุโขทัยConceptของสุโขทัย
Conceptของสุโขทัย
sangworn
 
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล  กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล  กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
FURD_RSU
 
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Pracha Wongsrida
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัย
krunrita
 

Semelhante a เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี (20)

ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจพัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
 
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทยประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
การสถาปนา..
การสถาปนา..การสถาปนา..
การสถาปนา..
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
อยุธยา
อยุธยาอยุธยา
อยุธยา
 
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1  early thailand from prehistory to sukhothaiUnit 1  early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai
 
บท 1
บท 1บท 1
บท 1
 
สุโขทัย1
สุโขทัย1สุโขทัย1
สุโขทัย1
 
งานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางงานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลาง
 
Conceptของสุโขทัย
ConceptของสุโขทัยConceptของสุโขทัย
Conceptของสุโขทัย
 
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล  กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล  กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
 
พระราชประวัติสมเด็จพระเจ้าตากสิน+584+55t2his p05 f12-4page
พระราชประวัติสมเด็จพระเจ้าตากสิน+584+55t2his p05 f12-4pageพระราชประวัติสมเด็จพระเจ้าตากสิน+584+55t2his p05 f12-4page
พระราชประวัติสมเด็จพระเจ้าตากสิน+584+55t2his p05 f12-4page
 
108+hisp5+dltv54+550127+a+สไลด์ พระราชประวัติสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช 1 หน้า
108+hisp5+dltv54+550127+a+สไลด์ พระราชประวัติสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช 1 หน้า108+hisp5+dltv54+550127+a+สไลด์ พระราชประวัติสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช 1 หน้า
108+hisp5+dltv54+550127+a+สไลด์ พระราชประวัติสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช 1 หน้า
 
พระราชประวัติสมเด็จพระเจ้าตากสิน+584+55t2his p05 f12-1page
พระราชประวัติสมเด็จพระเจ้าตากสิน+584+55t2his p05 f12-1pageพระราชประวัติสมเด็จพระเจ้าตากสิน+584+55t2his p05 f12-1page
พระราชประวัติสมเด็จพระเจ้าตากสิน+584+55t2his p05 f12-1page
 
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
 
ประเทศจีน
ประเทศจีน ประเทศจีน
ประเทศจีน
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัย
 

Mais de Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

Mais de Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 

เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี

  • 1. เศรษฐกิจในสมัยสุ โขทัย อยุธยา และธนบุรี สมาชิกกลุ่ม นางสาวขวัญฤทัย ใจคา เลขที่ ๑๖ นางสาวณัฐธยาน์ โครงกาบ เลขที่ ๑๙ นางสาวธัญวลัย กองอาริ นทร์ เลขที่ ๒๒ นางสาวปานชีวา เทพา เลขที่ ๒๕ นางสาวอริ สรา ลวดเงิน เลขที่ ๒๘ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๖/๓
  • 2. จากหลักฐานศิลาจารึกหลักที่ 1 ทาให้ เราทราบว่ า เศรษฐกิจในสมัยสุ โขทัย มีความเจริญรุ่งเรือง ประชาชนมีความกินดีอยู่ดี บ้ านเมืองมีความอุดมสมบูรณ์
  • 3. ปัจจัยสาคัญทีช่วยส่ งเสริมให้ สุโขทัยสามารถพัฒนาเศรษฐกิจให้ เจริญก้ าวหน้ า ่ 1. ภูมประเทศ สุโขทัยตั้งอยูบริ เวณที่ราบลุ่มแม่น้ า ที่ราบเชิงเขาซึ่ง ิ ่ เป็ นแหล่งเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ และจับสัตว์น้ า
  • 4.
  • 5. 2. ทรัพยากรธรรมชาติ สุโขทัยมีพืชพรรณธรรมชาติต่าง ๆ อย่างอุดมสมบูรณ์ เช่น ป่ าไม้ สัตว์ป่า และแร่ ธาตุต่าง ๆ 3. ความสามารถของผู้นา กษัตริ ยซ่ ึงเป็ นผูปกครองกรุ ง ์ ้ สุ โขทัยทรงมีพระปรี ชาสามารถในการคิดริ เริ่ มและดัดแปลง สิ่ งแวดล้อมที่เอื้ออานวยต่อการดารงชีวตของราษฎร เช่น สร้าง ิ ทานบกั้นน้ าไว้เพื่อเก็บกักน้ าที่เรี ยกว่า “ ทานบพระร่ วง ” ส่ งน้ าไป ตามคูคลองสู่คูเมือง เพื่อระยายน้ าสู่ พ้ืนที่เกษตรกรรม จึงทาให้ ประชาชนมีน้ าใช้สอยอย่างเพียงพอ
  • 7. ่ ั พื้นฐานทางด้านเศรษฐกิจของสุ โขทัยขึ้นอยูกบอาชีพหลักของประชาชน 3 อาชีพ ได้แก่ เกษตรกรรม หัตถกรรม และค้าขาย 1. เกษตรกรรม สังคมสุ โขทัยเป็ นสังคมเกษตรกรรม อาชีพหลักของประชาชนคือ การ เพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ การเพาะปลูกจะมีท้ งการทานา ทาไร่ และทาสวน พืช ั ที่ปลูกกันมาก เช่น ข้าว มะม่วง หมากพลู เป็ นต้น บริ เวณที่ใช้เป็ นพื้นที่ เพาะปลูก ได้แก่ ที่ราบลุ่มแม่น้ าปิ ง แม่น้ ายม และแม่น้ าน่าน เนื่องจากสภาพทางธรรมชาติของบริ เวณที่ราบลุ่มแม่น้ าดังกล่าวนี้ไม่ เอื้ออานวยต่อการเพาะปลูก เพราะมีน้ าน้อยในหน้าแล้ง และเมื่อถึงฤดูน้ าจะมี น้ าปริ มาณมากไหลบ่ามาท่วมขังเป็ นเวลานาน ทาให้ผลผลิตทางการเกษตรไม่ อุดมสมบูรณ์ ดังนั้นสุ โขทัยจึงรู ้จกการสร้างที่เก็บกักน้ า แล้วต่อท่อน้ าจากคู ั เมืองไปสู่ สระต่าง ๆ เพื่อระบายน้ าไปสู่ พ้ืนที่เกษตรกรรม ทาให้สามารถผลิต ผลผลิตได้อุดมสมบูรณ์
  • 8. 2. หัตถกรรม หัตถกรรมที่สาคัญของสุ โขทัยส่ วนใหญ่เป็ นการผลิต เครื่ องสังค โลก หรื อเครื่ องปั้นดินเผา เครื่ องสังคโลกของสุ โขทัยที่ผลิตได้คือ จาน ชาม และถ้วยต่างๆ นอกจากนั้นยังนิยมผลิตเครื่ องสังคโลกในรู ปแบบ ต่างๆตามความต้องการของผูซ้ื อ เช่น แจกัน เหยือก โถน้ า โอ่ง ไห ้ เป็ นต้น จากหลักฐานการขุดพบซากเตาเผาเครื่ องสังคโลกหรื อเตาทุเรี ยง ่ เป็ นจานวนมากทาให้สนนิษฐานได้วา แหล่งที่ผลิตเครื่ องสังคโลกที่ ั สาคัญมีอยู่ 2 แห่งคือ กรุ งสุ โขทัยและเมืองศรี สชนาลัย ั และจากการพบซากเตาเผาเครื่ องสังคโลกขนาดใหญ่เป็ นจานวน ่ มาก ทาให้สนนิษฐานได้วาเครื่ องสังคโลกของสุ โขทัยน่าจะเป็ นสิ นค้า ั ที่ได้รับความนิยมจากดินแดนต่าง ๆ ในสมัยนั้น
  • 10. 3. การค้ าขาย การค้าขายในสมัยสุ โขทัยเป็ นการค้าแบบเสรี ทุกคนมีอิสระใน ่ การค้าขาย รัฐไม่จากัดชนิดสิ นค้าและไม่เก็บภาษีผานด่านที่เรี ยกว่า “จังกอบ” ผูใดอยากค้าขายอะไรก็ไม่มีการห้าม มีการค้าสัตว์ชนิด ้ ต่างๆ เช่น ช้าง ม้า วัว ควาย เป็ นต้น ตลอดจนการค้าขายแร่ เงินและแร่ ทอง นอกจากจะมีการค้าขายภายในราชอาณาจักรแล้ว ยังมีการค้าขาย ่ และแลกเปลี่ยนสิ นค้ากับอาณาจักรต่าง ๆ ที่อยูภายนอกอาณาจักรสุ โขทัย อีกด้วย เช่น เมืองหงสาวดี ตะนาวศรี ล้านนา กัมพูชา มะละกา ชวา และ จีน เป็ นต้น สิ นค้าออกที่สาคัญ ได้แก่ เครื่ องสังคโลก พริ กไทย น้ าตาล งาช้าง เป็ นต้น สิ นค้าส่ วนใหญ่เป็ นพวกผ้าไหม ผ้าทอ อัญมณี เป็ นต้น
  • 11. ผ้ าไหม ผ้ าทอ เงินพดด้ วง
  • 12. ความอุดมสมบูรณ์ของบริ เวณที่ราบลุ่มแม่น้ าเจ้าพระยาตอนล่าง การมีแหล่ง น้ าจานวนมาก ดินมีความอุดมสมบูรณ์เพราะเกิดจากการทับถมของดินตะกอน แม่น้ า ซึ่ งเหมาะสาหรับการทานา ทาให้อาณาจักรอยุธยาเป็ นแหล่งเพาะปลูกที่ ่ สาคัญ นอกจากนี้การมีทาเลที่ต้ งที่เหมาะสมกับการค้าขายกับเมืองต่างๆ ที่อยูภายใน ั ตามเส้นทางแม่น้ า และการค้าขายกับภายนอกทางเรื อสาเภา ทาให้เศรษฐกิจอยุธยามี ่ พื้นฐานสาคัญอยูที่การเกษตรและการค้ากับต่างประเทศ ต่อมาได้พฒนาเป็ น ั ศูนย์กลางทางการค้าในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
  • 13. 1. เศรษฐกิจในสมัยอยุธยาเป็ นเศรษฐกิจแบบยังชีพทีขนอยู่กบ ่ ึ้ ั เกษตรกรรมเช่ นเดียวกับสุ โขทัย พื้นฐานทางเศรษฐกิจของอยุธยาคือการเกษตร มีวตถุประสงค์ในการผลิตเพื่อ ั บริ โภคภายในอาณาจักรตามลักษณะเศรษฐกิจแบบพอยังชีพ แต่อาณาจักรอยุธยา ได้เปรี ยบกว่าอาณาจักรสุ โขทัยในด้านภูมิศาสตร์ เพราะอาณาจักรอยุธยาตั้งอยูใน ่ บริ เวณที่ราบลุ่มแม่น้ าอันกว้างใหญ่ แม่น้ าสาคัญคือ แม่น้ าเจ้าพระยา แม่น้ าป่ า สัก แม่น้ าลพบุรี ซึ่ งมีน้ าตลอดปี สาหรับการเพาะปลูกพืชที่สาคัญคือ ข้าว รองลงมา ได้แก่ พริ กไทย หมาก มะพร้าว อ้อย ฝ้ าย ไม้ผลและพืชไร่ อื่นๆ
  • 14. ลักษณะการผลิตยังใช้แรงงานคนและแรงงานสัตว์เป็ นหลัก ด้วยเหตุ ดังกล่าว อาณาจักรอยุธยาจึงได้ทาสงครามกับรัฐใกล้เคียงเพื่อครอบครอง แหล่งทรัพยากรและกวาดต้อนผูคนเพื่อนามาเป็ นแรงงานสาคัญของบ้านเมือง ้
  • 15. ราชอาณาจักรอยุธยาได้ทานุบารุ งการเกษตรด้วยการจัดพระราชพิธี ต่างๆ เพื่อให้เป็ นสิ ริมงคลและบารุ งขวัญชาวนาให้มีกาลังใจ เช่น พระ ราชพิธีพิรุณศาสตร์ เป็ น พิธีขอฝนให้ตกต้องตามฤดูกาล พระราชพิธีพืช ั มงคล เป็ นพิธีการสร้างสิ ริมงคลให้กบชาวนาและแจกพันธุ์ขาว เป็ น พระ ้ ราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ เป็ น พิธีลงมือจรดคันไถเป็ นครั้งแรก เพื่อเป็ นการเตือนว่าถึงเวลาทานาแล้ว อาณาจักรอยุธยาไม่ได้สร้างระบบการชลประทานเพื่อส่ งเสริ ม การเกษตร เนื่องจากมีแหล่งน้ าเพียงพอ ส่ วนการขุดคลองทาขึ้นเพื่อเป็ น เส้นทางการคมนาคม เพื่อประโยชน์ทางยุทธศาสตร์ และการระบายน้ า ตอนหน้าน้ าเท่านั้น
  • 16. แม้วาอาณาจักรอยุธยา การเพาะปลูกยังเป็ นแบบดั้งเดิมต้องพึ่งพา แรงงานคนและธรรมชาติเป็ นหลัก แต่สภาพภูมิศาสตร์ที่อุดมสมบูรณ์ ทา ให้ผลผลิตทางการเกษตรมีเหลือเป็ นจานวนมาก ผลผลิตทางการเกษตร เป็ นสิ นค้าที่นาไปขายให้ชาวต่างประเทศ นารายได้มาสู่อาณาจักร ดัง ปรากฏหลักฐานว่าอยุธยาเคยขายหมากให้จีน อินเดีย และโปรตุเกส ฝ้ าย และมะพร้าวให้ญี่ปุ่นและมะละกา ในสมัยอยุธยาตอนปลายได้ขายข้าว ให้ฮอลันดา ฝรั่งเศส มลายู มะละกา ชวา ปัตตาเวีย ลังกา จีน ญี่ปุ่น “การเกษตรจึงเป็ นรากฐานสาคัญทางเศรษฐกิจของอยุธยาและมีส่วน ในการเสริ มสร้างราชอาณาจักรอยุธยาให้เจริ ญรุ่ งเรื องมาตลอดเวลา 417 ปี ”
  • 17. 2. อาณาจักรอยุธยาเป็ นศูนย์ กลางทางการค้ าในภูมภาคเอเชีย ิ ตะวันออกเฉียงใต้ เนื่องจากทาเลที่ต้ งของอาณาจักรอยุธยาเอื้ออานวยต่อการค้า กล่าวคือ ั ่ “ ศูนย์กลางอาณาจักรตั้งอยูในทาเลที่เหมาะสมกับการค้า ทั้งภายในและ ภายนอกราชอาณาจักร กล่าวคือ กรุ งศรี อยุธยามีแม่น้ าล้อมรอบทั้ง 3 ด้าน คือ แม่น้ าลพบุรี แม่น้ าป่ าสัก และแม่น้ าเจ้าพระยา ทาให้อยุธยาใช้ ่ เส้นทางทางน้ าติดต่อกับแว่นแคว้นที่อยูภายในได้สะดวก เช่น สุ โขทัย ล้านนา ล้านช้าง
  • 18. นอกจากนี้ที่ต้งของราชธานีท่ีอยูไม่ห่างไกลปากน้ าหรื อ ั ่ ทะเล ทาให้อยุธยาติดต่อค้าขายทางเรื อกับต่างประเทศที่อยู่ ห่างไกลได้สะดวก และเมื่ออาณาจักรมีความเข้มแข็ง สามารถ ควบคุมการค้ารอบชายฝั่งทะเลอันดามัน และโดยรอบอ่าวไทย ซึ่ง ่ เป็ นแหล่งที่พอค้าต่างชาติเดินทางมาค้าขายได้ ทาให้อยุธยา สามารถทาหน้าที่เป็ นพ่อค้าคนกลางในการติดต่อค้าขายระหว่าง จีน ญี่ปุ่นกับพ่อค้าต่างชาติอื่น ๆ กรุ งศรี อยุธยาจึงเป็ นศูนย์กลางที่ สาคัญแห่งหนึ่งในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ”
  • 19. บทบาทสาคัญของอยุธยาทางการค้ามี 2 ประการ คือ เป็ นแหล่งรวมสิ นค้า ประเภทของป่ าที่ต่างชาติตองการและเป็ นศูนย์กลางการค้าส่ งผ่าน คือ กระจายสิ นค้า ้ จากจีนและอินเดียสู่ ดินแดนตอนในของภูมิภาค เช่น ล้านนา ล้านช้าง และส่ งสิ นค้า จีนไปยังดินแดนต่างๆ ในมหาสมุทรอินเดีย และรวบรวมสิ นค้าจากดินแดนตอนใน และจากดินแดนต่างๆ ในอินเดียไปขายต่อให้จีน สิ นค้าประเภทของป่ า ได้แก่ สัตว์ป่าและผลผลิตจากสัตว์ป่า ไม้ เช่น ไม้ ฝาง ไม้กฤษณา ไม้จนทร์หอม และพืชสมุนไพร เช่น ลูกกระวาน ผล ั เร่ ว กายาน การบูร เป็ นต้น
  • 20. สิ นค้าเหล่านี้ได้จากดินแดนภายในอาณาจักรอยุธยา และดินแดน ใกล้เคียง ผ่านทางระบบมูลนาย โดยแรงงานไพร่ จะเป็ นผูหาแล้วส่ งมา ้ เป็ น ส่ วย แทนแรงงานที่จะต้องมาทางานให้รัฐ บางส่ วนได้มาด้วยการ ซื้อหาแลกเปลี่ยนกับราษฎรและอาณาจักรเพื่อนบ้าน แต่ส่วนใหญ่มา จากการเกณฑ์ส่วยจากหัวเมืองภายในอาณาจักร โดยเฉพาะในรัชสมัย พระบรมไตรโลกนาถที่ปฏิรูปการปกครองหัวเมือง ทาให้การเกณฑ์ ส่ วยรัดกุมมากกว่าเดิม และส่ วนหนึ่งมาจากเมืองประเทศราชของ อยุธยา นอกจากของป่ าแล้ว สิ นค้าออกยัง ได้แก่ พริ กไทย ดีบุก ตะกัว ผ้าฝ้ าย และข้าว ส่ วนสิ นค้าเข้าได้แก่ ผ้า ่ แพร ผ้าลายทอง เครื่ องกระเบื้อง ดาบ หอก เกราะ ฯลฯ
  • 21. การค้ากับต่างประเทศในสมัยอยุธยาส่ วนใหญ่เป็ นการส่ งเรื อสาเภาไปค้าขายกับ ดินแดนต่างๆ ที่สาคัญคือการค้ากับจีนภายใต้การค้าในระบบบรรณาการ ที่จีนถือว่า ไทยเป็ นเมืองขึ้นของจีน แต่อยุธยาเห็นว่าเป็ นประโยชน์ทางการค้า เพราะทุกครั้งที่ เรื อของอยุธยาเดินทางไปค้าขายกับจีนจะนา ของขวัญ ซึ่ งส่ วนใหญ่เป็ นสิ นค้าจาก ป่ า เช่น นกยูง งาช้าง สัตว์แปลกๆ กฤษณา กายาน เป็ นต้น เป็ นเครื่ องราช บรรณาการไปถวายให้จกรพรรรดิจีน ซึ่ งจีนจะมอบของตอบแทน เช่น ผ้า ั ไหม เครื่ องลายคราม ซึ่ งเป็ นสิ นค้าราคาแพงเป็ นการตอบแทน เรื อสิ นค้าที่นาสิ นค้า ไปค้าขายก็จะถูกละเว้นภาษีและได้รับการอนุญาตให้คาขายกับหัวเมืองต่างๆ ของจีน ้ ได้ นอกจากนี้อยุธยายังค้าขายกับหัวเมืองมลายู ชวา อินเดีย ฟิ ลิปปิ นส์ เปอร์ เซี ย และ ลังกา การค้าส่ วนใหญ่จะดาเนิ นการโดยพระมหากษัตริ ย ์ เจ้านาย และขุนนาง มี การค้าเอกชนบ้างโดยพวกพ่อค้าชาวจีนดาเนินการ ลักษณะการค้ากับต่างประเทศใน สมัยอยุธยาตอนต้นยังเป็ นการค้าแบบเสรี พ่อค้าต่างชาติยงสามารถค้าขายกับราษฎร ั ็ ั ได้โดยตรงไม่ตองผ่านหน่วยงานของรัฐบาล แต่กมีลกษณะการผูกขาดโดยทางอ้อม ้ ในระบบมูลนาย
  • 22. หลังรัชสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 (พ.ศ. 2034-2072) การค้ากับต่างประเทศ ได้ขยายตัวเพิ่มขึ้น เพราะอยุธยาเริ่ มมีการติดต่อค้าขายกับชาติตะวันตก เริ่ มตั้งแต่ชาติ โปรตุเกสใน พ.ศ. 2054 ต่อมาใน พ.ศ. 2059 อยุธยาได้ทาสัญญาทางพระราชไมตรี ทางการค้ากับโปรตุเกส เป็ นฉบับแรกที่อยุธยาทากับประเทศตะวันตก จากนั้นก็มีชาติ ฮอลันดา (พ.ศ. 2142) สเปน (พ.ศ. 2141) อังกฤษ ในรู ปบริ ษทอินเดีย ั ตะวันออก บริ ษทการค้าของฮอลันดา เรี ยกว่า V.O.C. ส่ วนบริ ษทการค้าของอังกฤษ ั ั เรี ยกว่า E.J.C. และฝรั่งเศสในสมัยพระนารายณ์มหาราช (พ.ศ. 2199-2231)
  • 23. การค้ากับต่างประเทศเจริ ญรุ่ งเรื องมากที่สุดในสมัยสมเด็จพระมหา จักรพรรดิ (พ.ศ. 2091-2111) มีการตรากฎหมายหลายฉบับเกี่ยวกับการค้า และจัดระบบผูกขาดทางการค้าให้เป็ นระเบียบยิงขึ้น คือ มีการกาหนด ่ สิ นค้าต้องห้าม ซึ่งเป็ นสิ นค้าที่รัฐบาลโดยพระคลังสิ นค้าเท่านั้นที่จะผูกขาด ซื้อขาย สิ นค้าขาเข้า ได้แก่ ปื นไฟ กระสุ นดินดา และกามะถัน ส่ วน สิ นค้าขาออก ได้แก่ นอระมาด งาช้าง ไม้กฤษณา ไม้จนทร์ ไม้ ั หอม และไม้ฝาง ซึ่งต่อมาการค้าผูกขาดของรัฐ ได้เข้มข้นมากขึ้น สิ นค้า บางประเภท เช่น ถ้วยชาม ผ้าแดง ซึ่งเป็ นสิ นค้าในชีวิตประจาวันก็เป็ น สิ นค้าผูกขาดด้วยและมีการจัดตั้ง "พระคลังสิ นค้า" ให้รับผิดชอบดูแล การค้าผูกขาดของรัฐบาล พระคลังสิ นค้าจึงเป็ นหน่วยงานสาคัญในระบบ เศรษฐกิจไทยในสมัยอยุธยาสื บต่อมาจนถึงสมัยรัชกาลที่ 4 แห่งกรุ ง รัตนโกสิ นทร์
  • 24. ในปลายสมัยอยุธยา "ข้าว" ได้กลายเป็ นสิ นค้าออกที่สาคัญแทนที่สินค้าจาก ่ ป่ า เนื่องจากเกิดทุพภิกขภัยอย่างรุ นแรงในประเทศจีน ชาวจีนจึงขอให้พอค้าอยุธยานา ข้าวไปขายให้จีนโดยลดภาษีให้ นอกจากนี้อยุธยายังขายข้าวให้ฮอลันดา ฝรั่งเศส หัว เมืองมลายู มะละกา ชวา ปัตตาเวีย ญวน เขมร มะละกา ลังกา และญี่ปุ่น การค้ากับต่างประเทศจึงเป็ นพื้นฐานสาคัญของเศรษฐกิจอยุธยา ซึ่ งนาความมังคังให้กลุ่ม ่ ่ ผูปกครอง ได้แก่ พระมหากษัตริ ย ์ เจ้านาย และขุนนางอย่างมหาศาล ้
  • 25. 3. รายได้ของอยุธยา 1) รายได้ ในระบบมูลนาย แรงงานจากไพร่ ถือเป็ นปั จจัยทางเศรษฐกิจที่สาคัญ รัฐบาล ได้เกณฑ์ แรงงานจากไพร่ ในระบบเข้าเดือนออกเดือน หรื อปี ละ 6 เดือน มา ทางานให้รัฐ เช่น การสร้างกาแพงเมือง ขุดคลอง สร้างวัด สร้างถนน เป็ น ต้น ไพร่ ที่ไม่ตองการทางานให้รัฐก็สามารถจ่ายสิ่ งของที่รัฐต้องการ เช่น มูล ้ ค้างคาว สิ นค้าป่ า เรี ยกว่า "ส่ วย" แทนการเกณฑ์แรงงานได้ ส่ วยเหล่านี้รัฐจะ นาไปเป็ นสิ นค้าขายยังต่างประเทศต่อไป
  • 26. 2) รายได้ จากภาษีอากร ภาษีอากรในสมัยอยุธยา มีดงนี้ ั - ส่ วย คือ สิ่ งของหรื อเงินที่ไพร่ หลวงจ่ายให้รัฐทดแทนการถูกเกณฑ์มาทางาน โดยรัฐ จะเป็ นผูกาหนดว่าท้องถิ่นใดจะส่ งส่ วยประเภทใด เช่น ส่ วยดีบุก ส่ วยรังนก ส่ วยไม้ ้ ฝาง ส่ วยนอแรด ส่ วยมูลค้างคาว เป็ นต้น - อากร คือ เงินที่เก็บจากผลประโยชน์ที่ราษฎรประกอบอาชีพได้ เช่น การทานา จะ เสี ยอากรค่านา เรี ยกว่า "หางข้าว" ให้แก่รัฐ เพื่อรัฐจะได้เก็บไว้เป็ นเสบียงอาหารสาหรับ กองทัพ ผูที่ทาสวนเสี ยอากรค่าสวนซึ่ งคิดตามประเภทและจานวนต้นไม้แต่ละ ้ ชนิด นอกจากนี้ ยงรวมถึงการได้รับสิ ทธิ จากรัฐบาลในการประกอบอาชีพ เช่น การ ั อนุญาตให้ขดแร่ การอนุญาตให้เก็บของป่ า การอนุญาตให้จบปลาในน้ า การอนุญาตให้ ุ ั ต้มกลันสุ รา เป็ นต้น ่
  • 27. - จังกอบ คือ ค่าผ่านด่านขนอนทั้งทางบกและทางน้ า โดยเรี ยกเก็บตามยานพาหนะที่ บรรทุกสิ นค้า เช่น เรื อสิ นค้าจะเก็บตามความกว้างของปากเรื อตามอัตราที่กาหนด จึง เรี ยกว่า ภาษีปากเรื อ ส่ วนพ่อค้าแม่คาในท้องถิ่นมักเก็บในอัตราสิ บชักหนึ่ ง ้ - ฤชา คือ เงินที่รัฐเรี ยกเก็บจากการให้บริ การจากราษฎร เช่น การออกโฉนด หรื อเงิน ปรับไหมที่ผแพ้คดีตองจ่ายให้ผชนะ เงินค่าธรรมเนียมนี้ เรี ยกอีกชื่อหนึ่ งว่า "เงินพินย ู้ ้ ู้ ั หลวง" 3) รายได้ จากต่ างประเทศ ได้แก่ ผลกาไรจากการค้าเรื อสาเภา ภาษีสินค้าขาเข้าและ สิ นค้าขาออก สิ่ งของที่ได้รับพระราชทานจากจักรพรรดิจีน บรรณาการจากต่างชาติที่ เข้ามาติดต่อค้าขายกับอยุธยา
  • 28. หลังจากกรุ งศรี อยุธยาล้มสลายอันเนื่องมาจากปัญหาภายในและภัย ่ จากพม่า ได้สร้างความเสี ยหายไปเสี ยทุกอย่างไม่วาจะเป็ นไร่ นา แรงงานถูก กวาดต้อนไปเป็ นเชลย อาคาร วัด วังพังพินาศถูเผาวอดวายจนไม่อาจฟื้ นฟู ทรัพย์สินต่างๆ ถูกปล้นสะดม ขาดแคล้นอาหาร เศรษฐกิจตกต่ารุ นแรง
  • 29. เมื่อย้ายเมืองหลวงใหม่เป็ นกรุ งธนบุรีศรี มหาสมุทร พระเจ้าตากสิ น ทรงแก้ไขปั ญหาทางเศรษฐกิจดังนี้ 1. การดาเนินการคลัง ทรงพยายามใช้จ่ายอย่างประหยัด เช่น ไม่สร้างการสร้าง พระราชวังให้ใหญ่โต สร้างวัดให้สวยงามตามธรรมเนียมที่มีมา สร้างก็แต่พระราชวัง ขนาดเล็กเท่านั้น ทาให้ประหยัดค่าใช้จ่าย ทาให้การคลังกลับมามันในเวลารวดเร็ ว ่ 2. ให้เก็บเงินเข้าพระคลังอย่างเข้มงวด ให้ต้งขุนนางผูใหญ่ให้ออกไป ั ้ ควบคุมและเร่ งรัดการเก็บส่ วยอาการตามหัวเมืองให้เต็มเม็ดเต็มหน่วย ไม่ให้มีการติด ค้างหลาย ๆ ปี อย่างสมัยอยุธยาตอนปลาย
  • 30. 3. เก็บอากรชนิดใหม่ การเก็บค่าธรรมเนียมขุดทรัพย์ซ่ึ งไม่มีเจ้าของ เหตุที่มีการขุด ั ทรัพย์กนมากเพราะเมือครั้งก่อนเสี ยกรุ งศรี อยุธยา ชาวพระนครเกิดความกลัวใน ้ ทรัพย์สิน จึงนาทรัพย์สมบัติไปฝังดินเป็ นจานวนมาก เมื่อกูกรุ งได้ ประชาชนก็กลับไป เอาทรัพย์สินที่ฝังไว้ บางคนก็ไม่ได้กลับไปขุดเพราะถูกจับเป็ นเฉลย เสี ยชีวิต จึงมีทรัพย์ ่ สมบัติถกฝังอยูในดินเป็ นจานวนมาก เกิดนายทุนสมองใสประมูลเงินให้แก่รัฐบาลเป็ น ู เงินก้อน เพื่อขอผูกขาดสิ ทธิ การเก็บค้าธรรมเนียม ผูประสงค์จะขุดทรัพย์สมบัติที่ซ่อนไว้ ้ รัฐบาลกาลังต้องการเงินเข้าท้องพระคลัง จึงอนุญาตให้มีนายอาการผูกขาด 4. มีการแจกจ่ายข้าวปลาอาหาร ส่ งเสริ มการทานา 5. เพิ่มพูนแรงงาน ซึ่ งเป็ นเชลยจากหัวเมืองที่ทรงตีได้ครั้งปราบเหล่าก๊กต่าง ๆ ตาม หัวเมือง เช่นพิษณุโลก นครราชสี มา เพื่อให้คนในกรุ งธนบุรีมีประชากรมากขึ้น
  • 31. 6. ส่งเสริมการทาการค้ ากับชาติตะวันตก จีน ญี่ปุ่น และหัวเมืองชายทะเลในแหลมมาลายู แม้ จะเกิดความสูญเสียอย่างมากมายครั้งเสียกรุงครั้งที่ 2 ปี 2310 แต่พระ เจ้ าตากสินมหาราชก็ทรงสร้ างบ้ านเมืองขึ้นมาใหม่ได้ ท่กรุงธนบุรี แม้ เมืองหลวงใหม่จะ ี ประสบปัญหาเศรษฐกิจแต่ทรงก็สามารถแก้ ไขปัญหาให้ ผ่านพ้ นวิกฤตไปได้ ด้วยพระ ปรีชาสามารถ
  • 32. http://www.trueplookpanya.com/true/kno wledge_detail.php?mul_content_id=1639  http://www.maceducation.com/e- knowledge/2423112100/06.htm  http://www.gotoknow.org/blogs/posts/429 685