SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 62
Baixar para ler offline
บทที่ 4
 แผนภาพกระแสข ้อมูล

(Data Flow Diagram)




                 ิ ิ
        อาจารย์ ศรรัตน์ ตรงวัฒนาวุฒ ิ
เนือหา
   ้


  ความหมายของแผนภาพกระแสข ้อมูล

    ั       ี่ ้
  สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล

       ่ ้
  กฎทีใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล

  ประเภทของแผนภาพกระแสข ้อมูล

  การพัฒนาแผนภาพกระแสข ้อมูล
วัตถุประสงค์

 1) ทราบความส าคั ญ และวั ต ถุป ระสงค์ข องแผนภาพกระแสข ้อมู ล
     (Data Flow Diagram)
 2) เข ้าใจสั ญ ลั ก ษณ์ ต่ า งๆ และขั น ตอนการเขีย นแผนภาพกระแส
                                       ้
     ข ้อมูล
 3) สามารถวิเคราะห์และเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูลได ้
เอกสาร
แบบฟอร์ม                           ิ
                   สร ้างแบบจาลองเชงตรรกะ
รายงาน                 (Logical Model)
          ั
บทสรุปการสมภาษณ์
ความหมายของแผนภาพกระแสข ้อมูล (Data Flow Diagram)


 แผนภาพกระแสข ้อมูล (Data Flow Diagram: DFD) หรือเรียกอีก
 อย่างหนึงว่า แผนภาพการไหลของข ้อมูล
         ่


                         ้
 เป็ นเครื่อ งมือ ที่ใ ช เพื่อ แสดงการไหลของข ้อมูล และการประมวลผล
 ต่างๆ ในระบบ สมพันธ์กบแหล่งเก็บข ้อมูลทีใช ้
               ั      ั                  ่


 เป็ นส ื่อ ที่ช ่ว ยให ้การวิเ คราะห์เ ป็ นไปได ้โดยง่ า ย และมีค วามเข ้าใจ
 ตรงกัน ระหว่า งผู ้วิเ คราะห์ร ะบบเอง หรือ ระหว่า งผู ้วิเ คราะห์ร ะบบกับ
                                                   ้
 โปรแกรมเมอร์ หรือระหว่างผู ้วิเคราะห์ระบบกับผู ้ใชระบบ
้
ประโยชน์ทได ้จากการใชแผนภาพกระแสข ้อมูล
         ี่

 1) มีค วามอิส ระในการใช งาน โดยไม่ ต ้องมีเ ทคนิ ค อื่น มาช ่ ว ย เนื่ อ งจาก
                         ้
            ้ ั              ิ่ ่ ิ
    สามารถใชสญลักษณ์ตางๆ แทนสงทีวเคราะห์มา
                     ่

 2) เป็ นสอทีง่ายต่อการแสดงความสัมพั นธ์ระหว่างระบบใหญ่และระบบย่อ ย
          ื่ ่
     ึ่                   ั
    ซงจะทาให ้เข ้าใจความสมพันธ์ตาง ๆ ได ้ดี
                                 ่

 3) เป็ นส อ ที่ช ่ว ยในการวิเ คราะห์ร ะบบให ้เป็ นไปได ้ง่า ย และมีค วามเข ้าใจ
           ื่
    ตร ง กั น ระ ห ว่ า ง ผู ว ิ เ ค รา ะ ห์ ร ะบ บ ห รื อ ร ะ ห ว่ า ง ผู ว ิ เ ค ร า ะ ห์ ร ะ บ บ กั บ
                             ้                                             ้
    โปรแกรมเมอร์ หรือระหว่างผู ้วิเคราะห์ระบบกับผู ้ใช ้

     ่
 4) ชว ยในการวิเ คราะห์ร ะบบให ้สะดวก โดยสามารถเห็น ข ้อมูล และขัน ตอน
                                                                 ้
    ต่างๆ เป็ นแผนภาพ
ั       ี่ ้
สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล


สัญลักษณ์ท ใช ในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล ประกอบด ้วย
           ี่ ้                                          4
 ั
สญลักษณ์ คือ


    ั
1) สญลักษณ์การประมวลผล (Process Symbol)

    ั
2) สญลักษณ์กระแสข ้อมูล (Data Flow Symbol)

    ั
3) สญลักษณ์แหล่งเก็บข ้อมูล (Data Store Symbol)

    ั       ิ่ ่ ่
4) สญลักษณ์สงทีอยูภายนอก (External Entity Symbol)
ั       ี่ ้
สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล
ั       ี่ ้
สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล

 ั
สญลักษณ์การประมวลผล (Process Symbol)

การประมวลผล (Process) เป็ นการเปลียนแปลงข ้อมูลจากรูปแบบหนึง (Input)
                                  ่                        ่
ไปเป็ นอีกรูปแบบหนึง (Output)
                   ่


  ่
เชน การคานวณรายได ้สุทธิของลูกจ ้างรายวัน จะต ้องประกอบด ้วยข ้อมูลนาเข ้า
                          ั่               ั่
ทีเป็ น ”อัตราค่าจ ้างต่อชวโมง” และ “จานวนชวโมงการทางาน” เมือผ่านการ
  ่                                                         ่
ประมวลผลแล ้วจะได ้ “รายได ้สุทธิ”
ั       ี่ ้
สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล

 ั
สญลักษณ์การประมวลผล (Process Symbol)


 ตัวอย่างการประมวลผล ได ้แก่
                   ั
 1) คานวณค่าคอมมิชชน
              ั่ ื้
 2) ตรวจสอบใบสงซอ
 3) ลงทะเบียน
 เป็ นต ้น
ั       ี่ ้
สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล

 ั
สญลักษณ์การประมวลผล (Process Symbol)

      ้ ั
 การใชสญลักษณ์การประมวลผล

           ้ ั                                 ั
 1) ต ้องใชสญลักษณ์การประมวลผล (Process) คูกับสญลักษณ์ กระแสข ้อมูล
                                           ่
                                    ี้
    (Data Flow) เสมอ โดยทีถ ้าลูกศรชเข ้าหมายถึงเป็ นข ้อมูลนาเข ้า ถ ้าลูกศร
                          ่
     ี้                                       ึ่
    ชออกหมายถึงเป็ นข ้อมูลออกจากการประมวลผล ซง 1 Process สามารถมี
                              ้                           ้
    ข ้อมูลนาเข ้ามากกว่า 1 เสน หรือข ้อมูลออกมากกว่า 1 เสนได ้



     ข ้อมูลนาเข ้า                           ข ้อมูลออก
ั       ี่ ้
สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล

 ั
สญลักษณ์การประมวลผล (Process Symbol)

      ้ ั
 การใชสญลักษณ์การประมวลผล

         ้ ื่
 2) การตังชอของ Process ควรเป็ นวลีเดียวทีอธิบายการทางานทังหมดได ้
                                          ่               ้
    และควรอธิบายการทางานอย่างใดอย่างหนึงโดยเฉพาะมากกว่าทีจะอธิบาย
                                       ่                 ่
                           ่
    การทางานอย่างกว ้างๆ เชน หากแสดงถึงการประมวลผล                “ตรวจสอบ
    รายการ”      ควรจะระบุว่าเป็ น   “การตรวจสอบรายการถอนเงิน ”            หรือ
                       ้       ั
    “ตรวจสอบรายการค่าใชจ่ายรายสปดาห์” เป็ นต ้น


 3) แต่ละ Process จะมีแต่ข ้อมูลเข ้าอย่างเดียว หรือออกอย่างเดียวไม่ได ้
ั       ี่ ้
สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล

 ั
สญลักษณ์การประมวลผล (Process Symbol)

              ้ ั
 ตัวอย่างการใชสญลักษณ์การประมวลผล (Process)
ั       ี่ ้
สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล

 ั
สญลักษณ์กระแสข ้อมูล (Data Flow Symbol)

เป็ นเส นทางในการไหลของข ้อมูลจากส ่ว นหนึ่ง ไปยั ง อีก ส ่ว นหนึ่ง ของระบบ
        ้
                                                             ึ่
สารสนเทศ โดยจะมีลกศรแสดงถึงการไหลจากปลายลูกศร ไปยังหัวลูกศร ซง
                 ู
         ่        ้
ข ้อมูลทีปรากฏบนเสนนี้จะเป็ นได ้ทังข ้อความ ตัวเลข รายการเรคคอร์ดทีระบบ
                                   ้                                ่
คอมพิวเตอร์สามารถนาไปประมวลผลได ้
ั       ี่ ้
สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล

 ั
สญลักษณ์กระแสข ้อมูล (Data Flow Symbol)


ตัวอย่างกระแสข ้อมูล ได ้แก่

      ั่ ื้ ิ
1) ใบสงซอสนค ้า

2) ใบเสร็จรับเงิน

               ึ
3) เกรดของนั กศกษา

      ่
4) ใบสงของทีผานการตรวจสอบแล ้ว
            ่ ่

เป็ นต ้น
ั       ี่ ้
สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล

 ั
สญลักษณ์กระแสข ้อมูล (Data Flow Symbol)
     ้ ั
การใชสญลักษณ์กระแสข ้อมูล

                       ้ ่                          ิ่ ่ ่
1) กระแสข ้อมูลสามารถใชคูกับการประมวลผล (Process), สงทีอยูนอกระบบ

   (External Entities) หรือแหล่งเก็บข ้อมูล (Data Store) ก็ได ้ ขึนอยูกับ
                                                                  ้   ่

                        ้            ่                 ้           ่
   ระบบงานว่า ข ้อมูลนั นจะนาไปไว ้ทีไหน หรือข ้อมูลนั นจะนาออกจากสวนใด
ั       ี่ ้
สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล

 ั
สญลักษณ์กระแสข ้อมูล (Data Flow Symbol)
     ้ ั
การใชสญลักษณ์กระแสข ้อมูล
2) การตั ้ง ช ื่อ กระแสข อ มู ล โดยทั่ ว ไปจะตั ง ช ื่อ ด ว ยค าเพี ย งค าเดี ย ว ที่ ม ี
                         ้                      ้         ้
    ความหมายชั ด เจนและเข ้าใจง่า ย ควรก ากั บ ช อ บนเส นด ้วย ค านาม เช ่น
                                                 ื่     ้
                    ั่ ื้ ิ
    “เวลาทางาน”, ใบสงซอสนค ้า” เป็ นต ้น
ั       ี่ ้
สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล

 ั
สญลักษณ์กระแสข ้อมูล (Data Flow Symbol)
     ้ ั
การใชสญลักษณ์กระแสข ้อมูล
        ้ ื่
3) ควรตังช อ กระแสข ้อมูล ตามข ้อมูล ทีไ ด ้เปลีย นแปลงไปแล ้วหลัง จากออก
                                       ่        ่
                                                     ้
   จากการประมวลผล เนื่องจากการประมวลผลหรือ Process ใชแสดงถึงการ
                         ่
   เปลียนข ้อมูล หรือการสงผ่านข ้อมูล
       ่


      ้             ่                              ื่
ดังนั น Data Flow ทีออกจาก Process มักจะมีการเขียนชอกากับให ้แตกต่าง
   ออกไปจาก Data Flow ทีเข ้ามาใน Process เสมอ
                        ่


       ข ้อมูลนาเข ้า                        ข ้อมูลออก
ั       ี่ ้
สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล

 ั
สญลักษณ์แหล่งเก็บข ้อมูล (Data Store Symbol)


      ่   ่ ้   ื่
เป็ นสวนทีใชแทนชอแฟ้ มข ้อมูลทีเก็บข ้อมูล เพราะมีการประมวลผลหลายแบบ
                               ่

  ่                             ่ ่            ้
ทีจะต ้องมีการเก็บข ้อมูลไว ้เพือทีจะได ้นาไปใชภายหลัง


 ึ่
ซงแหล่งเก็บข ้อมูลจะต ้องมีทังข ้อมูลเข ้าและข ้อมูลออก
                             ้
ั       ี่ ้
สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล

 ั
สญลักษณ์แหล่งเก็บข ้อมูล (Data Store Symbol)

ตัวอย่างแหล่งเก็บข ้อมูล ได ้แก่

1) แฟ้ มคนไข ้

2) แฟ้ มพนั กงาน

เป็ นต ้น
ั       ี่ ้
สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล

 ั
สญลักษณ์แหล่งเก็บข ้อมูล (Data Store Symbol)
     ้ ั
การใชสญลักษณ์แหล่งเก็บข ้อมูล
1) ต ้องใชสัญลักษณ์แหล่งเก็บข ้อมูล (Data Store) คูกับสญลักษณ์ กระแส
          ้                                        ่   ั
    ข ้อมูล (Data Flow) เสมอ
โดยที่
   ถ ้าลูก ศรช ้เ ข ้าหมายถึง เป็ นข ้อมู ล น าเข ้าไปเก็ บ ยั ง แหล่ง เก็ บ (เพิ่ม -ลบ
                 ี
    แก ้ไข)
   ถ า ลู ก ศรช ี้อ อกหมายถึง อ่ า นข อ มู ล จากแหล่ ง เก็ บ ข อ มู ล ไปใช ใ นการ
      ้                                ้                        ้           ้
    ประมวลผล
ั       ี่ ้
สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล

 ั
สญลักษณ์แหล่งเก็บข ้อมูล (Data Store Symbol)
     ้ ั
การใชสญลักษณ์แหล่งเก็บข ้อมูล

                     ื่                                  ื่
2) Data Store ต ้องเชอมต่อการประมวลผล (Process) เสมอโดยเชอมผ่าน

   กระแสข ้อมูล (Data Flow)

                          ้   ิ่ ่
3) เนื่องจาก Data Store ใชแทนสงทีเก็บข ้อมูลเกียวกับคน, สถานที, หรือ
                                               ่              ่

    ิ่
   สงของ

                   ื่                 ่               ิ
   ดังนั นควรเขียนชอกากับด ้วยคานาม เชน “แฟ้ มข ้อมูลสนค ้า”, “แฟ้ มเวลา
         ้

   ทางานของพนั กงาน” เป็ นต ้น
ั       ี่ ้
สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล

 ั
สญลักษณ์แหล่งเก็บข ้อมูล (Data Store Symbol)
             ้ ั
ตัวอย่างการใชสญลักษณ์แหล่งทีเก็บข ้อมูล (Data Store)
                            ่
ั       ี่ ้
สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล

 ั
สญลักษณ์แหล่งเก็บข ้อมูล (Data Store Symbol)
     ้ ั
การใชสญลักษณ์แหล่งเก็บข ้อมูล
     ้                                    ้        ั
4) ใชอักษรย่อ D1, D2 เป็ นต ้น เขียนด ้านซายมือของสญลักษณ์ เพือแสดงว่า
                                                              ่
   เป็ นแหล่ ง เก็ บ ข ้อมู ล อั น ที่ เ ท่ า ใด สามารถเขีย นซ้ า ในระดั บ ต่ า งๆ ของ
   แผนภาพกระแสข ้อมูลได ้
                ้   ิ่ ่                   ึ่
5) Data Store ใชแทนสงทีเป็ นทีเก็บข ้อมูล ซงอาจเป็ นการทาด ้วยมือ หรือ
                              ่
   เก็บในรูปแบบคอมพิวเตอร์คอแฟ้ มข ้อมูลหรือฐานข ้อมูล ก็ได ้
                           ื
ั       ี่ ้
สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล

 ั        ิ่ ่ ่
สญลักษณ์ สงทีอยูภายนอก (External Entity Symbol)


      ่   ่ ้
เป็ นสวนทีใชแทนคน แผนกภายในองค์กร และแผนกภายนอกองค์กร หรือระบบ

          ่ ่      ่
สารสนเทศอืนทีเป็ นสวนทีจะให ้ข ้อมูลหรือรับข ้อมูล
                       ่



 ิ่ ่               ้
สงทีอยู่นอกระบบนี้ใชแสดงถึงขอบเขตของระบบสารสนเทศ และแสดงถึงว่า

      ่ ึ                   ิ่ ่ ่
ระบบทีศกษาอยูนี้จะติดต่อกับสงทีอยูภายนอกด ้วยวิธใด (นาข ้อมูลเข ้ามา หรือ
             ่                                  ี

ได ้ข ้อมูลออกไป)
ั       ี่ ้
สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล

 ั        ิ่ ่ ่
สญลักษณ์ สงทีอยูภายนอก (External Entity Symbol)

         ่ิ ่ ่
ตัวอย่างสงทีอยูภายนอก ได ้แก่
        ึ
1) นั กศกษา
    ิ
2) สนค ้าคงคลัง เป็ นต ้น
       ิ
3) สมาชก
เป็ นต ้น
ั       ี่ ้
สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล

 ั        ิ่ ่ ่
สญลักษณ์ สงทีอยูภายนอก (External Entity Symbol)
     ้ ั      ิ่ ่ ่
การใชสญลักษณ์สงทีอยูภายนอก

     ้ ั      ิ่ ่ ่        ่ ั ั
1) ใชสญลักษณ์สงทีอยูภายนอกคูกบสญลักษณ์กระแสข ้อมูลเสมอ
 โดยที่
         ้ี                                                     ่
   ลูกศรชเข ้า หมายถึง เป็ นการนาข ้อมูลจากหน่วยงานภายนอกเข ้าสูระบบ
         ้ี           ่
   ลูกศรชออก หมายถึง สงข ้อมูลจากระบบไปให ้หน่วยงานภายนอก
่ ้
กฎทีใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล

 การประมวลผล(Process)




  ในการประมวลผลจะมีข ้อมูลเข ้าอย่างเดียวไม่ได ้
่ ้
กฎทีใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล

 การประมวลผล(Process)




  ในการประมวลผลจะมีข ้อมูลออกอย่างเดียวไม่ได ้
่ ้
กฎทีใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล

 การประมวลผล(Process)




  ข ้อความที่บ รรจุ อ ยู่ ใ นการประมวลผลจะต ้องเป็ นค ากริย า หรื อ
  คานามทีแสดงถึงกริยาเท่านัน
         ่                 ้
่ ้
กฎทีใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล

 แหล่งเก็บข ้อมูล(Data Store)




  ไม่ ส ามารถส่ง ข ้อมูล โดยตรงจาก แหล่ง เก็ บ ข ้อมูล อั น หนึ่ง ไปยั ง
  แ ห ล่ ง เ ก็ บ ข อ มู ล อี ก อั น ได โ ด ย ต ร ง ข อ มู ล ต อ ง ผ่ า น ก า ร จ า ก
                    ้                   ้             ้        ้
  ประมวลผลจึงจะไปที่ แหล่งเก็บข ้อมูลได ้
่ ้
กฎทีใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล

 แหล่งเก็บข ้อมูล(Data Store)




 ไม่ส ามารถส่งข ้อมูล จากส งทีอยู่ภ ายนอก(External
                           ิ่ ่                          Entity)ไปยั ง
 แหล่งเก็บข ้อมูลได ้โดยตรง ข ้อมูลต ้องผ่านจากการประมวลผล ทีได ้รับ
                                                             ่
                                      ่
 ข ้อมูลจากแหล่งข ้อมูลภายนอกแล ้วจึงสงต่อให ้ แหล่งเก็บข ้อมูล
่ ้
กฎทีใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล

 แหล่งเก็บข ้อมูล(Data Store)




 ไม่สามารถส่งข ้อมูลจากแหล่งเก็บข ้อมูลไปยังสงทีอยู่ภายนอกระบบ
                                             ิ่ ่
 ปลายทางได โ ดยตรง ต อ งส่ ง ผ่ า น การประมวลผลไปยั ง ส ิ่ง ที่ อ ยู่
           ้         ้
 ภายนอกระบบ
่ ้
กฎทีใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล

 แหล่งเก็บข ้อมูล(Data Store)




 ข ้อความทีบรรจุอยูในแหล่งเก็บข ้อมูลต ้องเป็ นคานาม
           ่       ่
่ ้
กฎทีใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล

 กระแสข ้อมูล(Data Flow)




 กระแสข ้อมูล จะมีทศทางการไหลของข ้อมูลเพียงทิศเดียวใน 1 กระแส
                   ิ
 ข ้อมูล เนืองจากไม่มการทางานใดทีเกิดขึนพร ้อมกัน
            ่        ี           ่     ้
่ ้
กฎทีใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล

 กระแสข ้อมูล(Data Flow)




 การแยกของข ้อมูลออกจาก เสนกระแสข ้อมูล ไปสู่ การประมวลผล อืน
                          ้                                 ่
 ๆ พร ้อมกัน ต ้องเป็ นข ้อมูลเดียวกัน
่ ้
กฎทีใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล

 กระแสข ้อมูล(Data Flow)




 การเช อ มข ้อมู ล จากข ้อมูล มากกว่า 1 แหล่ง เข ้าสู่ เส นกระแสข ้อมู ล
       ื่                                                 ้
 เดียวกันต ้องเป็ นข ้อมูลเดียวกัน
่ ้
กฎทีใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล

 กระแสข ้อมูล(Data Flow)




 กระแสข ้อมู ล ไม่ ส ามารถไหลกลั บ เข ้าสู่ก ารประมวลเดิม ได ้โดยตรง
 จะต ้องมีการประมวลอย่างน ้อยหนึ่งอย่างมาจั ดการกับข ้อมูลดังกล่าว
 ก่อน สร ้างกระแสข ้อมูล อืน แล ้วจึงคืน ค่ากระแสข ้อมูลเดิมกลับมายั ง
                           ่
 การประมวลผลเริมต ้น
               ่
่ ้
กฎทีใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล

 กระแสข ้อมูล(Data Flow)




 ข ้อความทีอยูบน Data Flow จะเป็ นคานาม
           ่ ่
่ ้
กฎทีใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล

  ิ่ ่ ่
 สงทีอยูภายนอก(External Entity)




           ่                  ิ่ ่ ่                       ิ่
 ไม่สามารถสงข ้อมูลโดยตรงจาก สงทีอยูภายนอกระบบอันหนึงไปยังสง
                                                    ่
 ที่ อ ยู่ ภ า ย นอ ก ร ะ บ บ อี ก อั น ไ ด โ ด ย ต ร ง ข อ มู ล ต อ ง ผ่ า น ก า ร จ า ก
                                            ้             ้        ้
 ประมวลผลภายในระบบก่อ นจึง ส่ง ไปยั ง ส ง ที่อ ยู่ ภ ายนอกระบบภาย
                                        ิ่
 ปลายทางได ้
่ ้
กฎทีใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล

  ิ่ ่ ่
 สงทีอยูภายนอก(External Entity)




           ่       ่  ิ่ ่ ่
 ข ้อความทีบรรจุอยูในสงทีอยูภายนอกระบบต ้องเป็ นคานาม
ประเภทของแผนภาพกระแสข ้อมูล

 การเขียน DFD นันสามารถเขียนได ้ 2 แบบ คือ
                ้
 1) แบบตรรกะ (Logical Data Flow Diagram)
     แผนภาพนี้จ ะเป็ นการเน ้นในส่วนของธุร กิจ ว่าธุร กิจ มีการท างาน
     อย่า งไร มีเ หตุก ารณ์ อ ะไรบ ้างที่เ กิด ขึน ,
                                                 ้     ข ้อมูล ที่ต ้องการมี
     อะไรบ ้าง และได ้ข ้อมูลอะไรจากเหตุการณ์นันๆ แต่ไม่ได ้บอกว่า
                                               ้
     ระบบจะถูกสร ้างอย่างไร
 2) แบบกายภาพ (Physical Data Flow Diagram)
     แผนภาพนี้ จ ะบอกได ว่ า จะสร า งระบบอย่ า งไร ประกอบด ว ย
                        ้         ้                        ้
     ฮาร์ดแวร์, ซอฟต์แวร์, แฟ้ มข ้อมูล และบุคคลใดทีเกียวข ้องบ ้างใน
                                                    ่ ่
     ระบบ
ประเภทของแผนภาพกระแสข ้อมูล

ข ้อแตกต่างระหว่างแผนภาพกระแสข ้อมูลแบบตรรกะ กับแบบกายภาพ

  ขันตอนการประมวลผล
     ้

 Logical DFD -> แสดงถึง ธุรกิจสามารถทีจะดาเนินการได ้อย่างไร
                                      ่

 Physical DFD -> แสดงถึง ระบบสามารถทีจะทางานได ้อย่างไร
                                     ่


 Logical DFD -> เป็ นกิจกรรมทางธุรกิจ

 Physical DFD -> เป็ นโปรแกรม หรือโมดูล หรือขันตอนการทางานที่
                                              ้
                  ทาด ้วยมือ
ประเภทของแผนภาพกระแสข ้อมูล

ข ้อแตกต่างระหว่างแผนภาพกระแสข ้อมูลแบบตรรกะ กับแบบกายภาพ

  แหล่งเก็บข ้อมูล

 Logical DFD -> เป็ นแหล่งทีเก็บรวบรวมข ้อมูลลักษณะใดก็ได ้
                            ่

 Physical DFD -> เป็ น Physical File, Database และ Manual File

  ชนิดของแหล่งเก็บข ้อมูล

 Logical DFD -> เป็ นการเก็บข ้อมูลแบบถาวร

 Physical DFD -> เป็ นการเก็บข ้อมูลทีแยกเป็ นแฟ้ มหลัก และแฟ้ ม
                                      ่
                  รายการ ต ้องการประมวลผลในเวลาทีแตกต่างกัน
                                                        ่
                             ื่                 ้
                  สามารถเชอมต่อกันได ้โดยใชแหล่งเก็บข ้อมูล
ประเภทของแผนภาพกระแสข ้อมูล

ข ้อแตกต่างระหว่างแผนภาพกระแสข ้อมูลแบบตรรกะ กับแบบกายภาพ

  การควบคุมระบบ

 Logical DFD -> เป็ นการควบคุมทีเกียวข ้องกับธุรกิจ
                                ่ ่

 Physical DFD -> แสดงถึง การควบคุมสาหรับการป้ อนข ้อมูลที่
                   ถูกต ้อง
ประเภทของแผนภาพกระแสข ้อมูล

ประโยชน์ของการสร ้างแผนภาพกระแสข ้อมูลแบบตรรกะ (Logical DFD)

1)    ่         ื่               ้
     ชวยให ้การสอสารระหว่างผู ้ใชงานให ้ดีขน
                                           ึ้

2)    ่
     ชวยให ้ระบบมีความมั่นคงมากขึน
                                 ้

3)   ช ่ว ยให ้นั ก วิเ คราะห์ร ะบบมีค วามเข ้าใจกั บ การด าเนิน งานของระบบได ้

      ั
     ชดเจน

4)    ่
     ชวยในการบารุงรักษาและมีความยืดหยุนมากขึน
                                      ่     ้

5)   ชว ยลดความซับ ซอน และง่า ยต่อ การสร ้างแผนภาพกระแสข ้อมูล แบบ
      ่             ้

     กายภาพต่อไป
ประเภทของแผนภาพกระแสข ้อมูล

ประโยชน์ของการสร ้างแผนภาพกระแสข ้อมูลแบบกายภาพ (Physical DFD)

1) ขันตอนการประมวลผลนั นเป็ นการทางานด ้วยระบบมือ หรือระบบอัตโนมัต ิ
     ้                 ้

2) แผนภาพแบบกายภาพจะอธิบ ายรายละเอีย ดขั น ตอนการประมวลผลได ้
                                         ้

   ละเอียด

3) มีการแสดงถึงลาดับขันตอนการทางาน
                      ้
การพัฒนาแผนภาพกระแสข ้อมูล

 1)        ก าหนดรายการกิจ กรรมต่า งๆ ของธุร กิจ และแยกออกมาว่า อยู่ใ น
 รูปแบบใด (External Entities หรือ Data Flows หรือ Processes หรือ Data
 Stores)
 2)        สร ้างแผนภาพระดับสูงสุด (Context         Diagram)        ึ่
                                                                   ซงแสดงถึง
 External Entities และข ้อมูลทีไหลเข ้าและออกจากระบบหลัก โดยไม่สนใจ
                               ่
 แหล่งเก็บข ้อมูล
 3)        เขีย น Diagram       ระดั บ ถั ด ไป คือ แผนภาพระดั บ ล่า ง (เรีย กว่า
                                 ึ่
 Diagram 0 หรือ Parent Diagram) ซงแสดงถึง Process ต่างๆ ทีม ี แต่เขียน
                                                          ่
 ให ้อยูในรูปแบบทั่วไป พร ้อมกันนั นให ้แสดง Data Store ในระดับนีด ้วย
        ่                          ้                             ้
การพัฒนาแผนภาพกระแสข ้อมูล

 4)      สร ้างแผนภาพระดับลูกของแต่ละ Process ใน Diagram 0 เรียก
 แผนภาพในระดับนี้วา แผนภาพกระแสข ้อมูลระดับ 1 (Level-1 diagram) ถ ้า
                  ่
 หากมีรายละเอียดของการทางานย่อยจากระดับนี้อก ก็ให ้แตกรายละเอียด ลง
                                           ี
             ิ้    ่  ื่
 ไปจนกระทั่งสนสุด สวนชอของระดับก็จะเป็ น Level-2 diagram , Level-3
 diagram ไปเรือยๆ จนกระทั่งหมด
              ่
 5)                                             ้
         ตรวจสอบหาข ้อผิดพลาด และดูวาคากากับบนเสน Data Flow แต่
                                    ่
     ้                              ื่
 ละเสน รวมถึง Process แต่ละอันนั น สอความหมายหรือไม่
                                 ้
 6)      หลั ง จากเขี ย นแผนภาพจนครบทุ ก การท างานแล ว ให ท าการ
                                                     ้    ้
 ตรวจสอบสมดุล ระหว่างข ้อมูลเข ้าและข ้อมูลออกของแผนภาพ DFD      กับ
 Context diagram
การพัฒนาแผนภาพกระแสข ้อมูล

 7)       พัฒนารูปแบบใหม่ จาก Logical Data Flow Diagram ให ้ไปอยูใน
                                                                 ่
 รูป Physical Data Flow Diagram เพือแยกระหว่างระบบทีทาด ้วยมือ กับ
                                   ่                ่
 ระบบทีทางานอัตโนมัต ิ
       ่
 8)            ่
          แบ่งสวนของ Physical Data Flow Diagram โดยการแยกหรือ
 แบ่งกลุมของ Diagram
        ่                ออก เพือให ้สามารถนาไปเขียนโปรแกรม หรือเพือ
                                ่                                  ่
 การดาเนินการระบบได ้
การพัฒนาแผนภาพกระแสข ้อมูล

แผนภาพกระแสข ้อมูลระดับสูงสุด (Context Diagram)




 แผนภาพกระแสข ้อมู ล ระดั บ สู ง สุ ด เป็ นแผนภาพที่แ สดงถึง ขอบเขตของ
 สารสนเทศนั น โดยจะเป็ นมุมมองระดับสูงว่ามีหน่วยงานใดเกียวข ้องบ ้าง ติดต่อ
            ้                                           ่
 กั บ ระบบโดยมีก ารรั บ และส ่ง ข ้อมูล ใดกั บ ระบบ ซ ง แผนภาพระดั บ นี้ จ ะยั ง ไม่
                                                      ึ่
           ั
 กล่าวถึง สญลักษณ์การเก็บข ้อมูล (Data Store Symbol)
การพัฒนาแผนภาพกระแสข ้อมูล

แผนภาพกระแสข ้อมูลระดับสูงสุด (Context Diagram)


 หลักการสร ้าง Context Diagram ทีด ี
                                 ่
 1) ควรจะเขียนให ้ครอบคลุมระบบ ให ้อยูใน 1 หน ้ากระดาษ
                                      ่
     ื่                    ื่
 2) ชอของ Process ควรเป็ นชอของระบบสารสนเทศ นั น
                                               ้
 3) ช ื่อ ที่เ ขีย นก ากั บ สั ญ ลั ก ษณ์ ต่ า งๆ จะต ้องเขีย นโดยไม่ ใ ห ้ช ื่อ ซ้ า กั น ถ ้า
  ั             ิ่ ่
 สญลักษณ์นันแทนสงทีแตกต่างกัน
           ้
                  ้ ่                   ้
 4) ควรหลีกเลียงเสนทีจะต ้องเขียนคร่อมเสนกัน
              ่
                 ื่
 5) ในการเขีย นช อ ย่อ จะต ้องเขีย นโดยบั น ทึก ความหมายของตั ว ย่อ นั ้น ใน
 พจนานุกรมข ้อมูล (Data Dictionary)
การพัฒนาแผนภาพกระแสข ้อมูล

แผนภาพกระแสข ้อมูลระดับสูงสุด (Context Diagram)




                                                 ่ั ื้ ิ
     ตัวอย่างการเขียน Context Diagram ของระบบการสงซอสนค ้
การพัฒนาแผนภาพกระแสข ้อมูล

แผนภาพกระแสข ้อมูลระดับล่าง (Diagram 0 หรือ Parent Diagram)




แผนภาพกระแสข ้อมูล ระดั บ ล่า ง เป็ นแผนภาพที่ใ ห ้รายละเอีย ดเพิม เติม จาก
                                                                 ่
                                                                ึ่
แผนภาพระดั บ สูง สุด ท าให ้เห็ น ภาพรวมของแผนภาพกระแสข ้อมูล ซ ง จะมี
รายละเอียดมากกว่าแผนภาพกระแสข ้อมูลระดับสูงสุด
การพัฒนาแผนภาพกระแสข ้อมูล

แผนภาพกระแสข ้อมูลระดับล่าง (Diagram 0 หรือ Parent Diagram)

หลักการสร ้างแผนภาพกระแสข ้อมูลระดับล่าง
1) การเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูลควรเขียนให ้ดูงายและให ้แสดงอยูในกระดาษ
                                            ่               ่
แผ่นเดียว
2) ลูกศรไม่ควรทับหรือข ้ามกัน
3) แต่ละ Process จะต ้องมีหมายเลขกากับเป็ นเลขจานวนเต็ม โดยการลาดับ
หมายเลข Process        ไม่ไ ด ้ หมายถึง การทางานต ้องทางานตามลาดับของ
Process และ Process ไม่สามารถทาการซ้าได ้
การพัฒนาแผนภาพกระแสข ้อมูล

แผนภาพกระแสข ้อมูลระดับล่าง (Diagram 0 หรือ Parent Diagram)




                                        ั่ ื้ ิ
  ตัวอย่างการเขียน Diagram 0 ของระบบการสงซอสนค ้า
การพัฒนาแผนภาพกระแสข ้อมูล

แผนภาพกระแสข ้อมูลระดับล่าง (Diagram 0 หรือ Parent Diagram)

หลักการสร ้างแผนภาพกระแสข ้อมูลระดับล่าง
4)        External Entity ทังหมดของระบบ ทีเขียนใน Context Diagram
                            ้             ่
จะต ้องแสดงอยู่ใน Diagram     0     ด ้วย โดยทีส ามารถทาการซ้ า ได ้ ด ้วย
                                               ่
                        ้     ั
เครืองหมาย  ตรงมุมล่างซายของสญลักษณ์ External Entity
    ่




            สงทีอยูนอกระบบและการทาซ้าสงทีอยูนอกระบบ
             ิ่ ่ ่                   ิ่ ่ ่
5)        จ านวน Process     ไม่ค วรมีม ากเกิน ไป หรือ น อ ยเกิน ไป จ านวน
                                                         ้
Process    ทีมากเกินไปจะทาให ้แผนภาพกระแสข ้อมูลอ่านยาก และมีความ
             ่
 ั ้
ซบซอนยิงขึน
       ่ ้
การพัฒนาแผนภาพกระแสข ้อมูล

แผนภาพกระแสข ้อมูลระดับตา (Lower Level Data Flow Diagram)
                        ่

                                             Diagram 0

                                             (DFD Level 0)




       Lower Level

      (DFD Level 1)
การพัฒนาแผนภาพกระแสข ้อมูล

แผนภาพกระแสข ้อมูลระดับตา (Lower Level Data Flow Diagram)
                        ่

หลักการสร ้างแผนภาพกระแสข ้อมูลระดับตา
                                     ่
1) แต่ละ Process บน Diagram 0 (หรือ Parent Process) สามารถนามาสร ้าง
Diagram ย่อย (เรียกว่า Child Diagram) ได ้
2) ในการสร ้าง Child    Diagram      นั ้น ข ้อมูล ทีเข ้ามาและออกจาก Child
                                                     ่
Diagram จะต ้องเป็ นข ้อมูลทีเข ้ามาและออกจาก Parent Process
                             ่
3) เมือมีการแยก Process
      ่                    ออกเป็ น Child    Diagram    จะต ้องมีการกาหนด
                                     ้       ้                      ่
หมายเลขลาดับให ้กับ Child Diagram นั นโดยจะตังตาม Parent Process (เชน
Process 3 แยกเป็ น Diagram Level-1 ของ Process ที่ 3)
การพัฒนาแผนภาพกระแสข ้อมูล

แผนภาพกระแสข ้อมูลระดับตา (Lower Level Data Flow Diagram)
                        ่

หลักการสร ้างแผนภาพกระแสข ้อมูลระดับตา
                                     ่
                                                    ้
4) หมายเลขกากับแต่ละ Process ใน Child Diagram ก็จะใชหมายเลขขึนต ้น
                                                             ้
เหมือน Parent   Process   แล ้วตามด ้วยจุดทศนิยม และหมายเลขย่อยลงไป
   ่
(เชน Parent Process เป็ น Process 3 ดังนั นใน Diagram 3 ก็จะมี Process
                                          ้
3.1,3.2,3.3 ไปเรือยๆจนกว่าจะหมด)
                 ่
5) โดยปกติแล ้ว External Entity มักจะไม่แสดงบน Child Diagram ทีตากว่า
                                                               ่ ่
Diagram 0
6) บน Child Diagram อาจมี Data Store ปรากฏขึนมา โดยทีไม่มใน Parent
                                            ้        ่   ี
Process ได ้
7) Process ต่างๆ อาจมีการแตกหรือไม่แตกเป็ น Child Diagram ก็ได ้ ขึนอยู่
                                                                   ้
             ั ้
กับระดับความซบซอนของ Process นั นๆ
                                ้
การพัฒนาแผนภาพกระแสข ้อมูล

แผนภาพกระแสข ้อมูลระดับตา (Lower Level Data Flow Diagram)
                        ่
การพัฒนาแผนภาพกระแสข ้อมูล

การตรวจสอบแผนภาพกระแสข ้อมูลเพือหาข ้อผิดพลาด
                               ่

 1) ตรวจสอบว่า มีก ารใช สัญ ลัก ษณ์ ต่างๆ ถูก ต ้องตามกฎการเขีย นแผนภาพ
                        ้
กระแสข ้อมูล หรือไม่
                                           ้                  ้
2) ตรวจสอบหาข ้อผิดพลาด และดูวา คากากับบนเสน Data Flow แต่ละเสน
                              ่
                             ื่
รวมถึง Process แต่ละอันนั น สอความหมายหรือไม่
                          ้
3) ตรวจสอบสมดุ ล ระหว่ า งข ้อมู ล เข ้าและข ้อมู ล ออกของแผนภาพ นั่ น คือ
ตรวจสอบว่าแผนภาพระดับสูงสุด (Context Diagram) มีความสมดุลระหว่าง
ข ้อมูลเข ้าและข ้อมูลออก กับแผนภาพระดับล่าง (Diagram    0)   หรือไม่ และ
ตรวจสอบว่าแผนภาพระดับล่าง มีความสมดุลระหว่างข ้อมูลเข ้าและข ้อมูลออก
กับแผนภาพระดับตา (Child Diagram) หรือไม่
               ่

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสารผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสาร
Attachoke Putththai
 
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
skiats
 
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
Visiene Lssbh
 
ใบงานที่ 10 การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 10  การสร้างแผนภูมิใบงานที่ 10  การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 10 การสร้างแผนภูมิ
Meaw Sukee
 
เอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชีเอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชี
Attachoke Putththai
 
การ Normalization
การ Normalizationการ Normalization
การ Normalization
skiats
 
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
peter dontoom
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชี
ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชีความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชี
ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชี
Attachoke Putththai
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
Srion Janeprapapong
 

Mais procurados (20)

ผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสารผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสาร
 
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
 
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)
การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)
การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)
 
ใบงานที่ 10 การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 10  การสร้างแผนภูมิใบงานที่ 10  การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 10 การสร้างแผนภูมิ
 
เอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชีเอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชี
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
การ Normalization
การ Normalizationการ Normalization
การ Normalization
 
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
 
แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel
แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excelแผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel
แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel
 
Power Point
Power PointPower Point
Power Point
 
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheetsการเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
 
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
 
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภาการบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชี
ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชีความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชี
ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชี
 
บทที่ 4 er diagram
บทที่ 4 er diagramบทที่ 4 er diagram
บทที่ 4 er diagram
 
การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ
การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ
การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ
 
โครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
โครงงานโปรเจ็คเวิร์คโครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
โครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
บทที่ 5 การแปลง er diagram ให้เป็น table
บทที่ 5 การแปลง er diagram ให้เป็น tableบทที่ 5 การแปลง er diagram ให้เป็น table
บทที่ 5 การแปลง er diagram ให้เป็น table
 

Semelhante a การเขียนแผนภาพ DFD

งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
nuknook
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
Passawan' Koohar
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
Paweena Kittitongchaikul
 
Data processing
Data processingData processing
Data processing
chukiat008
 
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 pp
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 ppนางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 pp
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 pp
hattayachuesomkiet
 
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 pp
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 ppนางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 pp
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 pp
hattayachuesomkiet
 
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศบทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
Pokypoky Leonardo
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
Paweena Kittitongchaikul
 
ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)
Theruangsit
 
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นC:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
-
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
Ssab Sky
 

Semelhante a การเขียนแผนภาพ DFD (20)

3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
Database1
Database1Database1
Database1
 
Chapter02
Chapter02Chapter02
Chapter02
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Data processing
Data processingData processing
Data processing
 
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 pp
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 ppนางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 pp
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 pp
 
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 pp
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 ppนางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 pp
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 pp
 
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศบทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)
 
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นC:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
Flowchart
FlowchartFlowchart
Flowchart
 
20110110 information repackaging
20110110 information repackaging20110110 information repackaging
20110110 information repackaging
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 
Ppt 01
Ppt 01Ppt 01
Ppt 01
 
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
 

Mais de skiats

การ Setup disk quota กับ user ทุกคน
การ Setup disk quota กับ user ทุกคนการ Setup disk quota กับ user ทุกคน
การ Setup disk quota กับ user ทุกคน
skiats
 
รูปแบบโครงการ
รูปแบบโครงการรูปแบบโครงการ
รูปแบบโครงการ
skiats
 
ตัวแปรและค่าคงที่ basic data type
ตัวแปรและค่าคงที่ basic data typeตัวแปรและค่าคงที่ basic data type
ตัวแปรและค่าคงที่ basic data type
skiats
 
4 - statement
4  - statement4  - statement
4 - statement
skiats
 
การใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadminการใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadmin
skiats
 
แบบจำลองข้อมูล
แบบจำลองข้อมูลแบบจำลองข้อมูล
แบบจำลองข้อมูล
skiats
 
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
skiats
 
การรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการการรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการ
skiats
 
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
skiats
 
รวบรวมความต้องการ
รวบรวมความต้องการรวบรวมความต้องการ
รวบรวมความต้องการ
skiats
 
DFD ภาษาอังกฤษ
DFD ภาษาอังกฤษDFD ภาษาอังกฤษ
DFD ภาษาอังกฤษ
skiats
 
วงจรพัฒนาระบบ SDLC
วงจรพัฒนาระบบ SDLCวงจรพัฒนาระบบ SDLC
วงจรพัฒนาระบบ SDLC
skiats
 
ความหมายการวิเคราะห์ระบบ
ความหมายการวิเคราะห์ระบบความหมายการวิเคราะห์ระบบ
ความหมายการวิเคราะห์ระบบ
skiats
 
อุปกรณ์รับและแสดงผล
อุปกรณ์รับและแสดงผลอุปกรณ์รับและแสดงผล
อุปกรณ์รับและแสดงผล
skiats
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
skiats
 
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลLecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
skiats
 
Lecture7 การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบโมเดลเชิงสัมพันธ์
Lecture7 การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบโมเดลเชิงสัมพันธ์Lecture7 การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบโมเดลเชิงสัมพันธ์
Lecture7 การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบโมเดลเชิงสัมพันธ์
skiats
 
Lecture5 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
Lecture5 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์Lecture5 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
Lecture5 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
skiats
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
skiats
 
Lesson1 programing concept
Lesson1 programing conceptLesson1 programing concept
Lesson1 programing concept
skiats
 

Mais de skiats (20)

การ Setup disk quota กับ user ทุกคน
การ Setup disk quota กับ user ทุกคนการ Setup disk quota กับ user ทุกคน
การ Setup disk quota กับ user ทุกคน
 
รูปแบบโครงการ
รูปแบบโครงการรูปแบบโครงการ
รูปแบบโครงการ
 
ตัวแปรและค่าคงที่ basic data type
ตัวแปรและค่าคงที่ basic data typeตัวแปรและค่าคงที่ basic data type
ตัวแปรและค่าคงที่ basic data type
 
4 - statement
4  - statement4  - statement
4 - statement
 
การใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadminการใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadmin
 
แบบจำลองข้อมูล
แบบจำลองข้อมูลแบบจำลองข้อมูล
แบบจำลองข้อมูล
 
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
 
การรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการการรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการ
 
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
 
รวบรวมความต้องการ
รวบรวมความต้องการรวบรวมความต้องการ
รวบรวมความต้องการ
 
DFD ภาษาอังกฤษ
DFD ภาษาอังกฤษDFD ภาษาอังกฤษ
DFD ภาษาอังกฤษ
 
วงจรพัฒนาระบบ SDLC
วงจรพัฒนาระบบ SDLCวงจรพัฒนาระบบ SDLC
วงจรพัฒนาระบบ SDLC
 
ความหมายการวิเคราะห์ระบบ
ความหมายการวิเคราะห์ระบบความหมายการวิเคราะห์ระบบ
ความหมายการวิเคราะห์ระบบ
 
อุปกรณ์รับและแสดงผล
อุปกรณ์รับและแสดงผลอุปกรณ์รับและแสดงผล
อุปกรณ์รับและแสดงผล
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลLecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
 
Lecture7 การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบโมเดลเชิงสัมพันธ์
Lecture7 การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบโมเดลเชิงสัมพันธ์Lecture7 การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบโมเดลเชิงสัมพันธ์
Lecture7 การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบโมเดลเชิงสัมพันธ์
 
Lecture5 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
Lecture5 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์Lecture5 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
Lecture5 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
Lesson1 programing concept
Lesson1 programing conceptLesson1 programing concept
Lesson1 programing concept
 

การเขียนแผนภาพ DFD

  • 1. บทที่ 4 แผนภาพกระแสข ้อมูล (Data Flow Diagram) ิ ิ อาจารย์ ศรรัตน์ ตรงวัฒนาวุฒ ิ
  • 2. เนือหา ้  ความหมายของแผนภาพกระแสข ้อมูล ั ี่ ้  สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล ่ ้  กฎทีใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล  ประเภทของแผนภาพกระแสข ้อมูล  การพัฒนาแผนภาพกระแสข ้อมูล
  • 3. วัตถุประสงค์ 1) ทราบความส าคั ญ และวั ต ถุป ระสงค์ข องแผนภาพกระแสข ้อมู ล (Data Flow Diagram) 2) เข ้าใจสั ญ ลั ก ษณ์ ต่ า งๆ และขั น ตอนการเขีย นแผนภาพกระแส ้ ข ้อมูล 3) สามารถวิเคราะห์และเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูลได ้
  • 4. เอกสาร แบบฟอร์ม ิ สร ้างแบบจาลองเชงตรรกะ รายงาน (Logical Model) ั บทสรุปการสมภาษณ์
  • 5. ความหมายของแผนภาพกระแสข ้อมูล (Data Flow Diagram) แผนภาพกระแสข ้อมูล (Data Flow Diagram: DFD) หรือเรียกอีก อย่างหนึงว่า แผนภาพการไหลของข ้อมูล ่ ้ เป็ นเครื่อ งมือ ที่ใ ช เพื่อ แสดงการไหลของข ้อมูล และการประมวลผล ต่างๆ ในระบบ สมพันธ์กบแหล่งเก็บข ้อมูลทีใช ้ ั ั ่ เป็ นส ื่อ ที่ช ่ว ยให ้การวิเ คราะห์เ ป็ นไปได ้โดยง่ า ย และมีค วามเข ้าใจ ตรงกัน ระหว่า งผู ้วิเ คราะห์ร ะบบเอง หรือ ระหว่า งผู ้วิเ คราะห์ร ะบบกับ ้ โปรแกรมเมอร์ หรือระหว่างผู ้วิเคราะห์ระบบกับผู ้ใชระบบ
  • 6. ้ ประโยชน์ทได ้จากการใชแผนภาพกระแสข ้อมูล ี่ 1) มีค วามอิส ระในการใช งาน โดยไม่ ต ้องมีเ ทคนิ ค อื่น มาช ่ ว ย เนื่ อ งจาก ้ ้ ั ิ่ ่ ิ สามารถใชสญลักษณ์ตางๆ แทนสงทีวเคราะห์มา ่ 2) เป็ นสอทีง่ายต่อการแสดงความสัมพั นธ์ระหว่างระบบใหญ่และระบบย่อ ย ื่ ่ ึ่ ั ซงจะทาให ้เข ้าใจความสมพันธ์ตาง ๆ ได ้ดี ่ 3) เป็ นส อ ที่ช ่ว ยในการวิเ คราะห์ร ะบบให ้เป็ นไปได ้ง่า ย และมีค วามเข ้าใจ ื่ ตร ง กั น ระ ห ว่ า ง ผู ว ิ เ ค รา ะ ห์ ร ะบ บ ห รื อ ร ะ ห ว่ า ง ผู ว ิ เ ค ร า ะ ห์ ร ะ บ บ กั บ ้ ้ โปรแกรมเมอร์ หรือระหว่างผู ้วิเคราะห์ระบบกับผู ้ใช ้ ่ 4) ชว ยในการวิเ คราะห์ร ะบบให ้สะดวก โดยสามารถเห็น ข ้อมูล และขัน ตอน ้ ต่างๆ เป็ นแผนภาพ
  • 7. ี่ ้ สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล สัญลักษณ์ท ใช ในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล ประกอบด ้วย ี่ ้ 4 ั สญลักษณ์ คือ ั 1) สญลักษณ์การประมวลผล (Process Symbol) ั 2) สญลักษณ์กระแสข ้อมูล (Data Flow Symbol) ั 3) สญลักษณ์แหล่งเก็บข ้อมูล (Data Store Symbol) ั ิ่ ่ ่ 4) สญลักษณ์สงทีอยูภายนอก (External Entity Symbol)
  • 8. ี่ ้ สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล
  • 9. ี่ ้ สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล ั สญลักษณ์การประมวลผล (Process Symbol) การประมวลผล (Process) เป็ นการเปลียนแปลงข ้อมูลจากรูปแบบหนึง (Input) ่ ่ ไปเป็ นอีกรูปแบบหนึง (Output) ่ ่ เชน การคานวณรายได ้สุทธิของลูกจ ้างรายวัน จะต ้องประกอบด ้วยข ้อมูลนาเข ้า ั่ ั่ ทีเป็ น ”อัตราค่าจ ้างต่อชวโมง” และ “จานวนชวโมงการทางาน” เมือผ่านการ ่ ่ ประมวลผลแล ้วจะได ้ “รายได ้สุทธิ”
  • 10. ี่ ้ สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล ั สญลักษณ์การประมวลผล (Process Symbol) ตัวอย่างการประมวลผล ได ้แก่ ั 1) คานวณค่าคอมมิชชน ั่ ื้ 2) ตรวจสอบใบสงซอ 3) ลงทะเบียน เป็ นต ้น
  • 11. ี่ ้ สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล ั สญลักษณ์การประมวลผล (Process Symbol) ้ ั การใชสญลักษณ์การประมวลผล ้ ั ั 1) ต ้องใชสญลักษณ์การประมวลผล (Process) คูกับสญลักษณ์ กระแสข ้อมูล ่ ี้ (Data Flow) เสมอ โดยทีถ ้าลูกศรชเข ้าหมายถึงเป็ นข ้อมูลนาเข ้า ถ ้าลูกศร ่ ี้ ึ่ ชออกหมายถึงเป็ นข ้อมูลออกจากการประมวลผล ซง 1 Process สามารถมี ้ ้ ข ้อมูลนาเข ้ามากกว่า 1 เสน หรือข ้อมูลออกมากกว่า 1 เสนได ้ ข ้อมูลนาเข ้า ข ้อมูลออก
  • 12. ี่ ้ สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล ั สญลักษณ์การประมวลผล (Process Symbol) ้ ั การใชสญลักษณ์การประมวลผล ้ ื่ 2) การตังชอของ Process ควรเป็ นวลีเดียวทีอธิบายการทางานทังหมดได ้ ่ ้ และควรอธิบายการทางานอย่างใดอย่างหนึงโดยเฉพาะมากกว่าทีจะอธิบาย ่ ่ ่ การทางานอย่างกว ้างๆ เชน หากแสดงถึงการประมวลผล “ตรวจสอบ รายการ” ควรจะระบุว่าเป็ น “การตรวจสอบรายการถอนเงิน ” หรือ ้ ั “ตรวจสอบรายการค่าใชจ่ายรายสปดาห์” เป็ นต ้น 3) แต่ละ Process จะมีแต่ข ้อมูลเข ้าอย่างเดียว หรือออกอย่างเดียวไม่ได ้
  • 13. ี่ ้ สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล ั สญลักษณ์การประมวลผล (Process Symbol) ้ ั ตัวอย่างการใชสญลักษณ์การประมวลผล (Process)
  • 14. ี่ ้ สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล ั สญลักษณ์กระแสข ้อมูล (Data Flow Symbol) เป็ นเส นทางในการไหลของข ้อมูลจากส ่ว นหนึ่ง ไปยั ง อีก ส ่ว นหนึ่ง ของระบบ ้ ึ่ สารสนเทศ โดยจะมีลกศรแสดงถึงการไหลจากปลายลูกศร ไปยังหัวลูกศร ซง ู ่ ้ ข ้อมูลทีปรากฏบนเสนนี้จะเป็ นได ้ทังข ้อความ ตัวเลข รายการเรคคอร์ดทีระบบ ้ ่ คอมพิวเตอร์สามารถนาไปประมวลผลได ้
  • 15. ี่ ้ สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล ั สญลักษณ์กระแสข ้อมูล (Data Flow Symbol) ตัวอย่างกระแสข ้อมูล ได ้แก่ ั่ ื้ ิ 1) ใบสงซอสนค ้า 2) ใบเสร็จรับเงิน ึ 3) เกรดของนั กศกษา ่ 4) ใบสงของทีผานการตรวจสอบแล ้ว ่ ่ เป็ นต ้น
  • 16. ี่ ้ สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล ั สญลักษณ์กระแสข ้อมูล (Data Flow Symbol) ้ ั การใชสญลักษณ์กระแสข ้อมูล ้ ่ ิ่ ่ ่ 1) กระแสข ้อมูลสามารถใชคูกับการประมวลผล (Process), สงทีอยูนอกระบบ (External Entities) หรือแหล่งเก็บข ้อมูล (Data Store) ก็ได ้ ขึนอยูกับ ้ ่ ้ ่ ้ ่ ระบบงานว่า ข ้อมูลนั นจะนาไปไว ้ทีไหน หรือข ้อมูลนั นจะนาออกจากสวนใด
  • 17. ี่ ้ สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล ั สญลักษณ์กระแสข ้อมูล (Data Flow Symbol) ้ ั การใชสญลักษณ์กระแสข ้อมูล 2) การตั ้ง ช ื่อ กระแสข อ มู ล โดยทั่ ว ไปจะตั ง ช ื่อ ด ว ยค าเพี ย งค าเดี ย ว ที่ ม ี ้ ้ ้ ความหมายชั ด เจนและเข ้าใจง่า ย ควรก ากั บ ช อ บนเส นด ้วย ค านาม เช ่น ื่ ้ ั่ ื้ ิ “เวลาทางาน”, ใบสงซอสนค ้า” เป็ นต ้น
  • 18. ี่ ้ สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล ั สญลักษณ์กระแสข ้อมูล (Data Flow Symbol) ้ ั การใชสญลักษณ์กระแสข ้อมูล ้ ื่ 3) ควรตังช อ กระแสข ้อมูล ตามข ้อมูล ทีไ ด ้เปลีย นแปลงไปแล ้วหลัง จากออก ่ ่ ้ จากการประมวลผล เนื่องจากการประมวลผลหรือ Process ใชแสดงถึงการ ่ เปลียนข ้อมูล หรือการสงผ่านข ้อมูล ่ ้ ่ ื่ ดังนั น Data Flow ทีออกจาก Process มักจะมีการเขียนชอกากับให ้แตกต่าง ออกไปจาก Data Flow ทีเข ้ามาใน Process เสมอ ่ ข ้อมูลนาเข ้า ข ้อมูลออก
  • 19. ี่ ้ สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล ั สญลักษณ์แหล่งเก็บข ้อมูล (Data Store Symbol) ่ ่ ้ ื่ เป็ นสวนทีใชแทนชอแฟ้ มข ้อมูลทีเก็บข ้อมูล เพราะมีการประมวลผลหลายแบบ ่ ่ ่ ่ ้ ทีจะต ้องมีการเก็บข ้อมูลไว ้เพือทีจะได ้นาไปใชภายหลัง ึ่ ซงแหล่งเก็บข ้อมูลจะต ้องมีทังข ้อมูลเข ้าและข ้อมูลออก ้
  • 20. ี่ ้ สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล ั สญลักษณ์แหล่งเก็บข ้อมูล (Data Store Symbol) ตัวอย่างแหล่งเก็บข ้อมูล ได ้แก่ 1) แฟ้ มคนไข ้ 2) แฟ้ มพนั กงาน เป็ นต ้น
  • 21. ี่ ้ สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล ั สญลักษณ์แหล่งเก็บข ้อมูล (Data Store Symbol) ้ ั การใชสญลักษณ์แหล่งเก็บข ้อมูล 1) ต ้องใชสัญลักษณ์แหล่งเก็บข ้อมูล (Data Store) คูกับสญลักษณ์ กระแส ้ ่ ั ข ้อมูล (Data Flow) เสมอ โดยที่  ถ ้าลูก ศรช ้เ ข ้าหมายถึง เป็ นข ้อมู ล น าเข ้าไปเก็ บ ยั ง แหล่ง เก็ บ (เพิ่ม -ลบ ี แก ้ไข)  ถ า ลู ก ศรช ี้อ อกหมายถึง อ่ า นข อ มู ล จากแหล่ ง เก็ บ ข อ มู ล ไปใช ใ นการ ้ ้ ้ ้ ประมวลผล
  • 22. ี่ ้ สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล ั สญลักษณ์แหล่งเก็บข ้อมูล (Data Store Symbol) ้ ั การใชสญลักษณ์แหล่งเก็บข ้อมูล ื่ ื่ 2) Data Store ต ้องเชอมต่อการประมวลผล (Process) เสมอโดยเชอมผ่าน กระแสข ้อมูล (Data Flow) ้ ิ่ ่ 3) เนื่องจาก Data Store ใชแทนสงทีเก็บข ้อมูลเกียวกับคน, สถานที, หรือ ่ ่ ิ่ สงของ ื่ ่ ิ ดังนั นควรเขียนชอกากับด ้วยคานาม เชน “แฟ้ มข ้อมูลสนค ้า”, “แฟ้ มเวลา ้ ทางานของพนั กงาน” เป็ นต ้น
  • 23. ี่ ้ สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล ั สญลักษณ์แหล่งเก็บข ้อมูล (Data Store Symbol) ้ ั ตัวอย่างการใชสญลักษณ์แหล่งทีเก็บข ้อมูล (Data Store) ่
  • 24. ี่ ้ สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล ั สญลักษณ์แหล่งเก็บข ้อมูล (Data Store Symbol) ้ ั การใชสญลักษณ์แหล่งเก็บข ้อมูล ้ ้ ั 4) ใชอักษรย่อ D1, D2 เป็ นต ้น เขียนด ้านซายมือของสญลักษณ์ เพือแสดงว่า ่ เป็ นแหล่ ง เก็ บ ข ้อมู ล อั น ที่ เ ท่ า ใด สามารถเขีย นซ้ า ในระดั บ ต่ า งๆ ของ แผนภาพกระแสข ้อมูลได ้ ้ ิ่ ่ ึ่ 5) Data Store ใชแทนสงทีเป็ นทีเก็บข ้อมูล ซงอาจเป็ นการทาด ้วยมือ หรือ ่ เก็บในรูปแบบคอมพิวเตอร์คอแฟ้ มข ้อมูลหรือฐานข ้อมูล ก็ได ้ ื
  • 25. ี่ ้ สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล ั ิ่ ่ ่ สญลักษณ์ สงทีอยูภายนอก (External Entity Symbol) ่ ่ ้ เป็ นสวนทีใชแทนคน แผนกภายในองค์กร และแผนกภายนอกองค์กร หรือระบบ ่ ่ ่ สารสนเทศอืนทีเป็ นสวนทีจะให ้ข ้อมูลหรือรับข ้อมูล ่ ิ่ ่ ้ สงทีอยู่นอกระบบนี้ใชแสดงถึงขอบเขตของระบบสารสนเทศ และแสดงถึงว่า ่ ึ ิ่ ่ ่ ระบบทีศกษาอยูนี้จะติดต่อกับสงทีอยูภายนอกด ้วยวิธใด (นาข ้อมูลเข ้ามา หรือ ่ ี ได ้ข ้อมูลออกไป)
  • 26. ี่ ้ สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล ั ิ่ ่ ่ สญลักษณ์ สงทีอยูภายนอก (External Entity Symbol) ่ิ ่ ่ ตัวอย่างสงทีอยูภายนอก ได ้แก่ ึ 1) นั กศกษา ิ 2) สนค ้าคงคลัง เป็ นต ้น ิ 3) สมาชก เป็ นต ้น
  • 27. ี่ ้ สญลักษณ์ทใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล ั ิ่ ่ ่ สญลักษณ์ สงทีอยูภายนอก (External Entity Symbol) ้ ั ิ่ ่ ่ การใชสญลักษณ์สงทีอยูภายนอก ้ ั ิ่ ่ ่ ่ ั ั 1) ใชสญลักษณ์สงทีอยูภายนอกคูกบสญลักษณ์กระแสข ้อมูลเสมอ โดยที่ ้ี ่ ลูกศรชเข ้า หมายถึง เป็ นการนาข ้อมูลจากหน่วยงานภายนอกเข ้าสูระบบ ้ี ่ ลูกศรชออก หมายถึง สงข ้อมูลจากระบบไปให ้หน่วยงานภายนอก
  • 28. ่ ้ กฎทีใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล การประมวลผล(Process) ในการประมวลผลจะมีข ้อมูลเข ้าอย่างเดียวไม่ได ้
  • 29. ่ ้ กฎทีใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล การประมวลผล(Process) ในการประมวลผลจะมีข ้อมูลออกอย่างเดียวไม่ได ้
  • 30. ่ ้ กฎทีใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล การประมวลผล(Process) ข ้อความที่บ รรจุ อ ยู่ ใ นการประมวลผลจะต ้องเป็ นค ากริย า หรื อ คานามทีแสดงถึงกริยาเท่านัน ่ ้
  • 31. ่ ้ กฎทีใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล แหล่งเก็บข ้อมูล(Data Store) ไม่ ส ามารถส่ง ข ้อมูล โดยตรงจาก แหล่ง เก็ บ ข ้อมูล อั น หนึ่ง ไปยั ง แ ห ล่ ง เ ก็ บ ข อ มู ล อี ก อั น ได โ ด ย ต ร ง ข อ มู ล ต อ ง ผ่ า น ก า ร จ า ก ้ ้ ้ ้ ประมวลผลจึงจะไปที่ แหล่งเก็บข ้อมูลได ้
  • 32. ่ ้ กฎทีใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล แหล่งเก็บข ้อมูล(Data Store) ไม่ส ามารถส่งข ้อมูล จากส งทีอยู่ภ ายนอก(External ิ่ ่ Entity)ไปยั ง แหล่งเก็บข ้อมูลได ้โดยตรง ข ้อมูลต ้องผ่านจากการประมวลผล ทีได ้รับ ่ ่ ข ้อมูลจากแหล่งข ้อมูลภายนอกแล ้วจึงสงต่อให ้ แหล่งเก็บข ้อมูล
  • 33. ่ ้ กฎทีใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล แหล่งเก็บข ้อมูล(Data Store) ไม่สามารถส่งข ้อมูลจากแหล่งเก็บข ้อมูลไปยังสงทีอยู่ภายนอกระบบ ิ่ ่ ปลายทางได โ ดยตรง ต อ งส่ ง ผ่ า น การประมวลผลไปยั ง ส ิ่ง ที่ อ ยู่ ้ ้ ภายนอกระบบ
  • 34. ่ ้ กฎทีใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล แหล่งเก็บข ้อมูล(Data Store) ข ้อความทีบรรจุอยูในแหล่งเก็บข ้อมูลต ้องเป็ นคานาม ่ ่
  • 35. ่ ้ กฎทีใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล กระแสข ้อมูล(Data Flow) กระแสข ้อมูล จะมีทศทางการไหลของข ้อมูลเพียงทิศเดียวใน 1 กระแส ิ ข ้อมูล เนืองจากไม่มการทางานใดทีเกิดขึนพร ้อมกัน ่ ี ่ ้
  • 36. ่ ้ กฎทีใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล กระแสข ้อมูล(Data Flow) การแยกของข ้อมูลออกจาก เสนกระแสข ้อมูล ไปสู่ การประมวลผล อืน ้ ่ ๆ พร ้อมกัน ต ้องเป็ นข ้อมูลเดียวกัน
  • 37. ่ ้ กฎทีใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล กระแสข ้อมูล(Data Flow) การเช อ มข ้อมู ล จากข ้อมูล มากกว่า 1 แหล่ง เข ้าสู่ เส นกระแสข ้อมู ล ื่ ้ เดียวกันต ้องเป็ นข ้อมูลเดียวกัน
  • 38. ่ ้ กฎทีใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล กระแสข ้อมูล(Data Flow) กระแสข ้อมู ล ไม่ ส ามารถไหลกลั บ เข ้าสู่ก ารประมวลเดิม ได ้โดยตรง จะต ้องมีการประมวลอย่างน ้อยหนึ่งอย่างมาจั ดการกับข ้อมูลดังกล่าว ก่อน สร ้างกระแสข ้อมูล อืน แล ้วจึงคืน ค่ากระแสข ้อมูลเดิมกลับมายั ง ่ การประมวลผลเริมต ้น ่
  • 39. ่ ้ กฎทีใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล กระแสข ้อมูล(Data Flow) ข ้อความทีอยูบน Data Flow จะเป็ นคานาม ่ ่
  • 40. ่ ้ กฎทีใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล ิ่ ่ ่ สงทีอยูภายนอก(External Entity) ่ ิ่ ่ ่ ิ่ ไม่สามารถสงข ้อมูลโดยตรงจาก สงทีอยูภายนอกระบบอันหนึงไปยังสง ่ ที่ อ ยู่ ภ า ย นอ ก ร ะ บ บ อี ก อั น ไ ด โ ด ย ต ร ง ข อ มู ล ต อ ง ผ่ า น ก า ร จ า ก ้ ้ ้ ประมวลผลภายในระบบก่อ นจึง ส่ง ไปยั ง ส ง ที่อ ยู่ ภ ายนอกระบบภาย ิ่ ปลายทางได ้
  • 41. ่ ้ กฎทีใชในการเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูล ิ่ ่ ่ สงทีอยูภายนอก(External Entity) ่ ่ ิ่ ่ ่ ข ้อความทีบรรจุอยูในสงทีอยูภายนอกระบบต ้องเป็ นคานาม
  • 42. ประเภทของแผนภาพกระแสข ้อมูล การเขียน DFD นันสามารถเขียนได ้ 2 แบบ คือ ้ 1) แบบตรรกะ (Logical Data Flow Diagram) แผนภาพนี้จ ะเป็ นการเน ้นในส่วนของธุร กิจ ว่าธุร กิจ มีการท างาน อย่า งไร มีเ หตุก ารณ์ อ ะไรบ ้างที่เ กิด ขึน , ้ ข ้อมูล ที่ต ้องการมี อะไรบ ้าง และได ้ข ้อมูลอะไรจากเหตุการณ์นันๆ แต่ไม่ได ้บอกว่า ้ ระบบจะถูกสร ้างอย่างไร 2) แบบกายภาพ (Physical Data Flow Diagram) แผนภาพนี้ จ ะบอกได ว่ า จะสร า งระบบอย่ า งไร ประกอบด ว ย ้ ้ ้ ฮาร์ดแวร์, ซอฟต์แวร์, แฟ้ มข ้อมูล และบุคคลใดทีเกียวข ้องบ ้างใน ่ ่ ระบบ
  • 43. ประเภทของแผนภาพกระแสข ้อมูล ข ้อแตกต่างระหว่างแผนภาพกระแสข ้อมูลแบบตรรกะ กับแบบกายภาพ  ขันตอนการประมวลผล ้ Logical DFD -> แสดงถึง ธุรกิจสามารถทีจะดาเนินการได ้อย่างไร ่ Physical DFD -> แสดงถึง ระบบสามารถทีจะทางานได ้อย่างไร ่ Logical DFD -> เป็ นกิจกรรมทางธุรกิจ Physical DFD -> เป็ นโปรแกรม หรือโมดูล หรือขันตอนการทางานที่ ้ ทาด ้วยมือ
  • 44. ประเภทของแผนภาพกระแสข ้อมูล ข ้อแตกต่างระหว่างแผนภาพกระแสข ้อมูลแบบตรรกะ กับแบบกายภาพ  แหล่งเก็บข ้อมูล Logical DFD -> เป็ นแหล่งทีเก็บรวบรวมข ้อมูลลักษณะใดก็ได ้ ่ Physical DFD -> เป็ น Physical File, Database และ Manual File  ชนิดของแหล่งเก็บข ้อมูล Logical DFD -> เป็ นการเก็บข ้อมูลแบบถาวร Physical DFD -> เป็ นการเก็บข ้อมูลทีแยกเป็ นแฟ้ มหลัก และแฟ้ ม ่ รายการ ต ้องการประมวลผลในเวลาทีแตกต่างกัน ่ ื่ ้ สามารถเชอมต่อกันได ้โดยใชแหล่งเก็บข ้อมูล
  • 45. ประเภทของแผนภาพกระแสข ้อมูล ข ้อแตกต่างระหว่างแผนภาพกระแสข ้อมูลแบบตรรกะ กับแบบกายภาพ  การควบคุมระบบ Logical DFD -> เป็ นการควบคุมทีเกียวข ้องกับธุรกิจ ่ ่ Physical DFD -> แสดงถึง การควบคุมสาหรับการป้ อนข ้อมูลที่ ถูกต ้อง
  • 46. ประเภทของแผนภาพกระแสข ้อมูล ประโยชน์ของการสร ้างแผนภาพกระแสข ้อมูลแบบตรรกะ (Logical DFD) 1) ่ ื่ ้ ชวยให ้การสอสารระหว่างผู ้ใชงานให ้ดีขน ึ้ 2) ่ ชวยให ้ระบบมีความมั่นคงมากขึน ้ 3) ช ่ว ยให ้นั ก วิเ คราะห์ร ะบบมีค วามเข ้าใจกั บ การด าเนิน งานของระบบได ้ ั ชดเจน 4) ่ ชวยในการบารุงรักษาและมีความยืดหยุนมากขึน ่ ้ 5) ชว ยลดความซับ ซอน และง่า ยต่อ การสร ้างแผนภาพกระแสข ้อมูล แบบ ่ ้ กายภาพต่อไป
  • 47. ประเภทของแผนภาพกระแสข ้อมูล ประโยชน์ของการสร ้างแผนภาพกระแสข ้อมูลแบบกายภาพ (Physical DFD) 1) ขันตอนการประมวลผลนั นเป็ นการทางานด ้วยระบบมือ หรือระบบอัตโนมัต ิ ้ ้ 2) แผนภาพแบบกายภาพจะอธิบ ายรายละเอีย ดขั น ตอนการประมวลผลได ้ ้ ละเอียด 3) มีการแสดงถึงลาดับขันตอนการทางาน ้
  • 48. การพัฒนาแผนภาพกระแสข ้อมูล 1) ก าหนดรายการกิจ กรรมต่า งๆ ของธุร กิจ และแยกออกมาว่า อยู่ใ น รูปแบบใด (External Entities หรือ Data Flows หรือ Processes หรือ Data Stores) 2) สร ้างแผนภาพระดับสูงสุด (Context Diagram) ึ่ ซงแสดงถึง External Entities และข ้อมูลทีไหลเข ้าและออกจากระบบหลัก โดยไม่สนใจ ่ แหล่งเก็บข ้อมูล 3) เขีย น Diagram ระดั บ ถั ด ไป คือ แผนภาพระดั บ ล่า ง (เรีย กว่า ึ่ Diagram 0 หรือ Parent Diagram) ซงแสดงถึง Process ต่างๆ ทีม ี แต่เขียน ่ ให ้อยูในรูปแบบทั่วไป พร ้อมกันนั นให ้แสดง Data Store ในระดับนีด ้วย ่ ้ ้
  • 49. การพัฒนาแผนภาพกระแสข ้อมูล 4) สร ้างแผนภาพระดับลูกของแต่ละ Process ใน Diagram 0 เรียก แผนภาพในระดับนี้วา แผนภาพกระแสข ้อมูลระดับ 1 (Level-1 diagram) ถ ้า ่ หากมีรายละเอียดของการทางานย่อยจากระดับนี้อก ก็ให ้แตกรายละเอียด ลง ี ิ้ ่ ื่ ไปจนกระทั่งสนสุด สวนชอของระดับก็จะเป็ น Level-2 diagram , Level-3 diagram ไปเรือยๆ จนกระทั่งหมด ่ 5) ้ ตรวจสอบหาข ้อผิดพลาด และดูวาคากากับบนเสน Data Flow แต่ ่ ้ ื่ ละเสน รวมถึง Process แต่ละอันนั น สอความหมายหรือไม่ ้ 6) หลั ง จากเขี ย นแผนภาพจนครบทุ ก การท างานแล ว ให ท าการ ้ ้ ตรวจสอบสมดุล ระหว่างข ้อมูลเข ้าและข ้อมูลออกของแผนภาพ DFD กับ Context diagram
  • 50. การพัฒนาแผนภาพกระแสข ้อมูล 7) พัฒนารูปแบบใหม่ จาก Logical Data Flow Diagram ให ้ไปอยูใน ่ รูป Physical Data Flow Diagram เพือแยกระหว่างระบบทีทาด ้วยมือ กับ ่ ่ ระบบทีทางานอัตโนมัต ิ ่ 8) ่ แบ่งสวนของ Physical Data Flow Diagram โดยการแยกหรือ แบ่งกลุมของ Diagram ่ ออก เพือให ้สามารถนาไปเขียนโปรแกรม หรือเพือ ่ ่ การดาเนินการระบบได ้
  • 51. การพัฒนาแผนภาพกระแสข ้อมูล แผนภาพกระแสข ้อมูลระดับสูงสุด (Context Diagram) แผนภาพกระแสข ้อมู ล ระดั บ สู ง สุ ด เป็ นแผนภาพที่แ สดงถึง ขอบเขตของ สารสนเทศนั น โดยจะเป็ นมุมมองระดับสูงว่ามีหน่วยงานใดเกียวข ้องบ ้าง ติดต่อ ้ ่ กั บ ระบบโดยมีก ารรั บ และส ่ง ข ้อมูล ใดกั บ ระบบ ซ ง แผนภาพระดั บ นี้ จ ะยั ง ไม่ ึ่ ั กล่าวถึง สญลักษณ์การเก็บข ้อมูล (Data Store Symbol)
  • 52. การพัฒนาแผนภาพกระแสข ้อมูล แผนภาพกระแสข ้อมูลระดับสูงสุด (Context Diagram) หลักการสร ้าง Context Diagram ทีด ี ่ 1) ควรจะเขียนให ้ครอบคลุมระบบ ให ้อยูใน 1 หน ้ากระดาษ ่ ื่ ื่ 2) ชอของ Process ควรเป็ นชอของระบบสารสนเทศ นั น ้ 3) ช ื่อ ที่เ ขีย นก ากั บ สั ญ ลั ก ษณ์ ต่ า งๆ จะต ้องเขีย นโดยไม่ ใ ห ้ช ื่อ ซ้ า กั น ถ ้า ั ิ่ ่ สญลักษณ์นันแทนสงทีแตกต่างกัน ้ ้ ่ ้ 4) ควรหลีกเลียงเสนทีจะต ้องเขียนคร่อมเสนกัน ่ ื่ 5) ในการเขีย นช อ ย่อ จะต ้องเขีย นโดยบั น ทึก ความหมายของตั ว ย่อ นั ้น ใน พจนานุกรมข ้อมูล (Data Dictionary)
  • 53. การพัฒนาแผนภาพกระแสข ้อมูล แผนภาพกระแสข ้อมูลระดับสูงสุด (Context Diagram) ่ั ื้ ิ ตัวอย่างการเขียน Context Diagram ของระบบการสงซอสนค ้
  • 54. การพัฒนาแผนภาพกระแสข ้อมูล แผนภาพกระแสข ้อมูลระดับล่าง (Diagram 0 หรือ Parent Diagram) แผนภาพกระแสข ้อมูล ระดั บ ล่า ง เป็ นแผนภาพที่ใ ห ้รายละเอีย ดเพิม เติม จาก ่ ึ่ แผนภาพระดั บ สูง สุด ท าให ้เห็ น ภาพรวมของแผนภาพกระแสข ้อมูล ซ ง จะมี รายละเอียดมากกว่าแผนภาพกระแสข ้อมูลระดับสูงสุด
  • 55. การพัฒนาแผนภาพกระแสข ้อมูล แผนภาพกระแสข ้อมูลระดับล่าง (Diagram 0 หรือ Parent Diagram) หลักการสร ้างแผนภาพกระแสข ้อมูลระดับล่าง 1) การเขียนแผนภาพกระแสข ้อมูลควรเขียนให ้ดูงายและให ้แสดงอยูในกระดาษ ่ ่ แผ่นเดียว 2) ลูกศรไม่ควรทับหรือข ้ามกัน 3) แต่ละ Process จะต ้องมีหมายเลขกากับเป็ นเลขจานวนเต็ม โดยการลาดับ หมายเลข Process ไม่ไ ด ้ หมายถึง การทางานต ้องทางานตามลาดับของ Process และ Process ไม่สามารถทาการซ้าได ้
  • 56. การพัฒนาแผนภาพกระแสข ้อมูล แผนภาพกระแสข ้อมูลระดับล่าง (Diagram 0 หรือ Parent Diagram) ั่ ื้ ิ ตัวอย่างการเขียน Diagram 0 ของระบบการสงซอสนค ้า
  • 57. การพัฒนาแผนภาพกระแสข ้อมูล แผนภาพกระแสข ้อมูลระดับล่าง (Diagram 0 หรือ Parent Diagram) หลักการสร ้างแผนภาพกระแสข ้อมูลระดับล่าง 4) External Entity ทังหมดของระบบ ทีเขียนใน Context Diagram ้ ่ จะต ้องแสดงอยู่ใน Diagram 0 ด ้วย โดยทีส ามารถทาการซ้ า ได ้ ด ้วย ่ ้ ั เครืองหมาย ตรงมุมล่างซายของสญลักษณ์ External Entity ่ สงทีอยูนอกระบบและการทาซ้าสงทีอยูนอกระบบ ิ่ ่ ่ ิ่ ่ ่ 5) จ านวน Process ไม่ค วรมีม ากเกิน ไป หรือ น อ ยเกิน ไป จ านวน ้ Process ทีมากเกินไปจะทาให ้แผนภาพกระแสข ้อมูลอ่านยาก และมีความ ่ ั ้ ซบซอนยิงขึน ่ ้
  • 59. การพัฒนาแผนภาพกระแสข ้อมูล แผนภาพกระแสข ้อมูลระดับตา (Lower Level Data Flow Diagram) ่ หลักการสร ้างแผนภาพกระแสข ้อมูลระดับตา ่ 1) แต่ละ Process บน Diagram 0 (หรือ Parent Process) สามารถนามาสร ้าง Diagram ย่อย (เรียกว่า Child Diagram) ได ้ 2) ในการสร ้าง Child Diagram นั ้น ข ้อมูล ทีเข ้ามาและออกจาก Child ่ Diagram จะต ้องเป็ นข ้อมูลทีเข ้ามาและออกจาก Parent Process ่ 3) เมือมีการแยก Process ่ ออกเป็ น Child Diagram จะต ้องมีการกาหนด ้ ้ ่ หมายเลขลาดับให ้กับ Child Diagram นั นโดยจะตังตาม Parent Process (เชน Process 3 แยกเป็ น Diagram Level-1 ของ Process ที่ 3)
  • 60. การพัฒนาแผนภาพกระแสข ้อมูล แผนภาพกระแสข ้อมูลระดับตา (Lower Level Data Flow Diagram) ่ หลักการสร ้างแผนภาพกระแสข ้อมูลระดับตา ่ ้ 4) หมายเลขกากับแต่ละ Process ใน Child Diagram ก็จะใชหมายเลขขึนต ้น ้ เหมือน Parent Process แล ้วตามด ้วยจุดทศนิยม และหมายเลขย่อยลงไป ่ (เชน Parent Process เป็ น Process 3 ดังนั นใน Diagram 3 ก็จะมี Process ้ 3.1,3.2,3.3 ไปเรือยๆจนกว่าจะหมด) ่ 5) โดยปกติแล ้ว External Entity มักจะไม่แสดงบน Child Diagram ทีตากว่า ่ ่ Diagram 0 6) บน Child Diagram อาจมี Data Store ปรากฏขึนมา โดยทีไม่มใน Parent ้ ่ ี Process ได ้ 7) Process ต่างๆ อาจมีการแตกหรือไม่แตกเป็ น Child Diagram ก็ได ้ ขึนอยู่ ้ ั ้ กับระดับความซบซอนของ Process นั นๆ ้
  • 62. การพัฒนาแผนภาพกระแสข ้อมูล การตรวจสอบแผนภาพกระแสข ้อมูลเพือหาข ้อผิดพลาด ่ 1) ตรวจสอบว่า มีก ารใช สัญ ลัก ษณ์ ต่างๆ ถูก ต ้องตามกฎการเขีย นแผนภาพ ้ กระแสข ้อมูล หรือไม่ ้ ้ 2) ตรวจสอบหาข ้อผิดพลาด และดูวา คากากับบนเสน Data Flow แต่ละเสน ่ ื่ รวมถึง Process แต่ละอันนั น สอความหมายหรือไม่ ้ 3) ตรวจสอบสมดุ ล ระหว่ า งข ้อมู ล เข ้าและข ้อมู ล ออกของแผนภาพ นั่ น คือ ตรวจสอบว่าแผนภาพระดับสูงสุด (Context Diagram) มีความสมดุลระหว่าง ข ้อมูลเข ้าและข ้อมูลออก กับแผนภาพระดับล่าง (Diagram 0) หรือไม่ และ ตรวจสอบว่าแผนภาพระดับล่าง มีความสมดุลระหว่างข ้อมูลเข ้าและข ้อมูลออก กับแผนภาพระดับตา (Child Diagram) หรือไม่ ่