SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 4
Baixar para ler offline
ทฤษฎีพัฒนาการทางเชาวน์ปัญญาของเพียเจต์ (Piaget’s Cognitive Develpoment Theory) 
ฌอง เพียเจต์ (Jean Piaget : 1896-1980) นักจิตวิทยาชาวสวิตเซอร์แลนด์ ได้เรียนจบปริญญาเอก ทางวิทยาศาสตร์ สาขาสัตว์วิทยา หลังจากที่เขาเรียนจบแล้วได้ทางานกับนายแพทย์บีเนต์และซีโม ซึ่งเป็น ผู้สร้างข้อสอบเชาวน์ เพียเจท์พบว่าคาตอบของเด็กเล็กกับเด็กโตจะตอบไม่เหมือนกัน และสรุปได้ว่า คาตอบ ของเด็กวัยต่างจะแตกต่างกันและไม่ควรด่วนสรุปว่าเด็กโตฉลาดกว่าเด็กเล็ก หรือคาตอบของเด็กเล็กจะผิด เสมอ 
จุดเริ่มต้นของการศึกษาพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็ก โดยเริ่มจากลูกทั้ง 3 คนของพวกเขา เป็นหญิง 1 คน ชาย 2 คน เพียเจท์ได้บันทึกและเขียนเป็นรายงานในการสังเกตของเขาไม่เฉพาะเป็นภาษฝรั่งเศสเท่านั้นที่ทา ให้เข้าใจยาก แต่เนื้อหาและสาระก็ทาให้เข้าใจยากเหมือนกัน ต่อมาได้มีคนแปลเป็นภาษาอังกฤษและสรุปให้ เข้าใจได้ง่ายยิ่งขึ้น เพียเจท์ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับพัฒนาการทางเชาวน์ปัญญา โดยเขาเชื่อว่าว่าเด็กทุกคนเกิดมาพร้อมที่ จะมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมและธรรมชาติตลอดเวลา และส่วนใหญ่แล้วมนุษย์จะเป็นผู้ กระทา(Active)ก่อน โดยวางอยู่บนพื้นฐานที่มาแต่กาเนิด 2 ชนิด คือ การจัดและรวบรวม(Oganization) หมายถึงมีการจัดระเบียบภายในเข้าเป็นระบบ ระเบียบและปรับปรุง เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาที่ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม การปรับตัว(Adaptation) หมายถึงการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมให้สมดุลย์ จะประกอบด้วยกระบวนการ สาคัญ 2 อย่างคือ 
การดูดซึม (Assimilation) และ 
การปรับความแตกต่าง (Accommodation) กระบวนการดูดซึม(หรือการรับรู้)จะเกิดขึ้นก่อน คือ เมื่อ เด็กปะทะสัมพันธ์กับสิ่งใดก็จะดูดซึมภาพ หรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ตามประสบการณ์ที่เคยประสบ รวมรวบเข้าไป อยู่ในโครงสร้างของสติปัญญา(Cognetive Structure) และเมื่อได้รับประสบการณ์ใหม่ที่แตกต่างจากเดิมก็จะ ปรับตัว เปลี่ยนแปลงโครงสร้างของสติปัญญาให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม เช่น แรกเริ่มเด็กเข้าใจว่าผู้ใหญ่ผมยาวและ นุ่งกระโปรง แต่เมื่อเขาไปเจอผู้ชายผมยาวก็มีก็จะปรับโครงสร้างความเข้าใจอันนี้ใหม่ สาหรับพัฒนาการทางเชาวน์ปัญญาของเพียเจต์นั้นสามารถแบ่งขั้นตอนทั้งสิ้น 4 ลาดับขั้น ได้แก่ ระยะที่ 1 ขั้นของการใช้ประสาทสัมผัสและกล้ามเนื้อ (Sensory – Motor Operation or Reflexive) อยู่ในช่วงอายุแรกเกิดถึง 2 ปี เด็กจะพัฒนาการแก้ปัญหาโดยไม่ต้องใช้ภาษาเป็นสื่อ เป็นช่วงเริ่มต้นที่จะเรียนรู้
ในการปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อม ถ้ามีการใช้ประสาทสัมผัสมากเท่าไรก็จะช่วยพัฒนาเชาวน์ปัญญาได้มากขึ้น ด้วย โดยทั่วไปเด็กจะรับรู้สิ่งที่เป็นรูปธรรมได้เท่านั้น ระยะที่ 2 ขั้นเตรียมความคิดที่มีเหตุผล หรือการคิดก่อนปฏิบัติการ (Preoperation or Preconceptural Stage or Concret Thinking Operations) อยู่ในช่วงอายุ 2-7 ปี พัฒนาการเชาว์ปัญญา ของเด็กวัยนี้เน้นไปที่การเรียนรู้ และเริ่มมีพัฒนาการทางภาษาดีขึ้นด้วย โดยสามารถพูดได้เป็นประโยค มีการ สร้างคาได้มากขึ้น แต่เด็กยังไม่สามารถใช้สติปัญญาคิดได้อย่างเต็มที่ ระยะที่ 3 ขั้นคิดอย่างมีเหตุผลและเป็นรูปธรรม (Concrete Operation Stage or Period of Concrete Operation) หรือขั้นปฏิบัติการด้วยรูปธรรม อยู่ในช่วงอายุ 7-11 ปี เด็กในวัยนี้จะสามารถใช้ เหตุผลในการตัดสินใจปัญหา ต่าง ๆ ได้ดีขึ้น โดยลักษณะเด่นของเด็กวัยนี้คือ 1. สามารถสร้างจินตนาการในความคิดของตนขึ้นมาได้ (Mental Representations) 2. เริ่มเข้าใจเกี่ยวกับการคงสภาพปริมาณของสสาร (Conservation) ่ 3. มีความสามารถในการคิดเปรียบเทียบ (Relational Terms) 4. สามารถสร้างกฎเกณฑ์เพื่อจัดสิ่งแวดล้อมเป็นหมวดหมู่ได้ (Class inclusion) เช่น การแบ่งแยก ประเภทของสัตว์ เป็นต้น 5 .มีความสามารถในการเรียงลาดับ (Serialization and Hierarchical Arrangements) 6. สามารถคิดย้อนกลับไปมาได้ (Reversibility) ระยะที่ 4 ขั้นของการคิดอย่างมีเหตุผลและอย่างเป็นนามธรรม (Formal Operation Stage or Period of Formal Operation) หรือขั้นการปฏิบัติการด้วยนามธรรม อยู่ในช่วงอายุตั้งแต่ 12 ปีขึ้นไป เด็กจะ เริ่มคิดแบบผู้ใหญ่ได้ เข้าใจในสิ่งที่เป็นนามธรรม เป็นตัวของตัวเอง ต้องการอิสระ ไม่ยึดตนเป็นศูนย์กลาง รู้จัก การใช้เหตุผลได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพียเจต์ ( Piaget, 1932 : 9-55 ) เชื่อว่าการเรียนรู้ของมนุษย์เกิดจากการปรับตัวและการสร้างสมดุล ระหว่างสติปัญญากับสภาวะแวดล้อมที่จะทาให้มนุษย์ดารงชีวิตอยู่ พัฒนาการของมนุษย์มีความต่อเนื่องและ เจริญขึ้นตามวุฒิภาวะ และพัฒนาการของมนุษย์ย่อมขึ้นอยู่กับพัฒนาทางสติปัญญาของบุคคลนั้น เพียเจต์ ( Piaget ) ได้แบ่งขั้นตอนของพัฒนาสติปัญญาออกเป็น 4 ขั้นคือ 1. ขั้นรับรู้จากประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหว (sensorimotor operation) 2. ขั้นเริ่มคิดด้วยปัญญา (pre-operational thinking) 3. ขั้นคิดด้วยรูปธรรม (concrete operational thinking) 4. ขั้นคิดตามแบบแผนของตรรกวิทยา (formal prepositional thinking or formal operational thinking) จากพัฒนาการทางสติปัญญาทั้ง 4 ขั้นนี้ เพียเจต์ ( Piaget) ได้นามาเป็นหลักเกณฑ์ในการแบ่งขั้น พัฒนาจริยธรรมออกเป็น 3 ขั้น ดังนี้ 
ระดับพัฒนาทางสติปัญญา 1. ขั้นรับรู้จากประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหว (sensorimotor operation) อายุตั้งแต่แรกเกิด จนถึง 2 ขวบ 2. ขั้นเริ่มคิดด้วยปัญญา (pre-operational thinking) และขั้นเริ่มคิดด้วยรูปธรรม (early concrete operational thinking) อายุประมาณ 2-7 ปี 3. ขั้นคิดค้นด้วยรูปธรรมในช่วงปลาย (late concrete operational thinking) อายุ 7-11 ปี ถึงขั้นคิดตาม
แบบแผนของตรรกวิทยา (formal operational thinking) อายุตั้งแต่ 11 ปี ขึ้นไปถึง 15 ปี ระดับพัฒนาทางจริยธรรม 1. ขั้นก่อนจริยธรรม เป็นชั้นที่ยังไม่มีความสามารถรับรู้สิ่งแวดล้อมได้อย่างละเอียด มีแต่ความต้องการทาง ร่างกาย 2. ขั้นยึดคาสั่ง ในขั้นนี้เด็กจะรับรู้สภาพสิ่งแวดล้อมและบทบาทของตนเองต่อผู้อื่น รู้จักเกรงกลัวผู้ใหญ่ เห็นว่า คาสั่งหรือกฎเกณฑ์ต่าง ๆ เป็นสิ่งที่ต้องปฏิบัติตาม 3. ขั้นยึดหลักแห่งตน เด็กสามารถใช้ความคิดอย่างมีเหตุผลประกอบการตัดสินใจและตั้งเกณฑ์ที่เป็นตัวของ ตัวเอง ผลจาการวิจัยในระยะต่อมา เพียเจต์ ( Piaget) ได้ตั้งเกณฑ์การให้เหตุผลเชิงจริยธรรมไว้ 6 เกณฑ์ คือ 1. การตัดสินจากเจตนาการกระทา (intentional in judgment) เด็กเล็กจะตัดสินการกระทาจาก ปริมาณสิ่งของ ส่วนเด็กโตจะตัดสินจากเจตนาของการกระทา 2. การตัดสินเกี่ยวโยงกับความสัมพันธ์กับผู้อื่น (Relativism in Judgment) เด็กเล็กจะตัดสินการ กระทาโดยยึดเอาความเชื่อความเห็นของผู้ใหญ่ว่าดี ส่วนเด็กโตจะยึดเอาเหตุผลและสถานการณ์ประกอบการ ตัดสิน 3. ความเห็นอิสระจากการลงโทษ (independent of sanction) เด็กเล็กจะตัดสินว่าการกระทาใดไม่ ดีจากการกระทาใดไม่ดีจากการถูกทาโทษ แต่เด็กโตจะตัดสินการกระทาใดไม่ดี เพราะสิ่งนั้นไปขัดกับเกณฑ์ และเกิดอันตรายต่อบุคคลอื่น 4. ใช้วิธีการแก้แค้น (use of reciprocity) วิธีนี้เด็กเล็กใช้น้อยกว่าเด็กโต 5. การลงโทษเพื่อตัดสินนิสัย (use of punishment as restitution and reform) เด็กเล็กจะ สนับสนุนการลงโทษอย่างหนักเพื่อแก้นิสัย แต่เด็กโตไม่ค่อยเห็นด้วย 6. หลักธรรมชาติของความโหดร้าย (nationalist of misfortune) เด็กเล็กจะถือว่าการกระทาผิด จะต้องได้รับการลงโทษจากพระเจ้า จากที่กล่าวมาพอจะสรุปได้ว่าตามแนวคิดของเพียเจต์ ( Piaget) เด็กเล็กจะมองกฎเกณฑ์ว่าเป็นสิ่ง จริงจัง เปลี่ยนแปลงไม่ได้ ( absolute) และมาจากอานาจภายนอก ( external) หมายความว่า พัฒนาการทาง จริยธรรมของเด็กเล็กจะอยู่ในลักษณะผิดว่ากันไปตามสิ่งที่สังเกตเห็นได้ โดยมิได้คานึกถึงเจตนาของผู้กระทา ที่ เป็นเช่นนี้เนื่องมาจากการใช้ภาษา และความคิดของเด็กมีลักษณะยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง (egocentric) ทา ให้ไม่สามารถมองเห็นหลาย ๆ สิ่งได้ ในเวลาเดียวกัน เมื่อเด็กโตขึ้นอายุประมาณ 11-12 ปี พัฒนาการทาง จริยธรรมของเด็กวัยนี้จะมีการเชื่อมโยงหาเหตุผล เด็กจะคานึงถึงเจตนาของผู้ทามากกว่าสิ่งที่สังเกตได้เฉพาะ หน้า เนื่องจากเด็กวัยนี้สามารถมองหลาย ๆ สิ่งได้ในเวลาเดียวกัน เด็กโตจึงสามารถเข้าใจถึงเจตนาของผู้อื่น และสามารถยืดหยุ่นเกี่ยวกับกฎเกณฑ์ได้ โดยตระหนักว่ากฎเกณฑ์เป็นเพียงข้อตกลงระหว่างบุคคลในการ ควบคุมพฤติกรรมในแต่ละสถานการณ์เท่านั้น นอกจากนี้ยังสามารถนากฎเกณฑ์ไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆได้ 
สาราญ ศรีคามูล.จริยธรรม. 
อ้างอิง : http://www.baanjomyut.com/library_3/extension-2/ethics/05_1.html/ (วันที่ค้น ข้อมูล:26 สิงหาคม 2557)
ทฤษฏีพัฒนาจริยธรรมของ จอง เพียเจย์

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
sukanya5729
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
srkschool
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
Decode Ac
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
ssuser858855
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
Tanyarad Chansawang
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
Aekapoj Poosathan
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
Naphachol Aon
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
Champ Wachwittayakhang
 

Mais procurados (20)

ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
 
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของซิกมัน ฟรอยด์
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของซิกมัน  ฟรอยด์ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของซิกมัน  ฟรอยด์
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของซิกมัน ฟรอยด์
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
 

Semelhante a ทฤษฏีพัฒนาจริยธรรมของ จอง เพียเจย์

เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
Rorsed Mardra
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
Rorsed Mardra
 
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
NusaiMath
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
Rorsed Mardra
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
ya035
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
pattamasatun
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
Yee022
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
Rorsed Mardra
 
เฟ ยเจท 1
เฟ ยเจท  1เฟ ยเจท  1
เฟ ยเจท 1
ya035
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
New Born
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
ya035
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
ya035
 

Semelhante a ทฤษฏีพัฒนาจริยธรรมของ จอง เพียเจย์ (20)

เพียเจ
เพียเจ เพียเจ
เพียเจ
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
จิตวิทยาการสอนคณิตศาสตร์
จิตวิทยาการสอนคณิตศาสตร์จิตวิทยาการสอนคณิตศาสตร์
จิตวิทยาการสอนคณิตศาสตร์
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟ ยเจท 1
เฟ ยเจท  1เฟ ยเจท  1
เฟ ยเจท 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์
 
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
 
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา จอห์น เพียเจท์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา จอห์น เพียเจท์ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา จอห์น เพียเจท์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา จอห์น เพียเจท์
 
เพียเจต์
เพียเจต์เพียเจต์
เพียเจต์
 
ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์
 

ทฤษฏีพัฒนาจริยธรรมของ จอง เพียเจย์

  • 1. ทฤษฎีพัฒนาการทางเชาวน์ปัญญาของเพียเจต์ (Piaget’s Cognitive Develpoment Theory) ฌอง เพียเจต์ (Jean Piaget : 1896-1980) นักจิตวิทยาชาวสวิตเซอร์แลนด์ ได้เรียนจบปริญญาเอก ทางวิทยาศาสตร์ สาขาสัตว์วิทยา หลังจากที่เขาเรียนจบแล้วได้ทางานกับนายแพทย์บีเนต์และซีโม ซึ่งเป็น ผู้สร้างข้อสอบเชาวน์ เพียเจท์พบว่าคาตอบของเด็กเล็กกับเด็กโตจะตอบไม่เหมือนกัน และสรุปได้ว่า คาตอบ ของเด็กวัยต่างจะแตกต่างกันและไม่ควรด่วนสรุปว่าเด็กโตฉลาดกว่าเด็กเล็ก หรือคาตอบของเด็กเล็กจะผิด เสมอ จุดเริ่มต้นของการศึกษาพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็ก โดยเริ่มจากลูกทั้ง 3 คนของพวกเขา เป็นหญิง 1 คน ชาย 2 คน เพียเจท์ได้บันทึกและเขียนเป็นรายงานในการสังเกตของเขาไม่เฉพาะเป็นภาษฝรั่งเศสเท่านั้นที่ทา ให้เข้าใจยาก แต่เนื้อหาและสาระก็ทาให้เข้าใจยากเหมือนกัน ต่อมาได้มีคนแปลเป็นภาษาอังกฤษและสรุปให้ เข้าใจได้ง่ายยิ่งขึ้น เพียเจท์ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับพัฒนาการทางเชาวน์ปัญญา โดยเขาเชื่อว่าว่าเด็กทุกคนเกิดมาพร้อมที่ จะมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมและธรรมชาติตลอดเวลา และส่วนใหญ่แล้วมนุษย์จะเป็นผู้ กระทา(Active)ก่อน โดยวางอยู่บนพื้นฐานที่มาแต่กาเนิด 2 ชนิด คือ การจัดและรวบรวม(Oganization) หมายถึงมีการจัดระเบียบภายในเข้าเป็นระบบ ระเบียบและปรับปรุง เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาที่ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม การปรับตัว(Adaptation) หมายถึงการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมให้สมดุลย์ จะประกอบด้วยกระบวนการ สาคัญ 2 อย่างคือ การดูดซึม (Assimilation) และ การปรับความแตกต่าง (Accommodation) กระบวนการดูดซึม(หรือการรับรู้)จะเกิดขึ้นก่อน คือ เมื่อ เด็กปะทะสัมพันธ์กับสิ่งใดก็จะดูดซึมภาพ หรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ตามประสบการณ์ที่เคยประสบ รวมรวบเข้าไป อยู่ในโครงสร้างของสติปัญญา(Cognetive Structure) และเมื่อได้รับประสบการณ์ใหม่ที่แตกต่างจากเดิมก็จะ ปรับตัว เปลี่ยนแปลงโครงสร้างของสติปัญญาให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม เช่น แรกเริ่มเด็กเข้าใจว่าผู้ใหญ่ผมยาวและ นุ่งกระโปรง แต่เมื่อเขาไปเจอผู้ชายผมยาวก็มีก็จะปรับโครงสร้างความเข้าใจอันนี้ใหม่ สาหรับพัฒนาการทางเชาวน์ปัญญาของเพียเจต์นั้นสามารถแบ่งขั้นตอนทั้งสิ้น 4 ลาดับขั้น ได้แก่ ระยะที่ 1 ขั้นของการใช้ประสาทสัมผัสและกล้ามเนื้อ (Sensory – Motor Operation or Reflexive) อยู่ในช่วงอายุแรกเกิดถึง 2 ปี เด็กจะพัฒนาการแก้ปัญหาโดยไม่ต้องใช้ภาษาเป็นสื่อ เป็นช่วงเริ่มต้นที่จะเรียนรู้
  • 2. ในการปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อม ถ้ามีการใช้ประสาทสัมผัสมากเท่าไรก็จะช่วยพัฒนาเชาวน์ปัญญาได้มากขึ้น ด้วย โดยทั่วไปเด็กจะรับรู้สิ่งที่เป็นรูปธรรมได้เท่านั้น ระยะที่ 2 ขั้นเตรียมความคิดที่มีเหตุผล หรือการคิดก่อนปฏิบัติการ (Preoperation or Preconceptural Stage or Concret Thinking Operations) อยู่ในช่วงอายุ 2-7 ปี พัฒนาการเชาว์ปัญญา ของเด็กวัยนี้เน้นไปที่การเรียนรู้ และเริ่มมีพัฒนาการทางภาษาดีขึ้นด้วย โดยสามารถพูดได้เป็นประโยค มีการ สร้างคาได้มากขึ้น แต่เด็กยังไม่สามารถใช้สติปัญญาคิดได้อย่างเต็มที่ ระยะที่ 3 ขั้นคิดอย่างมีเหตุผลและเป็นรูปธรรม (Concrete Operation Stage or Period of Concrete Operation) หรือขั้นปฏิบัติการด้วยรูปธรรม อยู่ในช่วงอายุ 7-11 ปี เด็กในวัยนี้จะสามารถใช้ เหตุผลในการตัดสินใจปัญหา ต่าง ๆ ได้ดีขึ้น โดยลักษณะเด่นของเด็กวัยนี้คือ 1. สามารถสร้างจินตนาการในความคิดของตนขึ้นมาได้ (Mental Representations) 2. เริ่มเข้าใจเกี่ยวกับการคงสภาพปริมาณของสสาร (Conservation) ่ 3. มีความสามารถในการคิดเปรียบเทียบ (Relational Terms) 4. สามารถสร้างกฎเกณฑ์เพื่อจัดสิ่งแวดล้อมเป็นหมวดหมู่ได้ (Class inclusion) เช่น การแบ่งแยก ประเภทของสัตว์ เป็นต้น 5 .มีความสามารถในการเรียงลาดับ (Serialization and Hierarchical Arrangements) 6. สามารถคิดย้อนกลับไปมาได้ (Reversibility) ระยะที่ 4 ขั้นของการคิดอย่างมีเหตุผลและอย่างเป็นนามธรรม (Formal Operation Stage or Period of Formal Operation) หรือขั้นการปฏิบัติการด้วยนามธรรม อยู่ในช่วงอายุตั้งแต่ 12 ปีขึ้นไป เด็กจะ เริ่มคิดแบบผู้ใหญ่ได้ เข้าใจในสิ่งที่เป็นนามธรรม เป็นตัวของตัวเอง ต้องการอิสระ ไม่ยึดตนเป็นศูนย์กลาง รู้จัก การใช้เหตุผลได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพียเจต์ ( Piaget, 1932 : 9-55 ) เชื่อว่าการเรียนรู้ของมนุษย์เกิดจากการปรับตัวและการสร้างสมดุล ระหว่างสติปัญญากับสภาวะแวดล้อมที่จะทาให้มนุษย์ดารงชีวิตอยู่ พัฒนาการของมนุษย์มีความต่อเนื่องและ เจริญขึ้นตามวุฒิภาวะ และพัฒนาการของมนุษย์ย่อมขึ้นอยู่กับพัฒนาทางสติปัญญาของบุคคลนั้น เพียเจต์ ( Piaget ) ได้แบ่งขั้นตอนของพัฒนาสติปัญญาออกเป็น 4 ขั้นคือ 1. ขั้นรับรู้จากประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหว (sensorimotor operation) 2. ขั้นเริ่มคิดด้วยปัญญา (pre-operational thinking) 3. ขั้นคิดด้วยรูปธรรม (concrete operational thinking) 4. ขั้นคิดตามแบบแผนของตรรกวิทยา (formal prepositional thinking or formal operational thinking) จากพัฒนาการทางสติปัญญาทั้ง 4 ขั้นนี้ เพียเจต์ ( Piaget) ได้นามาเป็นหลักเกณฑ์ในการแบ่งขั้น พัฒนาจริยธรรมออกเป็น 3 ขั้น ดังนี้ ระดับพัฒนาทางสติปัญญา 1. ขั้นรับรู้จากประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหว (sensorimotor operation) อายุตั้งแต่แรกเกิด จนถึง 2 ขวบ 2. ขั้นเริ่มคิดด้วยปัญญา (pre-operational thinking) และขั้นเริ่มคิดด้วยรูปธรรม (early concrete operational thinking) อายุประมาณ 2-7 ปี 3. ขั้นคิดค้นด้วยรูปธรรมในช่วงปลาย (late concrete operational thinking) อายุ 7-11 ปี ถึงขั้นคิดตาม
  • 3. แบบแผนของตรรกวิทยา (formal operational thinking) อายุตั้งแต่ 11 ปี ขึ้นไปถึง 15 ปี ระดับพัฒนาทางจริยธรรม 1. ขั้นก่อนจริยธรรม เป็นชั้นที่ยังไม่มีความสามารถรับรู้สิ่งแวดล้อมได้อย่างละเอียด มีแต่ความต้องการทาง ร่างกาย 2. ขั้นยึดคาสั่ง ในขั้นนี้เด็กจะรับรู้สภาพสิ่งแวดล้อมและบทบาทของตนเองต่อผู้อื่น รู้จักเกรงกลัวผู้ใหญ่ เห็นว่า คาสั่งหรือกฎเกณฑ์ต่าง ๆ เป็นสิ่งที่ต้องปฏิบัติตาม 3. ขั้นยึดหลักแห่งตน เด็กสามารถใช้ความคิดอย่างมีเหตุผลประกอบการตัดสินใจและตั้งเกณฑ์ที่เป็นตัวของ ตัวเอง ผลจาการวิจัยในระยะต่อมา เพียเจต์ ( Piaget) ได้ตั้งเกณฑ์การให้เหตุผลเชิงจริยธรรมไว้ 6 เกณฑ์ คือ 1. การตัดสินจากเจตนาการกระทา (intentional in judgment) เด็กเล็กจะตัดสินการกระทาจาก ปริมาณสิ่งของ ส่วนเด็กโตจะตัดสินจากเจตนาของการกระทา 2. การตัดสินเกี่ยวโยงกับความสัมพันธ์กับผู้อื่น (Relativism in Judgment) เด็กเล็กจะตัดสินการ กระทาโดยยึดเอาความเชื่อความเห็นของผู้ใหญ่ว่าดี ส่วนเด็กโตจะยึดเอาเหตุผลและสถานการณ์ประกอบการ ตัดสิน 3. ความเห็นอิสระจากการลงโทษ (independent of sanction) เด็กเล็กจะตัดสินว่าการกระทาใดไม่ ดีจากการกระทาใดไม่ดีจากการถูกทาโทษ แต่เด็กโตจะตัดสินการกระทาใดไม่ดี เพราะสิ่งนั้นไปขัดกับเกณฑ์ และเกิดอันตรายต่อบุคคลอื่น 4. ใช้วิธีการแก้แค้น (use of reciprocity) วิธีนี้เด็กเล็กใช้น้อยกว่าเด็กโต 5. การลงโทษเพื่อตัดสินนิสัย (use of punishment as restitution and reform) เด็กเล็กจะ สนับสนุนการลงโทษอย่างหนักเพื่อแก้นิสัย แต่เด็กโตไม่ค่อยเห็นด้วย 6. หลักธรรมชาติของความโหดร้าย (nationalist of misfortune) เด็กเล็กจะถือว่าการกระทาผิด จะต้องได้รับการลงโทษจากพระเจ้า จากที่กล่าวมาพอจะสรุปได้ว่าตามแนวคิดของเพียเจต์ ( Piaget) เด็กเล็กจะมองกฎเกณฑ์ว่าเป็นสิ่ง จริงจัง เปลี่ยนแปลงไม่ได้ ( absolute) และมาจากอานาจภายนอก ( external) หมายความว่า พัฒนาการทาง จริยธรรมของเด็กเล็กจะอยู่ในลักษณะผิดว่ากันไปตามสิ่งที่สังเกตเห็นได้ โดยมิได้คานึกถึงเจตนาของผู้กระทา ที่ เป็นเช่นนี้เนื่องมาจากการใช้ภาษา และความคิดของเด็กมีลักษณะยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง (egocentric) ทา ให้ไม่สามารถมองเห็นหลาย ๆ สิ่งได้ ในเวลาเดียวกัน เมื่อเด็กโตขึ้นอายุประมาณ 11-12 ปี พัฒนาการทาง จริยธรรมของเด็กวัยนี้จะมีการเชื่อมโยงหาเหตุผล เด็กจะคานึงถึงเจตนาของผู้ทามากกว่าสิ่งที่สังเกตได้เฉพาะ หน้า เนื่องจากเด็กวัยนี้สามารถมองหลาย ๆ สิ่งได้ในเวลาเดียวกัน เด็กโตจึงสามารถเข้าใจถึงเจตนาของผู้อื่น และสามารถยืดหยุ่นเกี่ยวกับกฎเกณฑ์ได้ โดยตระหนักว่ากฎเกณฑ์เป็นเพียงข้อตกลงระหว่างบุคคลในการ ควบคุมพฤติกรรมในแต่ละสถานการณ์เท่านั้น นอกจากนี้ยังสามารถนากฎเกณฑ์ไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆได้ สาราญ ศรีคามูล.จริยธรรม. อ้างอิง : http://www.baanjomyut.com/library_3/extension-2/ethics/05_1.html/ (วันที่ค้น ข้อมูล:26 สิงหาคม 2557)