SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 31
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
บทที่ 9 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
สถานการณ์ปัญหา(Problem-based 
learning) 
ครูพลกิต เป็นครูที่พึ่งมาบรรจุใหม่ 
หลังจากที่รายการตัวต่อสานักงานเขตพื้นที่ 
การศึกษาประจาจังหวัดที่สังกัดแล้วก็ไปรายงาน 
ตัวต่อโรงเรียนซึ่งเป็นโรงเรียนประจาจังหวัด 
ผู้อานวยการโรงเรียนมอบหมายให้ครูพลกิตสอน 
ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 และเป็นห้องเด็ก 
เก่งด้วย ยิ่งทาให้ครูพลกิตรู้สึกไม่มั่นใจในการ 
สอนว่าตนเองจะสามารถทาได้ดีหรือไม่และ 
นักเรียนจะสนุกหรือสนใจในวิธีการสอนของ 
ตนเองหรือไม่ 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
สถานการณ์ปัญหา(Problem-based 
learning) (ต่อ) 
ที่สาคัญคือนักเรียนห้องนี้มีลักษณะที่ชอบค้นคว้า หาความรู้ กิจกรรมที่ 
เน้นให้ปฏิบัติได้ลงมือกระทา ฝึกคิดหรือที่ท้ายทายการทางานนักเรียนจะ 
ชอบมากอีกทั้งยังเรียนพิเศษแบบเข้มข้นเนื้อหาในหนังสือเรียนส่วนใหญ่ 
นักเรียนจะรู้และทาความเข้าใจอย่างลึกซึ้งมาก่อนแล้ว แต่ที่สังเกตได้ชัดคือ 
นักเรียนจะแข่งกันเรียน ทางานกลุ่มไม่ค่อยประสบความสาเร็จเท่าที่ควร ซึ่งผู้ 
อานวยการโรงเรียนฝากความหวังไว้ที่ครูพลกิตเพื่อช่วยพัฒนาและแก้ปัญหา 
การเรียนรู้ของนักเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้องนี้ให้ได้ 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
ภารกิจที่1 
ครูพลกิตจะมีหลักในการเตรียมความพร้อมเพื่อให้สามารถจัดการ 
เรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพได้อย่างไร 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
การจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพนั้นผู้สอนควรดาเนินการจัดเตรียม 
ความพร้อมและสิ่งที่จะสนับสนุนการจัดประสบการณ์เรียนรู้ของผู้เรียนให้ 
บรรลุเป้าหมายและเกิดการเรียนรู้ที่ดี 
สิ่งที่ครูพลกิตจะ 
ต้องจัดเตรียม 
สื่อและวัสดุ 
อุปกรณ์ 
สิ่งแวดล้อม 
ทางการเรียนรู้ 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ 
ความพร้อม 
ของผู้เรียน
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
ครูพลกิตต้องเตรียมความพร้อมของสื่อดังนี้ 
คัดเลือกสื่อที่ตอบสนองวิธีการเรียนรู้เพื่อใช้ในการนาเสนอความรู้ 
พัฒนาหรือปรับปรุงสื่อเพื่อให้สามารถใช้งานได้ 
ออกแบบและพัฒนาสื่อการเรียนรู้ที่มีความสอดคล้องกับการเสาะ 
แสวงหาความรู้และเป้าหมายของรายวิชา 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
ครูพลกิตสามารถแบ่งการใช้สื่อ 
ออกเป็น 3 ช่วง คือ 
ก่อนการจัดการเรียนรู้ 
หลังการจัดการเรียนรู้ 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ 
ระหว่างการจัดการเรียนรู้
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
ก่อนการจัดการเรียนรู้ 
ผู้สอนและผู้เรียนควรมีการศึกษาวิธีการใช้งานสื่อให้เกิดความชานาญ 
ตรวจสอบความพร้อมของสื่อว่าสามารถใช้งานได้จริง 
เก็บสื่อและวัสดุการเรียนให้ง่ายและสะดวกต่อการใช้งาน 
ถ้าใช้สื่อที่มีเสียงประกอบหรือวีดิทัศน์ ควรทดสอบว่าแสดงผลได้หรือไม่ 
เช็คว่าสื่อนั้นผู้เรียนสามารถมองเห็นหรือได้ยินอย่างทั่วถึงในชั้นเรียน 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
ระหว่างการจัดการเรียนรู้ 
มีการเน้นสาระสาคัญ ความคิดรวบยอดที่ต้องการให้ผู้เรียนใส่ 
ใจด้วยการเขียนบนกระดานหรือเน้นลงในสื่อ 
หลังการจัดการเรียนรู้ 
ปฏิบัติตามที่กาหนดในบทเรียนด้วยการอภิปราย การทาโครงงาน 
หรือกิจกรรมอื่นๆที่ให้ผู้เรียนได้นาความรู้ไปใช้ 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
สิ่งแวดล้อม 
ทางการเรียนรู้ 
เตรียมความพร้อม 
ของห้องเรียน 
ให้น่าเรียน 
เตรียมความพร้อม 
ของห้องปฏิบัติการ 
สาหรับบางวิชา 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ 
ห้องต้องเอื้อต่อการจัด 
กิจกรรมกลุ่มหรือ 
กิจกรรมการเรียนรู้อื่นๆ 
เตรียมอุปกรณ์ต่างๆ 
ที่ต้องใช้ให้อยู่ในสภาพที่ 
พร้อมใช้งานได้จริง
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
เริ่มด้วยการให้มโนมิติทางการเรียนล่วงหน้าก่อนเรียน 
โดยการ จัดทาโครงเรื่องเนื้อหาให้ผู้เรียนศึกษาล่วงหน้า 
การแนะนากิจกรรมการเรียน 
ให้สารสนเทศที่สาคัญก่อนจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะ 
เป้าหมาย ให้ผู้เรียนใส่ใจ และสร้างความต้องการที่จะเรียนรู้ 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
การสร้างแรงจูงใจ และการปฐมนิเทศก่อนเรียน 
การนาเสนอให้ผู้เรียนทราบถึงสาระสาคัญของ 
การสอนการจัดกิจกรรม 
กระตุ้นให้ผู้เรียนสร้างความเกี่ยวข้องของบทเรียนกับ 
ประสบการณ์เดิมและเนื้อหาที่จะเรียนรู้ในอนาคต 
โดยการ 
เป้าหมาย 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
การดาเนินการตามบทเรียน 
ครูพลกิตควรจะดาเนินการ 
เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ดังนี้ 
ให้กิจกรรมการเรียนรู้ที่ชัดเจน 
กาหนดขั้นตอนในการเรียนรู้ 
สร้างแรงจูงใจในการเรียน 
ตั้งคาถามในระหว่างเรียน 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
ภารกิจที่2 
ให้วิเคราะห์ว่าจะเลือกใช้สื่อหรือวิธีการจัดการ 
เรียนรู้แบบใดจึงจะสอดคล้องกับลักษณะการเรียนรู้ 
ของผู้เรียนตามสถานการณ์ที่กาหนดให้ 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
จากลักษณะการเรียนรู้ของผู้เรียนตาม 
สถานการณ์ที่กาหนดให้ครูพลกิตควรจะ 
เลือกใช้สื่อประเภทวิธีการ 
เพราะลักษณะการเรียนรู้ประเภทนี้มีแนวคิด 
เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ที่เปลี่ยนมามุ่งเน้นให้ผู้เรียน 
เป็นผู้มีบทบาทในการลงมือกระทา คิดและสร้างความรู้ 
ขึ้นด้วยตนเองซึ่งสอดคล้องกับลักษณะนักเรียนชั้น 
มัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ครูพลกิตสอน 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
ตัวอย่างการ 
จัดการ 
เรียนรู้ 
การเรียน 
แบบร่วมมือ 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ 
การเรียนรู้ 
แบบ 
โครงงาน 
การเรียนรู้ 
แบบสร้าง 
องค์ความรู้ 
การเรียนรู้ 
แบบใช้ 
ปัญหาเป็น 
ฐาน 
การเรียนรู้ 
แบบสืบเสาะ
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
การเรียนแบบร่วมมือ 
นักเรียนเรียนด้วยกันเป็นกลุ่มเล็กแบบคละ 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ 
ความสามารถ 
นักเรียนทางานร่วมกัน ช่วยเหลือกันในการ 
ผสมผสานความรู้ที่มีอยู่เดิมกับความรู้ใหม่ 
นักเรียนทากิจกรรมในการสืบค้น (Explore) 
อภิปราย (Discuss) อธิบาย (Explain) 
สอบสวนแนวความคิดและแก้ปัญหาร่วมกันในกลุ่ม
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
รูปแบบการเรียนแบบร่วมมือที่ 
เป็นที่ยอมรับกันแพร่หลาย มี 
ดังต่อไปนี้ 
1. STAD (Student Teams -Achievement Division) เป็นรูปแบบการเรียนรู้มี 
เป้าหมายเพื่อพัฒนาการสัมฤทธ์ิพลของการเรียนและทักษะทางสังคมเป็นสา คัญ 
2. TGT (Team Games Tournament) เป็นการจูงใจในการเรียนเพิ่มขึ้น โดยการใช้ 
การแข่งขันเกมแทนการทดสอบย่อย 
3. TAI (Team Assisted Individualization) เป็นรูปแบบการเรียนที่ผสมผสาน 
แนวคิดระหว่างการร่วมมือในการเรียนรู้กับการสอนเป็นรายบุคคล 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
4. CIRC (Cooperative Integrated Reading and Composition) เป็นรูปแบบการ 
เรียนแบบร่วมมือแบบผสมผสาน ที่มุ่งพัฒนาขึ้นเพื่อสอนการอ่านและการเขียน 
สาหรับนักเรียนประถมศึกษาตอนปลายโดยเฉพาะ 
5. Jigsaw เป็นรูปแบบที่เหมาะสมกับวิชาที่เกี่ยวข้องกับการบรรยาย เช่นสังคม 
ศึกษาวรรณคดี วิทยาศาสตร์ในบางเรื่อง เน้นการพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ 
6. Co – op Co – op เป็นรูปแบบที่สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มย่อยจะได้รับมอบหมาย 
ให้ศึกษาเนื้อหา หรือทา กิจกรรมที่ต่างกัน ทา เสร็จแล้วนา ผลงานมารวมกันเป็น 
กลุ่มร่วมกันแก้ไขทบทวนแล้วนา มาเสนอต่อชั้นเรียน 
7. การเล่าเรื่องรอบวง (Round robin) เป็นเทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่เปิด 
โอกาสให้สมาชิกทุกคนได้เล่าประสบการณ์ ความรู้ สิ่งที่ตนกา ลังศึกษา สิ่งทตี่น 
ประทับใจให้เพื่อนๆ ในกลุ่มฟัง 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ 
ม
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
8. มุมสนทนา (Corners) เป็นรูปแบบที่ให้ผู้เรียนกลุ่มย่อยแต่ละกลุ่มช่วยกันหา 
คา ตอบสา หรับโจทย์ปัญหาต่างๆ ที่ครูยกขึ้นมา และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนอธิบาย 
เรื่องราวที่ตนศึกษาให้เพื่อนกลุ่มอื่นฟัง 
9. คู่ตรวจสอบ (Pairs Check) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มละ 4 หรือ 6 คน จับคู่กัน 
ทา งาน คนหนึ่งทา หน้าที่เสนอแนะวิธีแก้ปัญหา อีกคนทา หน้าที่แก้โจทย์ เสร็จข้อ 
ม 
ที่1 แล้วให้สลับหน้าที่กัน เมื่อเสร็จครบ 2 ข้อ ให้นา คา ตอบมาตรวจสอบกับ 
คา ตอบของคู่อื่นในกลุ่ม 
10. คู่คิด (Think-Pair Share) ครูตั้งคา ถามให้นักเรียนตอบ นักเรียนแต่ละคน 
จะต้องคิดคา ตอบของตนเอง นา คา ตอบมาอภิปรายกับเพื่อนที่นั่งติดกับตน นา 
คา ตอบมาเล่าให้เพื่อนทั้งชั้นฟัง 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
11. ร่วมกันคิด (Numbered Heads Together) ครูถามคา ถาม เปิดโอกาสให้ 
นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันคิดหาคา ตอบ จากนั้นครูจึงเรียกให้นักเรียนคนใดคน 
หนึ่งจากกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งหรือทุกๆกลุ่มตอบคา ถาม เป็นวิธีการที่นิยมใช้ในการ 
ทบทวนหรือตรวจสอบความเข้าใจ 
12. การเรียนแบบร่วมมือกับการสอนคณิตศาสตร์ (Johmson andJohmson, 1989) 
กล่าวว่า การเรียนแบบร่วมมือสามารถใช้ได้เป็นอย่างดีในการเรียนคณิตศาสตร์ 
เพื่อให้นักเรียนคิดทางคณิตศาสตร์เข้าใจการเชื่อมโยงระหว่างมโนมติและ 
กระบวนการ และสามารถที่จะประยุกต์ใช้ความรู้อย่างคล่องแคล่ว 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
การเรียนรู้แบบ 
โครงงาน 
ความรู้ความจา 
(Knowledge) 
ความเข้าใจ 
(Comprehension) 
เป็นการเรียนรู้ที่ 
เชื่อมโยงหลักการ 
พัฒนาการคิดขอ 
งบลูม (Bloom) 
การนาไปใช้ 
(Application) การวิเคราะห์ 
(Analysis) 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ 
การประเมินค่า 
(Evaluation) 
การสังเคราะห์ 
(Synthesis)
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
รูปแบบการเรียนรู้แบบ 
โครงงานมีดังต่อไปนี้ 
ผู้สอนต้องสังเกต สร้างความสนใจให้ 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ 
เกิดขึ้นในตัวผู้เรียน 
ตกลงร่วมกันในการเลือกเรื่องที่สนใจ 
ต้องการศึกษาอย่างละเอียด
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
มีขั้นตอนดังนี้ 
1. ผู้เรียนกาหนดปัญหาที่จะศึกษา 
2. ผู้เรียนตั้งสมมติฐานเบื้องต้น 
3. ผู้เรียนตรวจสอบสมมติฐานเบื้องต้น 
4. ผู้เรียนสรุปข้อความรู้จากผลการ 
ตรวจสอบสมมติฐาน 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
ระยะที่3 ขนั้ 
สรุป 
เป็นระยะสุดท้ายของโครงงานที่ผู้เรียน 
ค้นพบคาตอบของปัญหาแล้ว 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ 
สิ่งที่แสดงความผู้เรียน 
ของครูพลกิต 
ประสบความสาเร็จ คือ 
1. ผู้เรียนเขียนรายงานเป็น 
รูปแบบงานวิจัยเล็ก ๆ 
2. ผู้เรียนนาเสนอผลงาน โดยอาจแสดง 
เป็นแผงโครงงานให้ผู้ที่สนใจรับรู้
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
การเรียนรู้แบบใช้ 
ปัญหาเป็นฐาน 
สิ่งที่ครูพลกิต 
ต้องคานึงถึง 
คือ 
พื้นฐานความรู้ความสามารถของผู้เรียน 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ 
ประสบการณ์ของผู้เรียน 
ความสนใจของผู้เรียน 
ภูมิหลังของผู้เรียน
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
การเรียนรู้แบบ 
สร้างองค์ความรู้ 
จัดเป็นการเรียนรู้ตามทฤษฎีคอนสตัคติวิสต์ 
สนับสนุนการสร้างมากกว่าความพยายามใน 
การถ่ายทอดความรู้ ดังนั้น 
คอนสตรัคติวิสต์(Constructivism) 
จะมุ่งเน้นการสร้างความรู้ใหม่อย่างเหมาะสม 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ 
ของแต่ละบุคคล
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
แนวทางในการ 
จัดการเรียนรู้แบบ 
สร้างองค์ความรู้มี 
รายละเอียดดังนี้ 
การเชื่อมโยง 
ความรู้เดิม 
กับความรู้ 
ใหม่ 
การกระตุ้นให้ 
เกิดความสงสัย 
และท้าทายการ 
เรียนรู้ 
การส่งเสริม 
การเรียนรู้ผ่าน 
การสร้าง 
ประสบการณ์ที่ 
หลากหลาย 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ 
การสร้างความ 
เข้าใจของ 
ตนเองและกลุ่ม 
โดยสะท้อน 
ความคิด 
การส่งเสริม 
การมี 
ปฏิสัมพันธ์ 
เชิงสังคม
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
การเรียนรู้แบบ 
สืบเสาะ 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ 
มุ่งเน้นกิจกรรมที่หลากหลาเกี่ยวกับ 
การสังเกต การถามคาถาม 
การทดสอบตรวจสอบหลักฐานเพื่อเป็น 
การยืนยันความรู้ที่ได้ค้นพบ 
กระตุ้นผู้เรียนให้ตื่นเต้นสงสัยใคร่รู้ให้ 
ผู้เรียนตั้งใจรวบรวมข้อมูลและหลักฐาน
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ เพื่อให้ผู้เรียนสร้างองค์ 
ความรู้ใหม่โดยเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนรู้เข้ากับประสบการณ์หรือความรู้ 
เดิม เรียกรูปแบบการสอนนี้ว่า Inquiry cycle หรือ 
5Es มีขนั้ตอนดังนี้ 
1) การสร้างความสนใจ (Engage) 
2) การสารวจและค้นหา (Explore) 
3) การอธิบาย (Explain) 
4) การขยายความรู้ (Elaborate) 
5) การประเมินผล (Evaluate) 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
นายพงพูวิศ สุขรี่ 563050110-5 
นายศรายุทธ ลูกอินทร์ 563050389-8 
นายศิริ ศิริภิรมย์ 563050392-9 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

นวัตกรรมบทที่ 9
นวัตกรรมบทที่ 9นวัตกรรมบทที่ 9
นวัตกรรมบทที่ 9Setthawut Ruangbun
 
มคอ.3 il156
มคอ.3 il156มคอ.3 il156
มคอ.3 il156Ajnawa Sing
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ วิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ  วิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ  วิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ วิธีการจัดการเรียนรู้Aa-bb Sangwut
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนAbdul Mahama
 
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนchaiwat vichianchai
 
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4Jiraporn Kru
 
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57Kongkrit Pimpa
 
เธง เน€เธ„เธฃเธฒเธฐเธซ เน‚เธ—เธฃเธ—_เธจเธ™_
เธง เน€เธ„เธฃเธฒเธฐเธซ เน‚เธ—เธฃเธ—_เธจเธ™_เธง เน€เธ„เธฃเธฒเธฐเธซ เน‚เธ—เธฃเธ—_เธจเธ™_
เธง เน€เธ„เธฃเธฒเธฐเธซ เน‚เธ—เธฃเธ—_เธจเธ™_ปรียานุช เพชรคงทอง
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Fern's Supakyada
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนAon Narinchoti
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านaapiaa
 
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56misspornpun
 
การจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ Stadการจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ StadSandee Toearsa
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51Suwanan Nonsrikham
 
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555jammaree samanchat
 
การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ของนางอนงค์ ภูหัวตลาด
การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ของนางอนงค์  ภูหัวตลาด การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ของนางอนงค์  ภูหัวตลาด
การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ของนางอนงค์ ภูหัวตลาด jutatip3059
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51Suwanan Nonsrikham
 

Mais procurados (20)

นวัตกรรมบทที่ 9
นวัตกรรมบทที่ 9นวัตกรรมบทที่ 9
นวัตกรรมบทที่ 9
 
มคอ.3 il156
มคอ.3 il156มคอ.3 il156
มคอ.3 il156
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ วิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ  วิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ  วิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ วิธีการจัดการเรียนรู้
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
 
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
 
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
 
เธง เน€เธ„เธฃเธฒเธฐเธซ เน‚เธ—เธฃเธ—_เธจเธ™_
เธง เน€เธ„เธฃเธฒเธฐเธซ เน‚เธ—เธฃเธ—_เธจเธ™_เธง เน€เธ„เธฃเธฒเธฐเธซ เน‚เธ—เธฃเธ—_เธจเธ™_
เธง เน€เธ„เธฃเธฒเธฐเธซ เน‚เธ—เธฃเธ—_เธจเธ™_
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้าน
 
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
 
การจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ Stadการจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ Stad
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
 
การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ของนางอนงค์ ภูหัวตลาด
การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ของนางอนงค์  ภูหัวตลาด การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ของนางอนงค์  ภูหัวตลาด
การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ของนางอนงค์ ภูหัวตลาด
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
 
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
 

Destaque

การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21Anucha Somabut
 
Интернет в социологии – важнейшие информационные сайты. Южакова Эльмира, И-101
Интернет в социологии – важнейшие информационные сайты. Южакова Эльмира, И-101Интернет в социологии – важнейшие информационные сайты. Южакова Эльмира, И-101
Интернет в социологии – важнейшие информационные сайты. Южакова Эльмира, И-101Elmira_Yuzhakova
 
Providing incentives
Providing incentivesProviding incentives
Providing incentivesJoseph Grabel
 

Destaque (20)

การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
 
IMAGE RETRIEVAL USING QUADRATIC DISTANCE BASED ON COLOR FEATURE AND PYRAMID S...
IMAGE RETRIEVAL USING QUADRATIC DISTANCE BASED ON COLOR FEATURE AND PYRAMID S...IMAGE RETRIEVAL USING QUADRATIC DISTANCE BASED ON COLOR FEATURE AND PYRAMID S...
IMAGE RETRIEVAL USING QUADRATIC DISTANCE BASED ON COLOR FEATURE AND PYRAMID S...
 
Ijtra150135
Ijtra150135Ijtra150135
Ijtra150135
 
COMPARISON OF THE EXPERIMENTAL PERFORMANCE OF A THERMOELECTRIC REFRIGERATOR W...
COMPARISON OF THE EXPERIMENTAL PERFORMANCE OF A THERMOELECTRIC REFRIGERATOR W...COMPARISON OF THE EXPERIMENTAL PERFORMANCE OF A THERMOELECTRIC REFRIGERATOR W...
COMPARISON OF THE EXPERIMENTAL PERFORMANCE OF A THERMOELECTRIC REFRIGERATOR W...
 
IMPLEMENTATION OF METHODS FOR TRANSACTION IN SECURE ONLINE BANKING
IMPLEMENTATION OF METHODS FOR TRANSACTION IN SECURE ONLINE BANKINGIMPLEMENTATION OF METHODS FOR TRANSACTION IN SECURE ONLINE BANKING
IMPLEMENTATION OF METHODS FOR TRANSACTION IN SECURE ONLINE BANKING
 
ASSESSMENT OF HEAVY METALS CONCENTRATION IN INDIAN AND PAKISTANI VEGETABLES
ASSESSMENT OF HEAVY METALS CONCENTRATION IN INDIAN AND PAKISTANI VEGETABLESASSESSMENT OF HEAVY METALS CONCENTRATION IN INDIAN AND PAKISTANI VEGETABLES
ASSESSMENT OF HEAVY METALS CONCENTRATION IN INDIAN AND PAKISTANI VEGETABLES
 
A NEW CODING METHOD IN PATTERN RECOGNITION FINGERPRINT IMAGE USING VECTOR QUA...
A NEW CODING METHOD IN PATTERN RECOGNITION FINGERPRINT IMAGE USING VECTOR QUA...A NEW CODING METHOD IN PATTERN RECOGNITION FINGERPRINT IMAGE USING VECTOR QUA...
A NEW CODING METHOD IN PATTERN RECOGNITION FINGERPRINT IMAGE USING VECTOR QUA...
 
SPLIT BLOCK SUBDIVISION DOMINATION IN GRAPHS
SPLIT BLOCK SUBDIVISION DOMINATION IN GRAPHSSPLIT BLOCK SUBDIVISION DOMINATION IN GRAPHS
SPLIT BLOCK SUBDIVISION DOMINATION IN GRAPHS
 
GSM CONTROL OF ELECTRICAL APPLIANCES
GSM CONTROL OF ELECTRICAL APPLIANCESGSM CONTROL OF ELECTRICAL APPLIANCES
GSM CONTROL OF ELECTRICAL APPLIANCES
 
EFFECT OF TRANS-SEPTAL SUTURE TECHNIQUE VERSUS NASAL PACKING AFTER SEPTOPLASTY
EFFECT OF TRANS-SEPTAL SUTURE TECHNIQUE VERSUS NASAL PACKING AFTER SEPTOPLASTYEFFECT OF TRANS-SEPTAL SUTURE TECHNIQUE VERSUS NASAL PACKING AFTER SEPTOPLASTY
EFFECT OF TRANS-SEPTAL SUTURE TECHNIQUE VERSUS NASAL PACKING AFTER SEPTOPLASTY
 
UNIVERSIDAD METROPOLITANA
UNIVERSIDAD METROPOLITANAUNIVERSIDAD METROPOLITANA
UNIVERSIDAD METROPOLITANA
 
CHRONOLOGICAL RELATIONSHIPS BETWEEN ESTRUS ONSET, TIME OF LH SURGE AND OVULAT...
CHRONOLOGICAL RELATIONSHIPS BETWEEN ESTRUS ONSET, TIME OF LH SURGE AND OVULAT...CHRONOLOGICAL RELATIONSHIPS BETWEEN ESTRUS ONSET, TIME OF LH SURGE AND OVULAT...
CHRONOLOGICAL RELATIONSHIPS BETWEEN ESTRUS ONSET, TIME OF LH SURGE AND OVULAT...
 
Ijtra130512
Ijtra130512Ijtra130512
Ijtra130512
 
Интернет в социологии – важнейшие информационные сайты. Южакова Эльмира, И-101
Интернет в социологии – важнейшие информационные сайты. Южакова Эльмира, И-101Интернет в социологии – важнейшие информационные сайты. Южакова Эльмира, И-101
Интернет в социологии – важнейшие информационные сайты. Южакова Эльмира, И-101
 
A STUDY OF AN ENTRENCHED SYSTEM USING INTERNET OF THINGS
A STUDY OF AN ENTRENCHED SYSTEM USING INTERNET OF THINGSA STUDY OF AN ENTRENCHED SYSTEM USING INTERNET OF THINGS
A STUDY OF AN ENTRENCHED SYSTEM USING INTERNET OF THINGS
 
YMCA Convention Itinerary
YMCA Convention ItineraryYMCA Convention Itinerary
YMCA Convention Itinerary
 
Untitled Presentation
Untitled PresentationUntitled Presentation
Untitled Presentation
 
CORRELATIONS OF WEIGHT FOR HEIGHT % WITH SERUM TRIGLYCERIDE AND TOTAL CHOLEST...
CORRELATIONS OF WEIGHT FOR HEIGHT % WITH SERUM TRIGLYCERIDE AND TOTAL CHOLEST...CORRELATIONS OF WEIGHT FOR HEIGHT % WITH SERUM TRIGLYCERIDE AND TOTAL CHOLEST...
CORRELATIONS OF WEIGHT FOR HEIGHT % WITH SERUM TRIGLYCERIDE AND TOTAL CHOLEST...
 
Providing incentives
Providing incentivesProviding incentives
Providing incentives
 
DEVELOPMENT OF A SOFTWARE MAINTENANCE COST ESTIMATION MODEL: 4 TH GL PERSPECTIVE
DEVELOPMENT OF A SOFTWARE MAINTENANCE COST ESTIMATION MODEL: 4 TH GL PERSPECTIVEDEVELOPMENT OF A SOFTWARE MAINTENANCE COST ESTIMATION MODEL: 4 TH GL PERSPECTIVE
DEVELOPMENT OF A SOFTWARE MAINTENANCE COST ESTIMATION MODEL: 4 TH GL PERSPECTIVE
 

Semelhante a 1414339429 chakeaw chapter9 (1)

บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Sasitorn Seajew
 
งานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วยงานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วยMoss Worapong
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้pohn
 
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__sinarack
 
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__N'Fern White-Choc
 
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้AomJi Math-ed
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยJutamart Bungthong
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาan1030
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Prakaidao Suebwong
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอนภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอนTar Bt
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยนภสร ยั่งยืน
 
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES  AND  EDUCATIONAL MEDIAINTRODUCTION TO TECHNOLOGIES  AND  EDUCATIONAL MEDIA
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIApompompam
 

Semelhante a 1414339429 chakeaw chapter9 (1) (20)

แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
 
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
งานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วยงานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วย
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
 
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
 
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษา
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอนภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES  AND  EDUCATIONAL MEDIAINTRODUCTION TO TECHNOLOGIES  AND  EDUCATIONAL MEDIA
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA
 

1414339429 chakeaw chapter9 (1)

  • 1. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
  • 2. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning) ครูพลกิต เป็นครูที่พึ่งมาบรรจุใหม่ หลังจากที่รายการตัวต่อสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประจาจังหวัดที่สังกัดแล้วก็ไปรายงาน ตัวต่อโรงเรียนซึ่งเป็นโรงเรียนประจาจังหวัด ผู้อานวยการโรงเรียนมอบหมายให้ครูพลกิตสอน ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 และเป็นห้องเด็ก เก่งด้วย ยิ่งทาให้ครูพลกิตรู้สึกไม่มั่นใจในการ สอนว่าตนเองจะสามารถทาได้ดีหรือไม่และ นักเรียนจะสนุกหรือสนใจในวิธีการสอนของ ตนเองหรือไม่ บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
  • 3. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning) (ต่อ) ที่สาคัญคือนักเรียนห้องนี้มีลักษณะที่ชอบค้นคว้า หาความรู้ กิจกรรมที่ เน้นให้ปฏิบัติได้ลงมือกระทา ฝึกคิดหรือที่ท้ายทายการทางานนักเรียนจะ ชอบมากอีกทั้งยังเรียนพิเศษแบบเข้มข้นเนื้อหาในหนังสือเรียนส่วนใหญ่ นักเรียนจะรู้และทาความเข้าใจอย่างลึกซึ้งมาก่อนแล้ว แต่ที่สังเกตได้ชัดคือ นักเรียนจะแข่งกันเรียน ทางานกลุ่มไม่ค่อยประสบความสาเร็จเท่าที่ควร ซึ่งผู้ อานวยการโรงเรียนฝากความหวังไว้ที่ครูพลกิตเพื่อช่วยพัฒนาและแก้ปัญหา การเรียนรู้ของนักเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้องนี้ให้ได้ บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
  • 4. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ภารกิจที่1 ครูพลกิตจะมีหลักในการเตรียมความพร้อมเพื่อให้สามารถจัดการ เรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพได้อย่างไร บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
  • 5. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น การจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพนั้นผู้สอนควรดาเนินการจัดเตรียม ความพร้อมและสิ่งที่จะสนับสนุนการจัดประสบการณ์เรียนรู้ของผู้เรียนให้ บรรลุเป้าหมายและเกิดการเรียนรู้ที่ดี สิ่งที่ครูพลกิตจะ ต้องจัดเตรียม สื่อและวัสดุ อุปกรณ์ สิ่งแวดล้อม ทางการเรียนรู้ บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ ความพร้อม ของผู้เรียน
  • 6. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ครูพลกิตต้องเตรียมความพร้อมของสื่อดังนี้ คัดเลือกสื่อที่ตอบสนองวิธีการเรียนรู้เพื่อใช้ในการนาเสนอความรู้ พัฒนาหรือปรับปรุงสื่อเพื่อให้สามารถใช้งานได้ ออกแบบและพัฒนาสื่อการเรียนรู้ที่มีความสอดคล้องกับการเสาะ แสวงหาความรู้และเป้าหมายของรายวิชา บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
  • 7. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ครูพลกิตสามารถแบ่งการใช้สื่อ ออกเป็น 3 ช่วง คือ ก่อนการจัดการเรียนรู้ หลังการจัดการเรียนรู้ บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ ระหว่างการจัดการเรียนรู้
  • 8. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ก่อนการจัดการเรียนรู้ ผู้สอนและผู้เรียนควรมีการศึกษาวิธีการใช้งานสื่อให้เกิดความชานาญ ตรวจสอบความพร้อมของสื่อว่าสามารถใช้งานได้จริง เก็บสื่อและวัสดุการเรียนให้ง่ายและสะดวกต่อการใช้งาน ถ้าใช้สื่อที่มีเสียงประกอบหรือวีดิทัศน์ ควรทดสอบว่าแสดงผลได้หรือไม่ เช็คว่าสื่อนั้นผู้เรียนสามารถมองเห็นหรือได้ยินอย่างทั่วถึงในชั้นเรียน บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
  • 9. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ระหว่างการจัดการเรียนรู้ มีการเน้นสาระสาคัญ ความคิดรวบยอดที่ต้องการให้ผู้เรียนใส่ ใจด้วยการเขียนบนกระดานหรือเน้นลงในสื่อ หลังการจัดการเรียนรู้ ปฏิบัติตามที่กาหนดในบทเรียนด้วยการอภิปราย การทาโครงงาน หรือกิจกรรมอื่นๆที่ให้ผู้เรียนได้นาความรู้ไปใช้ บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
  • 10. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สิ่งแวดล้อม ทางการเรียนรู้ เตรียมความพร้อม ของห้องเรียน ให้น่าเรียน เตรียมความพร้อม ของห้องปฏิบัติการ สาหรับบางวิชา บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ ห้องต้องเอื้อต่อการจัด กิจกรรมกลุ่มหรือ กิจกรรมการเรียนรู้อื่นๆ เตรียมอุปกรณ์ต่างๆ ที่ต้องใช้ให้อยู่ในสภาพที่ พร้อมใช้งานได้จริง
  • 11. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เริ่มด้วยการให้มโนมิติทางการเรียนล่วงหน้าก่อนเรียน โดยการ จัดทาโครงเรื่องเนื้อหาให้ผู้เรียนศึกษาล่วงหน้า การแนะนากิจกรรมการเรียน ให้สารสนเทศที่สาคัญก่อนจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะ เป้าหมาย ให้ผู้เรียนใส่ใจ และสร้างความต้องการที่จะเรียนรู้ บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
  • 12. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น การสร้างแรงจูงใจ และการปฐมนิเทศก่อนเรียน การนาเสนอให้ผู้เรียนทราบถึงสาระสาคัญของ การสอนการจัดกิจกรรม กระตุ้นให้ผู้เรียนสร้างความเกี่ยวข้องของบทเรียนกับ ประสบการณ์เดิมและเนื้อหาที่จะเรียนรู้ในอนาคต โดยการ เป้าหมาย บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
  • 13. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น การดาเนินการตามบทเรียน ครูพลกิตควรจะดาเนินการ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ดังนี้ ให้กิจกรรมการเรียนรู้ที่ชัดเจน กาหนดขั้นตอนในการเรียนรู้ สร้างแรงจูงใจในการเรียน ตั้งคาถามในระหว่างเรียน บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
  • 14. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ภารกิจที่2 ให้วิเคราะห์ว่าจะเลือกใช้สื่อหรือวิธีการจัดการ เรียนรู้แบบใดจึงจะสอดคล้องกับลักษณะการเรียนรู้ ของผู้เรียนตามสถานการณ์ที่กาหนดให้ บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
  • 15. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จากลักษณะการเรียนรู้ของผู้เรียนตาม สถานการณ์ที่กาหนดให้ครูพลกิตควรจะ เลือกใช้สื่อประเภทวิธีการ เพราะลักษณะการเรียนรู้ประเภทนี้มีแนวคิด เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ที่เปลี่ยนมามุ่งเน้นให้ผู้เรียน เป็นผู้มีบทบาทในการลงมือกระทา คิดและสร้างความรู้ ขึ้นด้วยตนเองซึ่งสอดคล้องกับลักษณะนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ครูพลกิตสอน บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
  • 16. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ตัวอย่างการ จัดการ เรียนรู้ การเรียน แบบร่วมมือ บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ การเรียนรู้ แบบ โครงงาน การเรียนรู้ แบบสร้าง องค์ความรู้ การเรียนรู้ แบบใช้ ปัญหาเป็น ฐาน การเรียนรู้ แบบสืบเสาะ
  • 17. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น การเรียนแบบร่วมมือ นักเรียนเรียนด้วยกันเป็นกลุ่มเล็กแบบคละ บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ ความสามารถ นักเรียนทางานร่วมกัน ช่วยเหลือกันในการ ผสมผสานความรู้ที่มีอยู่เดิมกับความรู้ใหม่ นักเรียนทากิจกรรมในการสืบค้น (Explore) อภิปราย (Discuss) อธิบาย (Explain) สอบสวนแนวความคิดและแก้ปัญหาร่วมกันในกลุ่ม
  • 18. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น รูปแบบการเรียนแบบร่วมมือที่ เป็นที่ยอมรับกันแพร่หลาย มี ดังต่อไปนี้ 1. STAD (Student Teams -Achievement Division) เป็นรูปแบบการเรียนรู้มี เป้าหมายเพื่อพัฒนาการสัมฤทธ์ิพลของการเรียนและทักษะทางสังคมเป็นสา คัญ 2. TGT (Team Games Tournament) เป็นการจูงใจในการเรียนเพิ่มขึ้น โดยการใช้ การแข่งขันเกมแทนการทดสอบย่อย 3. TAI (Team Assisted Individualization) เป็นรูปแบบการเรียนที่ผสมผสาน แนวคิดระหว่างการร่วมมือในการเรียนรู้กับการสอนเป็นรายบุคคล บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
  • 19. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 4. CIRC (Cooperative Integrated Reading and Composition) เป็นรูปแบบการ เรียนแบบร่วมมือแบบผสมผสาน ที่มุ่งพัฒนาขึ้นเพื่อสอนการอ่านและการเขียน สาหรับนักเรียนประถมศึกษาตอนปลายโดยเฉพาะ 5. Jigsaw เป็นรูปแบบที่เหมาะสมกับวิชาที่เกี่ยวข้องกับการบรรยาย เช่นสังคม ศึกษาวรรณคดี วิทยาศาสตร์ในบางเรื่อง เน้นการพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ 6. Co – op Co – op เป็นรูปแบบที่สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มย่อยจะได้รับมอบหมาย ให้ศึกษาเนื้อหา หรือทา กิจกรรมที่ต่างกัน ทา เสร็จแล้วนา ผลงานมารวมกันเป็น กลุ่มร่วมกันแก้ไขทบทวนแล้วนา มาเสนอต่อชั้นเรียน 7. การเล่าเรื่องรอบวง (Round robin) เป็นเทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่เปิด โอกาสให้สมาชิกทุกคนได้เล่าประสบการณ์ ความรู้ สิ่งที่ตนกา ลังศึกษา สิ่งทตี่น ประทับใจให้เพื่อนๆ ในกลุ่มฟัง บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ ม
  • 20. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 8. มุมสนทนา (Corners) เป็นรูปแบบที่ให้ผู้เรียนกลุ่มย่อยแต่ละกลุ่มช่วยกันหา คา ตอบสา หรับโจทย์ปัญหาต่างๆ ที่ครูยกขึ้นมา และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนอธิบาย เรื่องราวที่ตนศึกษาให้เพื่อนกลุ่มอื่นฟัง 9. คู่ตรวจสอบ (Pairs Check) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มละ 4 หรือ 6 คน จับคู่กัน ทา งาน คนหนึ่งทา หน้าที่เสนอแนะวิธีแก้ปัญหา อีกคนทา หน้าที่แก้โจทย์ เสร็จข้อ ม ที่1 แล้วให้สลับหน้าที่กัน เมื่อเสร็จครบ 2 ข้อ ให้นา คา ตอบมาตรวจสอบกับ คา ตอบของคู่อื่นในกลุ่ม 10. คู่คิด (Think-Pair Share) ครูตั้งคา ถามให้นักเรียนตอบ นักเรียนแต่ละคน จะต้องคิดคา ตอบของตนเอง นา คา ตอบมาอภิปรายกับเพื่อนที่นั่งติดกับตน นา คา ตอบมาเล่าให้เพื่อนทั้งชั้นฟัง บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
  • 21. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 11. ร่วมกันคิด (Numbered Heads Together) ครูถามคา ถาม เปิดโอกาสให้ นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันคิดหาคา ตอบ จากนั้นครูจึงเรียกให้นักเรียนคนใดคน หนึ่งจากกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งหรือทุกๆกลุ่มตอบคา ถาม เป็นวิธีการที่นิยมใช้ในการ ทบทวนหรือตรวจสอบความเข้าใจ 12. การเรียนแบบร่วมมือกับการสอนคณิตศาสตร์ (Johmson andJohmson, 1989) กล่าวว่า การเรียนแบบร่วมมือสามารถใช้ได้เป็นอย่างดีในการเรียนคณิตศาสตร์ เพื่อให้นักเรียนคิดทางคณิตศาสตร์เข้าใจการเชื่อมโยงระหว่างมโนมติและ กระบวนการ และสามารถที่จะประยุกต์ใช้ความรู้อย่างคล่องแคล่ว บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
  • 22. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น การเรียนรู้แบบ โครงงาน ความรู้ความจา (Knowledge) ความเข้าใจ (Comprehension) เป็นการเรียนรู้ที่ เชื่อมโยงหลักการ พัฒนาการคิดขอ งบลูม (Bloom) การนาไปใช้ (Application) การวิเคราะห์ (Analysis) บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ การประเมินค่า (Evaluation) การสังเคราะห์ (Synthesis)
  • 23. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น รูปแบบการเรียนรู้แบบ โครงงานมีดังต่อไปนี้ ผู้สอนต้องสังเกต สร้างความสนใจให้ บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ เกิดขึ้นในตัวผู้เรียน ตกลงร่วมกันในการเลือกเรื่องที่สนใจ ต้องการศึกษาอย่างละเอียด
  • 24. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มีขั้นตอนดังนี้ 1. ผู้เรียนกาหนดปัญหาที่จะศึกษา 2. ผู้เรียนตั้งสมมติฐานเบื้องต้น 3. ผู้เรียนตรวจสอบสมมติฐานเบื้องต้น 4. ผู้เรียนสรุปข้อความรู้จากผลการ ตรวจสอบสมมติฐาน บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
  • 25. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ระยะที่3 ขนั้ สรุป เป็นระยะสุดท้ายของโครงงานที่ผู้เรียน ค้นพบคาตอบของปัญหาแล้ว บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ สิ่งที่แสดงความผู้เรียน ของครูพลกิต ประสบความสาเร็จ คือ 1. ผู้เรียนเขียนรายงานเป็น รูปแบบงานวิจัยเล็ก ๆ 2. ผู้เรียนนาเสนอผลงาน โดยอาจแสดง เป็นแผงโครงงานให้ผู้ที่สนใจรับรู้
  • 26. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น การเรียนรู้แบบใช้ ปัญหาเป็นฐาน สิ่งที่ครูพลกิต ต้องคานึงถึง คือ พื้นฐานความรู้ความสามารถของผู้เรียน บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ ประสบการณ์ของผู้เรียน ความสนใจของผู้เรียน ภูมิหลังของผู้เรียน
  • 27. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น การเรียนรู้แบบ สร้างองค์ความรู้ จัดเป็นการเรียนรู้ตามทฤษฎีคอนสตัคติวิสต์ สนับสนุนการสร้างมากกว่าความพยายามใน การถ่ายทอดความรู้ ดังนั้น คอนสตรัคติวิสต์(Constructivism) จะมุ่งเน้นการสร้างความรู้ใหม่อย่างเหมาะสม บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ ของแต่ละบุคคล
  • 28. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น แนวทางในการ จัดการเรียนรู้แบบ สร้างองค์ความรู้มี รายละเอียดดังนี้ การเชื่อมโยง ความรู้เดิม กับความรู้ ใหม่ การกระตุ้นให้ เกิดความสงสัย และท้าทายการ เรียนรู้ การส่งเสริม การเรียนรู้ผ่าน การสร้าง ประสบการณ์ที่ หลากหลาย บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ การสร้างความ เข้าใจของ ตนเองและกลุ่ม โดยสะท้อน ความคิด การส่งเสริม การมี ปฏิสัมพันธ์ เชิงสังคม
  • 29. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น การเรียนรู้แบบ สืบเสาะ บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ มุ่งเน้นกิจกรรมที่หลากหลาเกี่ยวกับ การสังเกต การถามคาถาม การทดสอบตรวจสอบหลักฐานเพื่อเป็น การยืนยันความรู้ที่ได้ค้นพบ กระตุ้นผู้เรียนให้ตื่นเต้นสงสัยใคร่รู้ให้ ผู้เรียนตั้งใจรวบรวมข้อมูลและหลักฐาน
  • 30. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ เพื่อให้ผู้เรียนสร้างองค์ ความรู้ใหม่โดยเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนรู้เข้ากับประสบการณ์หรือความรู้ เดิม เรียกรูปแบบการสอนนี้ว่า Inquiry cycle หรือ 5Es มีขนั้ตอนดังนี้ 1) การสร้างความสนใจ (Engage) 2) การสารวจและค้นหา (Explore) 3) การอธิบาย (Explain) 4) การขยายความรู้ (Elaborate) 5) การประเมินผล (Evaluate) บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
  • 31. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น นายพงพูวิศ สุขรี่ 563050110-5 นายศรายุทธ ลูกอินทร์ 563050389-8 นายศิริ ศิริภิรมย์ 563050392-9 บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้