SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 25
รายงาน
เรื่อง
สรุปหนังสือเรื่องนิเวศวิทยากับศาสนา
นาเสนอ
อ.ศิรินันต์ สุวรรณโมลี
จาทาโดย
กลุ่ม ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของของวิชา
GEN311(จริยศาสตร์ในสังคมฐานวิทยาศาสตร์)
คานา
นิเวศวิทยากับศาสนา
นิ เ ว ศ วิ ท ย า กั บ ศ า ส น า
จิตวิญญาณเชิงนิเวศในมุมมองต่างวัฒนธรรมนาเสนอแนวคิดที่ทาให้วงถกเถียงอภิปรายในเรื่อง
"นิ เ ว ศ วิ ท ย า แ ล ะ ศ า ส น า " ใ น อ เ ม ริ ก า เ ห นื อ ปั จ จุ บั น ลึ ก ซึ้ ง ม า ก ขึ้ น
โดยได้เพิ่มมิติด้านประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมที่หลากหลายเข้าไปประกอบการพิจารณา
ห นั ง สื อ เ ล่ ม นี้ ใ ห้ ค ว า ม รู้ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ใ น ป ร ะ เ ด็ น ต่ า ง ๆ อ า ทิ
การล่าสัตว์ซึ่งเป็นเสมือนพิธีกรรมทางศาสนา ความศักดิ์สิทธิ์ของแผ่นดิน ศาสนาในเอเชีย
ค ริส ต ศ าส น าใน ด้ าน ที่ เป็ น อัน ต ราย แ ล ะด้ าน ที่ แ ส ด งค ว าม รับ ผิ ด ช อ บ ต่ อ นิ เว ศ
ตลอดจนการกดขี่ขูดรีดต่อธรรมชาติและต่อผู้หญิง ไม่ว่าคุณจะถือว่า “โลกคือบ้าน” หรือว่าเป็นเพียง
"ที่พักแรม" นิเวศวิทยากับศาสนาเล่มนี้จะทาให้คุณเห็นคุณค่าของโลกใบนี้มากขึ้น
ส่วนที่ 1 วัฒนธรรมพื้นเมือง
บทที่ 1 มิสตัสชินี ครี
บทที่ 2 ศาสนาชนเผ่าพื้นเมืองออสเตรเลีย
บทที่ 3 ศาสนาของชาวไอนุ และชาวโคยุคอน: คัดบ่างเรื่อง
บทที่ 4 ศาสนาชาวอเมริกันพื้นเมือง: แก่นความคิดเชิงนิเวศ
ส่วนที่ 2 ธรรมเนียมศาสนาเอเชีย
บทที่ 5 ศาสนาฮินดู: แก่นความคิดด้านนิเวศ
บทที่ 6 ศาสนาของจีน: แก่นความคิดด้านนิเวศ
บทที่ 7 ศาสนาพุทธ: แก่นความคิดด้านนิเวศ
ส่วนที่ 3 ภูมิหลังของการถกเถียงอภิปรายร่วมสมัยว่าด้วยนิเวศวิทยากับศาสนา
บทที่ 8 ศาสนาคริสต์ที่เป็นภัยเชิงนิเวศ
บทที่ 9 ศาสนาคริสต์ที่รับผิดชอบเชิงนิเวศ
บทที่10 ธรรมชาติเสื่อมมนต์ขลัง: ทัศนะสมัยใหม่ว่าด้วยธรรมชาติ
บทที่11 จิตวิญญาณเชิงนิเวศในความคิดของธอโร มูร์และลีโอโปลด์
ส่วนที่ 4 การถกเถียงอภิปรายร่วมสมัยเกี่ยวกับนิเวศวิทยาและศาสนา
บทที่ 12 เทววิทยาเชิงนิเวศร่วมสมัย
บทที่ 13 สิทธิสัตว์และจริยธรรมด้านนิเวศวิทยา
บทที่ 14 นิเวศวิทยาแนวลึก: จากการเอามนุษย์เป็นศูนย์กลางสู่การเอาชีวิตเป็นศูนย์กลาง
บทที่ 15 การเคลื่อนไหวด้านนิเวศ
บทที่ 16 สตรีนิเวศนิยม: การขูดรีดประโยชน์จากธรรมชาติกับผู้หญิง
บทที่ 17 สี่นักวิสัยทัศน์ทางนิเวศ
บทที่ 1 มิสตัสชินี ครี
เ มื่ อ พู ด ถึ ง ปั ญ ห า ท า ง ด้ า น สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ห รื อ นิ เ ว ศ วิ ท ย า
ส่ ว น ให ญ่ แล้วผู้ค น มัก นึ ก ถึงแ ต่ เฉ พ าะใน แง่ก าย ภ าพ เช่ น ผ ล ก ระท บ ต่ อ สุ ข ภ าพ
ห รื อ ก า ร แ ก้ ไ ข ด้ ว ย เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ ม า ต ร ก า ร ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ทั้ ง ๆ
ที่ปัญ หาสิ่งแวดล้อมมีมิติทางด้านจิตวิญ ญ าณ มาเกี่ยวข้องด้วยไม่ต่างจากปัญ หาอื่น ๆ
ทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม ดังนั้นสิ่งหนึ่งที่จาต้องคานึงในการถกเถียงทางด้านนิเวศวิทยา
นั่นคือการนามิติทางด้านจิตวิญญาณหรือศาสนามาเชื่อมโยงกับมุมมองทางด้านนิเวศวิทยา
ความเจริญก้าวหน้าของมนุษย์มักจะมาควบคู่กับการเหินห่างและแปลกแยกจากธรรมชาติมากขึ้น
จ น ถึ ง ขั้ น เ ป็ น ป ฏิ ปั ก ษ์
ดังปรากฏให้เห็นเด่นชัดในยุคปัจจุบันที่วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีก้าวหน้าอย่างไม่เคยปรากฏมาก่อน
ความสัมพันธ์ในลักษณะปฏิปักษ์ดังกล่าวนับว่าแตกต่างอย่างมากกับท่าทีของมนุษย์เมื่อครั้งยังอยู่ในป่าเขาแ
ละล้าหลังทางเทคโนโลยี เผ่ามิสตัสซินี ครีในอเมริกาเหนือ อะบอริจิ้นในออสเตรเลีย ไอนุในญี่ปุ่น
และโค ยุค อ น ใน อลาสก้า มีอย่างห นึ่ งที่ เห มือ น กัน ได้แก่ ค วาม เค ารพ ใน ธรรม ชาติ
แ ม้ ก ร ะ ทั่ ง กั บ สั ต ว์ ที่ ต น ล่ า ม า เ ป็ น อ า ห า ร
ก็ต้ อ งเค ารพ ด้ ว ย ก ารป ฏิบัติต าม พิ ธีก รรม อ ย่ างเค ร่งค รัด ทั้งก่ อ น แ ล ะห ลังก ารล่ า
ก ารล่ าสัต ว์มิอ าจ แ ย ก จาก พิ ธีก รรม ท างศ าส น ารว ม ทั้งก าร “ช าระต น ”ให้ บ ริสุ ท ธิ์
ที่น่าสนใจอีกประการหนึ่งก็คือการมองว่าสัตว์ที่ถูกล่านั้นมอบตัวเองเป็น “ของขวัญ”แก่ผู้ล่า
เ นื้ อ ที่ ไ ด้ ม า จึ ง มิ ไ ด้ เ กิ ด จ า ก ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ ง ม นุ ษ ย์
หากเป็นความกรุณาของสัตว์หรือเทพที่แปลงร่างเป็นสัตว์
เมื่ อ ม นุ ษ ย์ ก้ า ว ห น้ า ใน ท า ง ส ติ ปัญ ญ า จ น พั ฒ น า ศ า ส น า ที่ ซั บ ซ้ อ น ขึ้ น
ส า ย สั ม พั น ธ์ อั น ใ ก ล้ ชิ ด ร ะ ห ว่ า ง ธ ร ร ม ช า ติ กั บ ม นุ ษ ย์ ก็ ยั ง ด า ร ง อ ยู่
พุ ท ธ ศ าส น าถื อ ว่าสัต ว์ทั้งห ล าย ไม่ เพี ย งเป็ น เพื่ อ น ร่ว ม ทุ ก ข์ใน วัฏ ส งส ารเท่ านั้น
ห า ก ยั ง มี ส า ย สั ม พั น ธ์ ฉั น ญ า ติ พี่ น้ อ ง อ ย่ า ง น้ อ ย ก็ ใ น ช า ติ ก่ อ น ๆ
เพ ราะม นุ ษ ย์แ ล ะสัต ว์ส าม ารถ เลื่ อ น ภ พ ภู มิห รือ ก ลับ ม าเกิ ด ให ม่ ข้าม พั น ธุ์กัน ได้
แต่ทัศนะดังกล่าวได้ลางเลือนไปในปัจจุบันโดยเฉพาะเมื่อวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ได้นาเอาแนวคิดแบบวัตถุนิย
ม เ ข้ า ม า แ พ ร่ ห ล า ย จ น เ ป็ น ก ร ะ แ ส ห ลั ก
ถึงตอนนี้ธรรมชาติได้แปรสภาพเป็นสินค้าและวัตถุสาหรับสนองความต้องการของมนุษย์อย่างเดียว
ผลคือความเสื่อมโทรมทางด้านสิ่งแวดล้อมจนเป็นวิกฤตของโลก
ท่ า ม ก ล า ง วิ ก ฤ ต ดั ง ก ล่ า ว ข บ ว น ก า ร นิ เ ว ศ วิ ท ย า ไ ด้ เติ บ ใ ห ญ่ ขึ้ น
ด้านหนึ่งเป็นปฏิกิริยาต่อวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ที่เห็นธรรมชาติเป็นเพียงวัตถุที่มีขึ้นเพื่อปรนเปรอมนุษย์เท่า
นั้น แต่อีกด้านหนึ่งก็มีความเชื่อมโยงกับศาสนาดั้งเดิม ชีวิตและผลงานของบุคคลที่ยืนหยัดอย่างโดดเด่น
อาทิ เฮนรี เดวิด ธอโร, จอห์น มูร์ และอัลโด ลีโอโปลด์ เป็นต้น เป็นรากฐานสาคัญให้แก่ขบวนการ
นิเวศ วิท ยาร่วมสมัย ไม่ว่าขบ วนการสิท ธิสัตว์ ขบ วน การนิเวศวิท ยาแน วลึก
ข บ ว น ก า ร ก รี น พี ซ แ ล ะ เ อิ ร์ ธ เ ฟิ ส ต์ แ ล ะ ข บ ว น ก า ร ส ต รี นิ เ ว ศ นิ ย ม
ทั้งหมดนี้ ได้สร้างความหลากหลายและรุ่มรวยให้แก่ขบวนการนิเวศวิทยาในปัจจุบัน
ทั้งนี้ยังไม่ต้องพูดถึงขบวนการนิเวศวิทยาในตะวันออก เช่น ขบวนการชิปโกในอินเดีย
การเกิดขึ้นของขบวนการนิเวศวิทยาแนวลึก ซึ่งไม่เพียงเคารพสิทธิของสิ่งมีชีวิตเท่านั้น
ห า ก ยั ง เ ค า ร พ สิ ท ธิ ข อ ง แ ม่ น้ า ป่ า เ ข า ท ะ เ ล แ ล ะ ร ะ บ บ นิ เ ว ศ ทั้ ง ม ว ล
ขณ ะที่ขบวนการสตรีนิเวศนิยมสนับสนุ นการบูชาเทพีซึ่งเป็ นตัวแทนของธร รมชาติ
ปรากฏการณ์ดังกล่าวดูเหมือนจะบอกเราว่าหลังจากที่มนุษย์วิวัฒน์พัฒนาจนห่างไกลจากธรรมชาติมากขึ้นเ
รื่อย ๆ ในที่สุดเราก็อาจจะหวนกลับมาสู่จุดเดิมที่เคารพธรรมชาติและนับเอาสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ
มาเป็นเครือญาติกับมนุษย์ แต่เอาเข้าจริง ๆ แล้วเส้นทางวิวัฒนาการของมนุษย์คงไม่กลับมาบรรจบที่จุดเดิม
หากก้าวไปสู่จุดใหม่โดยอาศัยภูมิปัญญาดั้งเดิมเป็นพื้นฐาน
กล่าวอย่างถึงที่สุดแล้ว ปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นปัญหาสังคมพอ ๆ กับปัญหาทางจิตวิญญาณ
นอกจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมแล้ว เราจาต้องมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตสานึกควบคู่ไปด้วย
ดังนั้นศาสนาจึงมีบทบาทสาคัญมากในการพามนุษย์พ้นจากวิกฤตทางนิเวศวิทยา
อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ค า ถ า ม ห นึ่ ง ที่ อ า จ เ กิ ด ขึ้ น ม า ใ น ใ จ ก็ คื อ ทั้ ง ๆ
ที่ ศ า ส น า ก ร ะ แ ส ห ลั ก ส่ ว น ใ ห ญ่ มี ท่ า ที ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ ธ ร ร ม ช า ติ
แต่เหตุใดจึงไม่สามารถต้านทานแนวคิดหรือกระแสที่มุ่งครอบงาและทาร้ายธรรมชาติได้
ไ ม่ ว่ า จ ะ เ ป็ น ทุ น นิ ย ม บ ริ โ ภ ค นิ ย ม ห รื อ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ บ บ วั ต ถุ นิ ย ม
ป ราก ฏ ก า รณ์ ดั ง ก ล่ า ว ย่ อ ม ฟ้ อ ง ว่ า ศ า ส น า ก ระ แ ส ห ลั ก นั้ น อ่ อ น พ ลัง ล ง ไป ม า ก
ใน ขณ ะเดียวกัน เมื่อ ม อ งไป ยังขบ วน ก ารอ นุ รัก ษ์ ธรรม ช าติที่ มีอ ยู่เป็ น จาน วน ม าก
เ ร า ก ลั บ พ บ ว่ า มี ค ว า ม เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ศ า ส น า น้ อ ย ม า ก
แ ต่ นั่น ก็ ไม่ ได้ ห ม า ย ค ว า ม ว่ า ข บ ว น ก า ร เห ล่ า นี้ เป็ น ข บ ว น ก า รท า งโล ก ล้ ว น ๆ
เพราะเมื่อพิจารณาลงไปถึงรากฐานทางปรัชญาของขบวนการเหล่านี้ เราจะพบแนวคิดทางด้านจิตวิญญาณ
อย่างชัดเจน ดังขบวนการกรีนพีซ ซึ่งได้รับอิทธิพลจากแนวคิดแบบรหัสนัยของอินเดียนแดง อาทิ
ความเชื่อว่า สิ่งมีชีวิตทั้งหลายล้วนมีจิตใจที่มนุษย์สามารถติดต่อสื่อสารได้ และโลกเป็นส่วนหนึ่งของ
“ร่างกาย” ของเรา หากรักตัวเรา ก็ต้องรักปลาวาฬ แมวน้า ป่าเขา และทะเลด้วย
กล่าวอีกนัยหนึ่ง แม้จะไม่ใช่ขบวนการศาสนา แต่ก็ใช่ว่าจะไร้มิติทางด้านจิตวิญญาณ
ในทางตรงกันข้ามแม้เป็นขบวนการศาสนา แต่ก็อาจไร้มิติทางจิตวิญญาณก็ได้ นั่นหมายความว่า
ศาสนากับมิติทางจิตวิญ ญ าณ ไม่จาต้องเป็ นเรื่องเดียวกันเสมอไป ในยุคโลกาภิวัตน์
เร า ไ ด้ พ บ ข บ ว น ก า ร จ า น ว น ม า ก ที่ ไ ม่ มี รู ป ลั ก ษ ณ์ ท า ง ด้ า น ศ า ส น า เล ย
แต่มีมิติทางด้านจิตวิญญาณอย่างเด่นชัด อันแสดงออกด้วยการเสียสละอุทิศตนเพื่อเพื่อนร่วมโลก
ชนิดที่ไปพ้นเส้นแบ่งทางด้านเชื้อชาติ ภาษา ศาสนา เผ่าพันธุ์ หรือแม้กระทั่งชนิดพันธุ์ (species) ด้วยซ้า
(ต ร ง กั น ข้ า ม กั บ ข บ ว น ก า ร ท า ง ศ า ส น า จ า น ว น ไ ม่ น้ อ ย ที่ มี ค ว า ม คิ ด ที่ คั บ แ ค บ
และรังเกียจเดียดฉันท์หรือเลือกปฏิบัติเพียงเพราะความต่างทางศาสนา ภาษา เชื้อชาติ หรือผิวสี
จนเป็นสาเหตุแห่งความรุนแรงนานาชนิดในปัจจุบัน)
ในขณะที่ศาสนาซึ่งไร้มิติทางจิตวิญญาณกาลังมีบทบาทเด่นชัดโดยเฉพาะในด้านลบ อาทิ
การเป็นแรงบันดาลใจให้เกิดการก่อการร้ายทั้งในรูปขบวนการก่อการร้ายและการก่อการร้ายโดยรัฐ
สิ่ ง ท้ า ท า ย ส า ห รั บ ศ า ส น า ที่ ยั ง มี มิ ติ ท า ง จิ ต วิ ญ ญ า ณ อ ยู่ ก็ คื อ
จะฟื้ นตัวจากความอ่อนแอและกลับมีพลังในการสร้างสรรค์โลกได้อย่างไร นิมิตดีก็คือ
ข บ ว น ก า ร ท า ง นิ เ ว ศ วิ ท ย า ที่ ท ร ง พ ลั ง ใ น ปั จ จุ บั น
ห ล า ย ข บ ว น ก า ร ไ ด้ รับ แ ร ง บั น ด า ล ใ จ ท า ง จิ ต วิ ญ ญ า ณ จ า ก ศ า ส น า ดั้ ง เดิ ม
นั่นหมายความว่าศาสนาที่มีจิตวิญญาณ กาลังฟื้นตัวขึ้นมาใหม่เพื่อสร้างประโยชน์แก่โลกอีกครั้งหนึ่ง
สรุปบทที่ 2
เรื่อง ศาสนาชนพื้นเมืองออสเตเรีย
ในบทที่สองนี้จะกล่าวในส่วนของเรื่องศาสนาความเชื่อและประเพณีของชาวพื้นเมืองของออสเตเรีย
หรือที่เรารู้จักในชื่อของอะบอริจิ้นโดยความเชื่อแรกของชาวอะบอริจิ้นคือจะเป็นความเชื่อในจิตวิญญานแห่ง
ธรรมที่แทรกซึมอยุในรอบๆของแผ่นดินของพวกเขาอาศัยอยู่โดยรอบๆและมีความเชื่อในเรื่องโลกแห่งความ
ฝันซึ่งถือเป็นเป้าหมายหลักในความเชื่อของชาวอะบอริจิ้นในการดาเนินชีวิตโดยพวกเขายังมีความเชื่อที่ว่าโ
ลกของเรากาเนิดจากบรรพบุรุษในยุคแห่งความฝันร้องเพลงให้โลกกาเนิดขึ้นมาความเชื่อในการให้กาเนิดลู
กหลานชาวอะบอริจิ้นจะให้ความสาคัญต่อสถานที่ในการถือกาเนิดไม่ว่าจะเป็น ภูเขา ต้นไม้ ใบหญ้า
ล้วนแต่มี จิตวิญญาณแห่งบรรพบุรุษมาสิงสถิตอยู่โดยพวกเขาเหล่านั้นยังมีความเชื่อที่ว่าหาก
ไปยังสถานที่ศักศิทธิ์เหล่านี้ จะทาให้เหล่าจิตวิญญาณในยุคแห่งความฝันมาสถิตในครรรภ์ของตน
จนให้กาเนิดบุตรที่แข็งแรงและเมื่อพ วกเขาจะอาลาจากโลกใบนี้ไปแล้วชาวอะบอริจิ้น
จ ะ ยั ง ค ง เ ชื่ อ ว่ า วิ ญ ญ า ณ ข อ ง พ ว ก เ ข า จ ะ เ ข้ า ไ ป
หลอมรวมเป็นหนึ่งเดียวกับธรรมชาติและแผ่นดินอันศักดิ์สิทธิ์ของพวกเขาตลอดกาล
บทที่ 3
เรื่องศาสนาของชาวไอนุและชาวโคยุคอน
ในส่วนนี้ผมจะกล่าวถึงเรื่องของชนเผ่าไอนุและชนเผ่าโคยุคอนโดยจะขอกล่าวในส่วนของชนเผ่าไอ
นุก่อนโดยชนเผ่าโคยุคอนจะเป็นชนเผ่าพื้นเมืองของประเทศญี่ปุ่นโดยจะอยู่ตอนเหนือในป่าของเกาะฮอกไก
โด พ ว ก เข า จ ะ มี ค ว า ม เชื่ อ ใน เรื่ อ ง ข อ ง เท พ เจ้ า โด ย พ ว ก เข า รีย ก ว่ า “ค า มู อิ ”
แม้ว่าคามูอิจะไม่ใช่มนุษย์แต่พวกก็มีชีวิตในโลกของเทพพระเจ้าอย่างสมบูรณ์ทุกประการโดยปกติแล้วมนุษ
ย์จะมองไม่เห็นคามูอิแต่พวกเขาจะมาอยู่กับมนุษย์บ้างเป็นครั้งคราวพวกชาวชนเผ่าไอนุยังมีความเชื่อในเรื่อ
งมนุษย์กับสัตว์พวกเขาคิดว่ามนุษย์กับสัตว์ล้วนแต่เป็นสิ่งที่ต้องพึ่งพาอาศัยกันเพื่อความอยู่รอดร่วมกันในธ
รรมชาติ แล้วต่อมาก็จะเป็น ของ ชาวโคยุคอนมีทัศนะต่อสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติที่เรียกว่า
มีความเป็นบุคคล มีความรู้สึก มีสานึก การไม่เคารพโดยการ เมิน เฉย การแสดง ออกทาง พฤติกรรมที่
แส ด ง อ อ ก ม า มัก จะน าม าสู่ค วาม โช ค ร้าย ส าห รับ ช าวโค ยุค อ น ธรรม ช าติ แล ะ
สิ่งแวดล้อมนั้นตระหนักถึงพฤติกรรม และ แรงจูงใจของมนุษย์ สาหรับชนเผ่าโคยุคอน
ร ะ บ บ จ ริย ธ ร ร ม เป็ น พื้ น ฐ า น ข อ ง พ ฤ ติ ก ร ร ม แ ล ะ ท่ า ที ข อ ง เข า ต่ อ ธ ร ร ม ช า ติ
เป็นระบบจริยธรรมซึ่งแสดงเรื่องเล่าเกี่ยวกับยุคอันไกลโพ้นสาหรับชาวโคยุคอนแล้วการดารงชีวิตอย่างของ
มนุษย์อย่างที่ควรเป็นจะเป็นการเคารพต่อสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นและรวมไปถึงธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรอบตัวเร
า
บทที่ 4
ศาสนาชาวอเมริกันพื้นเมือง
การล่าสัตว์ถือเป็นอาชีวะอันศักดิ์สิทธ์
ชาวอเมริกันพื้นเมืองเชื่อกันว่าการล่าสัตว์นั้นเป็นพิธีอันศักดิ์สิทธ์ พวกเขามองว่า
สัตว์เองก็มีชีวิตและจิตใจ จึงควรปฏิบัติต่อพวกมันอย่างสุภาพ ก่อนการล่าสัตว์จะต้องมีการทาพิธีกรรม เช่น
ชาวควาคิอูเติ้ล จะต้องมีการอ้อนวอน นอบน้อม และบอกกล่าวสัตว์ที่เป็นเหยื่อ เป็นต้น
นอกจากนี้หลังจากการล่าพวกเขาก็ยังมีการสวดมนต์เพื่อขอขมาสัตว์ที่ตายอีกด้วย
สัมพันธไมตรีกับสัตว์
ใ น วั ฒ น ธ ร ร ม ก า ร ล่ า ใ น อ เ ม ริ ก า เ ห นื อ ห ล า ย ๆ วั ฒ น ธ ร ร ม
การบ่มเพาะสัมพันธไมตรีกับสัตว์ถือเป็นแก่นความคิดที่เชื่อมโยงและเสริมแก่นความคิดที่เชื่อมโยงและเสริม
แก่นความคิดที่เชื่อมโยงและเสริมแก่นความคิดหลักที่ว่าการล่าสัตว์ถือเป็นอาชีวะอันศักดิ์ เช่น
ในกระบวนการแสวงหานิมิต ซึ่งเป็นพิธีกรรมเพื่อการก้าวเข้าสู่วัยหนุ่มสาวหรือพิธีการรับเข้ากลุ่ม
การที่จะได้เป็ นผู้ใหญ่ เต็มตัวหรือการถูกยอมรับ ต้องได้รับวิญ ญ าณ ของผู้พิทักษ์ก่อน
การทาเช่นนี้ถือเป็นการขยายทัศนะหรือความเข้าใจไปสู่เขตแดนของสัตว์
ความสัมพันธ์กับแผ่นดิน
ใ น ศ า ส น า ข อ ง ช า ว อ เ ม ริ ก า เ ห นื อ จ า น ว น ม า ก
แก่นความคิดเรื่องความสัมพันธ์กับสัตว์ได้ขยายขอบเขตออกไปยังทุกแง่มุมของโลกธรรมชาติ
เมื่อจาเป็นจะต้องใช้สิ่งของจากธรรมชาติ จะต้องมีพีธีการเช่นเดียวกับการล่าสัตว์ และในทุกๆ
ขั้นตอนของการปลูกพืชจะต้องมีการทาพิธีกรรม ซึ่งพืชพวกนี้จะถูกเรียกว่าเป็นพืชศักดิ์สิทธิ์
บทที่ 5
ศาสนาฮินดู
ศาสนาฮินดูถูกมองว่าเป็นพวกปฏิเสธโลก แต่จริงๆแล้วแนวโน้มการปฏิเสธโลกของศาสนาฮินดูคือ
มายา และ ปรากฤติ มายาจะสอนให้มองทุกสิ่งบนโลกเป็นภาพลวงตา (จิตนิยม) อคติต่อโลก ส่วน ปรากฤติ
คือ ก ารม อ งธ รรม ช าติ เป็ น เป็ น ศู น ย์ก ล าง แ ล ะว่ าร้าย โล ก ท างวัต ถุ (ส ส ารนิ ย ม )
ซึ่งจริงๆแล้วศาสนาฮินดูยังมีส่วนที่เป็นส่วนบวกอยู่มากมาย
การบูชาพลังและวัตถุในธรรมชาติเป็นเทพเจ้า
ใ น ศ า ส น า ฮิ น ดู มี ค ว า ม เ ชื่ อ ที่ ว่ า
โล ก ธ รรม ช าติ นั้น แ ท รก ซึ ม ไป ด้ ว ย พ ลังอ าน าจ ที่ พึ งได้ รับ ค ว าม เค ารพ ย าเก รง
และสิ่งที่พลังนั้นสาแดงออกมาจะเรียกว่าปรากฏการทางธรรมชาติ
จักรวาล/โลกที่มีชีวิต
ศาสนาฮินดูถือว่าความจริงหรือจักรวาลนั้นเป็นสิ่งมีชีวิต โลกสร้างมาจา ก ปุรุษะ
ซึ่งเป็นสิ่งมีชีวิตที่เหมือนกับมนุษย์แต่ใหญ่กว่า เท้าของเขาจะเป็นพื้นโลก ลาตัวจะเป็นท้องฟ้ า
ศรีษะคือสวรรค์ ตาคือพระอาทิตย์ ใจเป็นพระจันทร์ ปากเป็นพระอินทร์และเทพอัคนี ลมหายใจคือลม
น อ ก จาก นี้ ยังมี หิรัญ -ค รรภ (ไข่ สีท อ ง) ซึ่ งก่ อ ก าเนิ ด เป็ น จัก รว าล เมื่ อ ฟัก เป็ น ตัว
เป ลือ ก ไข่ ส่ ว น บ น จ ะเป็ น ส ว รรค์ ส่ ว น ล่ างเป็ น พิ ภ พ ระห ว่ างก ล างเป็ น ท้ อ งฟ้ า
ในเขตระหว่างกลางนี้เนื้อเยื่อด้านนอกจะเป็นภูเขา ด้านในเป็นหมอก เส้นเลือดในไข่เป็ นแม่น้า
น้าในใข่คือน้าและมหาสมุทร เป็นต้น
ภูมิประเทศอันศักดิ์สิทธิ์: อินเดียที่เป็นเทวะสถาน
ชาวฮินดูเชื่อว่าภูมิประเทศของเขามีชีวิต ปฐวี คือโลก ภารตะ-มา เป็นแผ่นดินอินเดีย
สตี คือภูมิประเทศอินเดีย ติรถา สถานที่บนฝั่งแม่น้าและจุดข้ามแม่น้า เป็นต้น
บทที่ 6 ศาสนาจีน
นิเวศกับศาสนาจีน ที่เด่นชัดจะมีการเปลี่ยนแปลงอันประสานสอดคล้อง(หยิน-หยาง)
จะบอกธรรมชาติเป็นลักษณะสองขั้ว ที่สุดโต่ง หยางจะเป็นสีขาว และหยินจะเป็นสีดาแสดงถึงสิ่งไม่ดี
มองตามธรรมชาติได้แก่ ความดี-ความชั่ว ความสว่าง-ความมืด มีการเปลี่ยนแปลงอย่างกลมกลืน
ศาสนาจีนยังมองความต่อเนื่อง ว่าสรรพสิ่งสรรพชีวิต ต้องสัมพันธ์อาศัยซึ่งกันและกัน
มองความเป็นองค์รวม จักรวาลมิใช่ส่วนหนึ่งของสิ่งอื่นใด โลกก็ไม่ใช่ถูกสร้างขึ้นมาโดยสิ่งใด และฮวงจุ้ย
คือศาสตร์แห่งการเข้าใจจิตวิญ ญ าณ ของภูมิประเทศแบบจีน ฮวงจุ้ยแปลว่า ลมและน้ า
โดยจะมองว่าบ้านหรือสุสานปลูกสร้างเหมาะสมจะนามาซึ่งความรุ่งเรืองโชคดี จึงมีฮวงจุ้ย
มาช่วยในการเลือกภูมิประเทศ ในการจัดว่างบ้านเรือนของเรา โดยจะมองทิศทางน้า และลม
ให้เกิดความสัมพันธ์สูงสุด เพราะทาเลที่ดีนั้นสาคัญที่สุด
บทที่ 7 ศาสนาพุทธ
ศาสนาพุทธกับแนวคิดนิเวศ ที่เด่นชัดคือ อหิงสา หรือการไม่ใช้ความรุนแรงต่อผู้อื่น
หรือการไม่ทาร้ายผู้อื่น ในหลักศาสนาพุทธจะมองว่าความทุกข์เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้
ความทุกข์เกิดจากความไม่รู้ เราจึงต้องฝึ กตนเพื่ อตรัสรู้จะได้แก้ไข หาวิธีดับทุกข์ได้
ศาสนาพุทธมองในเรื่องการมีชัยเหนือตนเอง คือการทาลายปรารถนาตนเอง ไม่ควรอยากมีอยากได้
หลงในกิเลศ ให้เคารพ รักในตัวเอง ศาสนาพุ ทธเป็ นศาสนาที่ทวนกระแสวัฒ นาธรรม
ในช่วงแรกๆของศาสนาพุทธ พระสงฆ์ทั้งหมดจะได้รับแต่อาหารเหลือของผู้อื่นมาเป็นอาหารของตน
สวมใส่ได้แต่เฉพาะเศษผ้าทิ้งแล้วของคนอื่น พระสงฆ์จะจาริกจากบ้านหนึ่งไปอีกบ้านหนึ่ง
เราจะเห็นว่าการปฏิบัติเช่นนี้ของชุมชน เป็นตัวอย่างการหมุนเวียนนาของกลับมาใช้ (Recycle)
ในแบบโบราณ ซึ่งสามารถช่วยปกป้องสิ่งแวดล้อม ชาวพุทธยุคแรกมุ่งปรารถนาจะต่ออายุสิ่งแวดล้อม
โดยการเปลี่ยนแปลงสังคมกระแสหลักที่สร้างความสิ้นเปลืองสูญเปล่า
บทที่ 8 ศาสนาคริสต์ที่เป็นภัยเชิงนิเวศ
การครอบครองธรรมชาติและการถือเอามนุษย์เป็นศูนย์กลางในศาสนาคริสต์
โดยบทนี้จะเกี่ยวกับนิเวศวิทยาและการครอบครองธรรมชาติของมนุษย์ในแง่มุมของศาสนาคริสต์
ในมุมมองนี้ พระคัมภีร์ไบเบิลและศาสนาต่างๆ ที่อ้างอิงพระคัมภีร์นี้ มีทัศนะต่อโลกอย่างต่อต้านธรรมชาติ
เป็ น ทัศ น ะต่ อ โล ก ที่ อ้างว่ ามีเท พ เจ้าผู้ อ ยู่ เห นื อ ทุ ก สิ่งทุ ก อ ย่ าง ผู้ ส ร้างโล ก ขึ้น ม า
แต่ไม่ได้เอาพระองค์เป็นจุดศูนย์กลางอยู่บนโลกเพื่อให้เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์หรือเป็นที่สักการะบูชา
ผู้ วิ จ า ร ณ์ แ น ว คิ ด นี้ ม อ ง ว่ า ก า ร ต่ อ ต้ า น ก า ร บู ช า เท พ เจ้ า ใน พ ร ะ คั ม ภี ร์ไ บ เบิ ล
คือการต่อต้านการบูชาธรรมชาติโดยสาวกแห่งเทพตามพระคัมภีร์ไบเบิลองค์ใหม่ ผู้อยู่เหนือธรรมชาติ
แ ล ะ ไ ม่ ค ว ร น า ม า ป ะ ป น กั น ค า วิ จ า ร ณ์ ก ล่ า ว ว่ า
เพ ร า ะ อ ค ติ ข อ ง พ ร ะ คั ม ภี ร์ ไ บ เบิ ล ภ า ค พั น ธ สั ญ ญ า เดิ ม ต่ อ ธ ร ร ม ช า ติ นี้
ศ าส น าค ริส ต์ จึงโน้ ม เอีย งไป สู่ ทัศ น ะต่ อ ธรรม ช าติแ บ บ ที่ ไม่ เห็ น ถึงค วาม ศัก ดิ์สิท ธิ์
อันเป็นพื้นฐานสาหรับการจัดการและควบคุมธรรมชาติในทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 9 ศาสนาคริสต์ที่รับผิดชอบเชิงนิเวศ
ปัญหาเกี่ยวกับสมมติฐานว่าด้วยการเป็นนายเหนือ
ก า ร ท า ใ ห้ ธ ร ร ม ช า ติ ค ล า ย ค ว า ม ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์
ผู้ที่เสนอสมมติฐานว่าด้วยการเป็นนายเหนือให้เหตุผลว่าการที่พระคัมภีร์ไบเบิลไม่ทาให้ธรรมชาติเป็นสิ่งศัก
ดิ์ สิ ท ธิ์ ท า ใ ห้ เ กิ ด ก า ร ข า ด ค ว า ม ย า เ ก ร ง ต่ อ ธ ร ร ม ช า ติ
โลกธรรมชาติอาจจะไม่ศักดิ์สิทธิ์หรือเป็นเทพในพระคัมภีร์ไบเบิล แต่ว่ามันไม่ตาย ไร้ชีวิต
หรืออยู่นอกขอบเขตทางศีลธรรมแห่งพระเจ้ามันอาจจะถูกละเมิดคุกคามและถูกทาให้มัวหมองโดยมนุษย์
ก า ร ค ร อ บ ค ร อ ง ธ ร ร ม ช า ติ
ผู้เสนอสมมติฐานว่าด้วยการเป็นนายเหนือให้ความสาคัญกับแนวคิดเกี่ยวกับการที่มนุษย์เข้าไปครอบครองธ
รรมชาติในพระคัมภีร์ไบเบิล ปัญหาของแนวคิดก็คล้ายกับประเด็นการไม่ทาให้ศักดิ์สิทธิ์ด้วยเช่นกัน
การครอบครองธรรมชาติเป็ นแก่นความคิดที่พ บง่ายในลัทธิศาสนานอกศาสนาคริสต์
และมีหลักฐานจานวนมากกว่าอารยธรรมเหล่านั้นดาเนินกิจกรรมเพื่อพยายามจะเป็นนายเหนือธรรมชาติอย่
างแข็งขัน ถึงแม้ว่าโลกจะต้องเผชิญกับผลสืบเนื่องทางลบที่เกิดจากการตกต่าของมวลมนุษย์ก็ตาม
พ ร ะ คั ม ภี ร์ ไ บ เ บิ ล ก็ ยั ง มี ก า ร ชื่ อ ช ม ค ว า ม เ ม ต ต า ข อ ง โ ล ก อ ยู่
ถึงแม้ว่าจะมีตัวอย่างนักคิดชาวคริสต์ยุคหลังพระคัมภีร์ไบเบิลหลายคนที่มองจิตและวัตถุว่าเป็นทวิภาค
ม อ ง วั ต ถุ แ ล ะ ก า ย ว่ า เ ป็ น ก า ร ส า แ ด ง ข อ ง เ ท พ ที่ ต่ า ก ว่ า จิ ต วิ ญ ญ า ณ
บางวิธีที่ดีที่สุดในการแสดงข้อเท็จจริงที่ว่าจารีตทางศาสนาคริสต์ไม่ได้รับเอาท่าทีที่เป็นลบต่อธรรมชาติมาอ
ย่ า ง เ ป็ น ไ ป ใ น ท า ง เ ดี ย ว กั น ต ล อ ด แ ล ะ อ ย่ า ง เ ป็ น เ อ ก ฉั น ท์
ก็คือการยกตัวอย่างนักคิดบางคนที่สรรเสริญธรรมชาติว่าเป็นส่วนหนึ่งของการรังสรรค์ของพระเจ้าอันเป็นสิ่ง
ดีงาม
บทที่ 10 ธรรมชาติเสื่อมมนต์ขลัง
ทัศนะสมัยใหม่ว่าด้วยธรรมชาติ
ว่าด้วยเรื่องธรรมชาติเสื่อมมนต์ขลังนั้น มีแนวโน้มว่าในยุคสมัยใหม่นี้พวกเรากาลังมองว่าธรรมชาติ
ไม่มีมนต์ขลังหรือได้เสื่อมคลายลงแล้ว เป็นการยืนยันว่ามนุษย์เป็นนายเหนือทุกสิ่งในธรรมชาติโดยสมบูรณ์
เราสามารถย้อนกลับไปดูได้โดยมีมาตั้งแต่ ในคัมภีร์ไบเบิ้ลและจารีตธรรมเนียมในศาสนาคริสต์ ในหนังสือ
เล่มนี้จะกล่าวว่า ความเหนือกว่าและความสูงส่งกว่าตามธรรมชาติของมนุษย์นั้นเป็นอย่างไร ธรรมชาติเสื่อม
มนต์ขลังได้อย่างไร การเสาะหาความรู้และการครอบครองธรรมชาติเกิดขึ้นได้อย่างไร อันตาภาวะ
(Infinity)คืออะไร ความก้าวหน้าของมนุษย์ ธรรมชาติคือขุมทรัพย์ ชาร์ลส์ ดาร์วินกับการดิ้นรนเพื่อการอยู่
รอดของมนุษย์ และเรื่องเทคโนโลยีและฉนวนป้องกัน
การอนุมานว่าโลกทัศน์สมัยใหม่ที่เราได้กล่าวในบทนี้ได้รับแรงบัลดาลใจและพึ่งทัศนะต่อความจริง
แบบพระคัมภีร์ไบเบิลหรือศาสนาคริสต์เป็นสิ่งผิดอย่างไม่ต้องสงสัย ทัศนะที่เราได้รับมานี้มีหลากหลายแลใน
ตอนแรกก็ถูกต่อต้านจากสถาบันศาสนาคริสต์ อย่างไรก็ดี เป็นที่ชัดเจนเช่นกันว่าในที่สุดแล้วศาสนาคริสต์
แบบที่นับถือกันทั่วไปก็ได้รับเอาโลกทัศน์แบบสมัยใหม่ อันที่จริงคนจานวนมากในทุกวันนี้ร้องทุกข์ว่า
วิกฤติการณ์ด้านนิเวศที่กาลังเกิดขึ้นอยู่ตอนนี้ เกิดขึ้นเพราะศาสนาที่ปึกแผ่นแล้วหนุนหลังอยู่ และยอมรับ
การเอาชนะธรรมชาติด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นักวิจารณ์กล่าวว่า แม้ศาสนาคริสต์มิได้นามาซึ่ง
ทัศนะต่อธรรมชาติแบบสมัยใหม่ก็ตามที แต่มันก็ได้กระทาการน้อยนิดจริงๆที่จะท้าทายวิธีคิดเช่นนี้ จนถึง
เมื่อไม่นานนี้นี่เอง
บทที่ 11 จิตวิญญาณเชิงนิเวศ
ในความคิดของธอโร มูร์ และ ลีโอโปลด์
ศ า ส น า ค ริส ต์ ที่ ย อ ม รับ กั น อ ย่ า ง เป็ น ท า ง ก า ร ใ น ยุ ค นั้ น ไ ด้ ส นั บ ส นุ น
ห รื อ นิ่ ง เ ฉ ย ต่ อ ก า ร ค ว บ คุ ม ธ ร ร ม ช า ติ อ ยู่ เ ป็ น อั น ม า ก
และนักวิทยาศาสตร์หลายคนได้ดึงเอาสิ่งที่พวกเขาเข้าใจว่าเป็นคาสอนและแก่นความคิดของศาสนาคริสต์แ
ละพระคัมภีร์ไบเบิลมาสนับสนุนความพยายามของพวกเขา สาหรับนักเทววิทยา
และนักวิทยาศาสตร์หลายต่อหลายคนในยุคนั้น ความพยายามจะควบคุธรรมชาติเพื่อประโยชน์ของมนุษย์
ถือกันว่าเป็นประกาศิตอันศักดิ์สิทธิ์เป็นการทาให้เป้าประสงค์ของพระเจ้าต่อเผ่าพันุ์มนุษย์นั้นสมบูรณ์
แน่นอนว่าย่อมมีเสียงคัดค้านกระแสเช่นนี้ในเช่นชาติตะวันตกที่ชัดเจนและน่าเชื่อถือ และในบท
ต่อไปนี้เราจะศึกษานักคิดสามคน นั่นคือ เฮนรี เดวิด ธอโร (Henry David Thoreau) จอห์น มูร์ (John Muir)
และอัลโด ลีโอโปลด์ (Aldo Leopold) ผู้คนทีเกี่ยวข้องในประเด็นจิตวิญญาณเชิงนิเวศร่วมสมัยหลายคนถือ
ว่าบุคคลทั้งสามเป็นนักบุญด้านนิเวศวิทยา และเป็นแรงบันดาลใจแก่ความคิดในทางนิเวศวิทยาร่วมสมัย
หลายด้าน
บทที่ 12 เทววิทยาเชิงนิเวศร่วมสมัย
มุมมองของ: เวสลีย์ แกรนเบิร์ก-ไมเคิลสัน ความบาปต่อการรังสรรค์
เ ข า ม อ ง ว่ า ม นุ ษ ย์ ไ ด้ เ อ า ตั ว เ อ ง เ ข้ า ไ ป แ ท น ที่ พ ร ะ เ จ้ า
และความพ ยายามของมนุ ษย์ที่จะครอบครองโลกธรรมชาติ ก็ได้นาอันตรายมาสู่โลก
ม นุ ษ ย์ ไ ด้ คิ ด จ ะ เ อ า ต า แ ห น่ ง ก า ร เ ป็ น น า ย เ ห นื อ ธ ร ร ม ช า ติ
ที่มีความสามารถและมีชะตากรรมที่จะต้องจัดการธรรมชาติเพื่อตอบสนองต่อความต้องการและวัตถุประสงค์
ข อ ง ม นุ ษ ย์ ใ น ก ร ะ บ ว น ก า ร เ ช่ น นี้
ธรรมชาติได้กลายเป็ น ที่รองรับ ท รัพ ยากรอัน เฉื่ อยชาที่มนุ ษ ย์จะสามารถ ใช้สร้างที่
ที่ แ ส น ส บ า ย เ พื่ อ ป ก ป้ อ ง ต น เ อ ง จ า ก อั น ต ร า ย
และตั้งแต่ที่การเติบโตของเทคโนโลยีอุตสาหกรรมศาสนาคริสต์โดยส่วนใหญ่แล้วหมายถึงการเอาชนะธรรม
ชาติและการสร้างอารยธรรมที่ซับซ้อนที่เป็นเชิงอุตสาหกรรม มีเทคโนโลยีอย่ างซับซ้อน
ก ร ะ บ ว น ก า ร นี้ เ รี ย ก ว่ า “ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า ” แ ล ะ ช า ว ค ริ ส ต์ จ า น ว น ม า ก
มันคือสิ่งเดียวกันกับการบรรลุวัตถุประสงค์ของพระเจ้าบนโลก สาหรับ แกรนเบิร์กปัญหาสิ่งแวดล้อม
ภ า ร กิ จ เ ฉ พ า ะ ห น้ า ที่ ส า คั ญ ที่ สุ ด คื อ
การนาความคิดในพระคัมภีร์ไบเบิลและศาสนาคริสต์ที่มองโลกในฐานะการสร้างของพระเจ้ากลับมาใหม่
แทนที่ทัศนะต่อธรรมชาติอย่างโลกย์ๆที่ห่อหุ้มด้วยภาพว่าเป็ นแนวคิดทางจิตวิญ ญ าณ
ในโลกทัศน์เชิงจิตวิทยาและไม่อาจถือว่าเหนือกว่าหรอแยกออกจากธรรมชาติได้ ในความเห็นของ เวสลีย์
แกรนเบิร์ก-ไมเคิลสัน “มนุษย์ถือกาเนิดจากโลก ไม่ได้ถูกส่งลงมาจากสวรรค์ เราเห็นสิ่งสร้างจากธรรมชาติ
ไม่ใช่เจ้านายของธรรมชาติ”
มุมมองของ: แมทธิว ฟอกซ์ และพระคริสต์แห่งสากลจักรวาล
ข้อวิพากษ์หลักๆของฟอกซ์ต่อการขาดความสานึกเชิงนิเวศของศาสนาคริสต์ร่วมสมัยเกี่ยวกับแง่มุม
ทางจิตวิญญาณแบบศาสนาคริสต์มีสามประการคือ
- ความโน้มเอียงไปสู่การบ่มเพาะความรอดส่วนบุคคล
- ความโน้มเอียงของระบบคริสตจักรที่จะบ่มเพาะการครอบงาตามลาดับขั้นอานาจ
- ความโน้มเอียงที่จะไม่สนับสนุนสานึกแบบรหัสนัย
เนื่องจากคริสตจักรและชาวคริสต์ส่วนมากไม่ได้ตระหนักในวิกฤติการณ์ด้านนิเวศและวิกฤติการณ์ศรัทธาที่มั
น ไ ด้ ห นุ น อ ยู่
และเนื่องจากคริสตจักรยังคงยืนยันอย่างดื้อดึงถึงเทววิทยาตกยุคที่เต็มไปด้วยภาพลักษณ์และสัญลักษณ์ล้า
สมัย ดังนั้นเทววิทยาแบบใหม่จึงจาเป็นที่จะต้องเกี่ยวข้องกับสิ่งที่ฟอกซ์เรียกว่า “การเปลี่ยนกระบวนทัศน์”
การเปลี่ยนดังกล่าวคือ การเปลี่ยนไปสู่การยืนยันซ้าในสิ่งที่เรียกว่า พระคริสต์แห่งสากลจักรวาลนั่นคือ
ทัศนคติทางเทววิทยาที่มีหลักสาคัญ ที่ภาพ ของพ ระคริสต์ ในความคิดของฟ อกซ์นั้น
พ ร ะ ค ริ ส ต์ แ ห่ ง ส า ก ล จั ก ร ว า ล เ ช่ น นี้ ไ ม่ ใ ช่ สิ่ ง ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ ใ ห ม่
แต่เป็นภาพของสิ่งศักดิ์สิทธิ๋ที่พบได้ในพระคัมภีร์ไบเบิลแต่ก็ได้ถูกละเลยและเลือนลางไปตามยุคสมัยที่เปลี่ย
นไป
มุมมองของ: โทมัส เบอร์รี วิวรณ์ครั้งใหม่
จารีตประเพณีทางศาสนาในตะวันตกแบบดั้งเดิมไม่ได้ปรับให้เข้ากับทัศนะต่อความจริงแบบวิทยาศ
าส ต ร์ส มัย ให ม่ อ ย่ างได้ ผ ล สิ่งที่ ม นุ ษ ย์รู้ใน ข ณ ะนี้ เกี่ ย ว กับ ลัก ษ ณ ะข อ งจัก รว าล
ไม่สอดคล้องกับสิ่งที่ศาสนาตะวันตกแบบดั้งเดิมบอกเกี่ยวกับธรรมชาติและตาแหน่งที่ของมนุษย์ในแบบแผ
น ที่ สิ่ ง ต่ า ง ๆ ใ น จั ก ร ว า ล
เมื่อคิดถึงปัญหารุนแรงที่เกิดขึ้นในช่วงสามร้อยปีที่ผ่านมาจากความสาเร็จทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอั
น ยิ่ ง ใ ห ญ่ ข อ ง อ า ร ย ธ ร ร ม ต ะ วั น ต ก เ บ อ ร์ รี ก ล่ า ว ว่ า
“มีความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีทัศนะแบบใหม่ที่ทั้งเรียกร้องศักด์ศรีของมนุษย์ในฐานะสิ่งสร้างโลกและสะก
ดข่มแนวโน้มของมนุษย์ที่จะปล้นสะดมโลก
มุ ม ม อ ง ข อ ง : แ ซ ล ลี แ ม ค เ ฟ ก โ ล ก อั น เ ป็ น ก า ย ข อ ง พ ร ะ เ จ้ า
ความคิดหลักในเทววิทยาของแมคเฟกอีกประการหนึ่งที่อาจสร้างความขุ่นเคืองในบริบทศาสนาคริส
ต์แบบดั้งเดิมก็คือการระบุอัตลักษณ์ของพระเจ้าว่าเป็นแม่ คือการตอกย้าความคิดที่ว่าโลกคือกายขอพระเจ้า
ในเทววิทยาของแมคเฟกมองโลกที่เป็นกายของพระเจ้าว่าเป็นอู่ เป็นมดลูก ซึ่งทุกอย่างถือกาเนิดขึ้น
เป็ น แ ผ่ น ดิน ที่ เลี้ย งทุ ก ชีวิต ซึ่ งห าก ข าด ไป แ ล้ว ชีวิต ก็ ไม่ ส าม ารถ อ ยู่ ต่ อ ไป ได้ อีก
ภ า พ ลั ก ษ ณ์ ข อ ง พ ร ะ เ จ้ า ที่ เ ป็ น แ ม่ แ ล ะ โ ล ก คื อ ก า ย ข อ ง แ ม่
ได้ทาลายจารีตธรรมเนียมของความคิดแบบศาสนาคริสต์ที่ว่าพระเจ้าเป็นชายผู้ห่างเหินจากโลก
และภาพลักษณ์นี้ได้ลดทอนการจัดลาดับชั้นในความคิดแบบศาสนาคริสต์ลงให้เหลือน้อย ในฐานะที่เป็นแม่
พระเจ้าพร้อมเสมอเพื่อบุตรของนาง ผู้ซึ่งนางจะหล่อเลี้ยงบารุงอยู่ทุกวันด้วยธาตุจากกายของนาง
บทที่13 สิทธิสัตว์และจริยธรรมด้านนิเวศวิทยา
แนวคิดของ: เฮนรี เอส. ซอลต์
ส า ห รั บ ซ อ ล ต์
วิวัฒนาการทางจริยธรรมของเผ่าพันธุ์มนุษย์ในที่สุดแล้วจะนามาซึ่งความตระหนักว่าสัตว์ก็สมควรได้ได้รับสิ
ท ธิ์ พื้ น ฐ า น เ ช่ น กั น เ ฮ น รี ไ ด้ ก ล่ า ว ไ ว้ ดั ง นี้
“การปลดเปลื้องมนุษย์ออกจากความทารุณและความอยุติธรรมจะนามาซึ่งการปลกเปลื้องสัตว์เช่นกันในไม่ช้
า ก า ร ป ฏิ รู ป ทั้ ง ส อ ง ป ร ะ ก า ร เชื่ อ ม โ ย ง กั น อ ย่ า ง ไ ม่ อ า จ แ ย ก จ า ก กั น ไ ด้
แ ล ะ ไ ม่ มี ป ร ะ ก า ร ใ ด ที่ ส า ม า ร ถ เ ป็ น จ ริ ง อ ย่ า ง ส ม บู ร ณ์ ไ ด้ อ ย่ า ง โ ด ด ๆ ”
เพี ย งเพื่ อ ม นุ ษ ย์ ป ระส บ ค ว าม ส าเร็จ ใน ก ารบ รรลุ ถึ งม นุ ษ ย ธ รรม อ ย่ างส ม บู รณ์
เมื่อนั้นขอบเขตทางจริยธรรมของพวกเขาจะเหยียดออกจนรวมเอาความตระหนักถึงความจาเป็นที่ต้องมีสิท
ธิสัตว์ โดยการปฏิเสธที่จะยอมรับสิทธิสัตว์ก็คือการที่ยังคงมีความเป็นมนุษย์น้อยอยู่
คาอธิบายที่พบทั่วไปและมีประสิทธิภาพมากที่สุดที่เสนอโดยนักสนับสนุนสิทธิสัตว์เพื่อต้านกับเผ่าพั
น ธุ์ นิ ย ม เกี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ข้ อ เ ท็ จ จ ริ ง ว่ า ม นุ ษ ย์ โ ด ย พื้ น ฐ า น แ ล้ ว ก็ คื อ สั ต ว์
แ ล ะด้ ว ย เห ตุ ผ ล นี้ จึงมีส่ ว น ที่ ร่ว ม กัน กับ เผ่ า พั น ธุ์อื่ น อีก ใน ก ารก ล่ าว ถึ งสิท ธิ สัต ว์
สั ต ว์ ก็ มี จิ ต ใ จ มี ค ว า ม เ จ็ บ ป ว ด มั น ส า ม า ร ถ ทุ ก ข์
ดั ง นั้ น เ ร า จึ ง ต้ อ ง ย อ ม ว่ า มั น มี ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ เ ห ล่ า นี้ อ า จ ถู ก ล ะ เ มิ ด ไ ด้
เราก็ควรจะขยายสิทธิให้กับสิ่งที่มีความรู้สึกที่ไม่ใช่มนุษย์ด้วย เราจึงควรยอมรับว่าสัตว์มีสิทธิอย่างที่มนุษย์มี
บทที่ 14 นิเวศวิทยาแนวลึก
จากการเอามนุษย์เป็นศูนย์กลาง สู่การเอาชีวิตเป็นศูนย์กลาง
โ ด ย บ ท นี้ ก ล่ า ว ห ลั ก จ ะ เ กี่ ย ว กั บ นิ เ ว ศ วิ ท ย า แ น ว ลึ ก
ซึ่งเป็นมุมมองทางปรัชญาหรือจริยธรรมที่อ้างว่าสร้างจุดยืนของอยู่บนรากฐานของความรู้หรือปัญญาหรือจริ
ย ธ รรม ท างนิ เว ศ วิท ย าที่ เพิ่ งได้ รับ ก ารรับ เมื่ อ ไม่ น าน นี้ จ าก วิช าวิท ย า ศ าส ต ร์
เป็ น เรื่อ งเกี่ ย ว กั บ ทั ศ น ะที่ ให้ ค ว าม ส าคัญ กั บ ค ว าม เชื่ อ ม สัม พั น ธ์ต่ อ กั น แ ล ะกั น
และคุณลักษณะที่สัมพันธ์กันของโลก โดยประการแรกคือ เคารพสิทธิของสิ่งมีชีวิตทั้งปวง
นิ เว ศ วิท ย าแ น วลึก มีค วาม ใก ล้ชิด ม าก กับ แ น วคิด เรื่อ งสัต ว์ ว่าด้วย สิท ธิข อ งสัต ว์
ไ ม่ ไ ด้ มี เ พี ย ง แ ค่ เ ผ่ า พั น ธุ์ ม นุ ษ ย์ เ ผ่ า เ ดี ย ว เ ท่ า นั้ น ป ร ะ ก า ร ที่ ส อ ง คื อ
เคารพความเป็นบูรณาการณ์ขององค์ประกอบในโลกธรรมชาติที่ไร้ชีวิต เช่น แม่น้า และภูเขา
โดยมีความสนใจเป็นพิเศษในสิทธิของโลกที่ไม่ใช่มนุษย์ ที่จะอิสระจากการแทรกแซงของมนุษย์มากเกินไป
และประการสุดท้าย ประการที่สามคือ การให้ความสาคัญ กับประการนี้เป็ นลาดับต้นๆ
เกี่ยวกับระบบเหนือถิ่นอาศัยเป็นแห่งๆ นิเวศทุกระบบมีทั้งผู้ล่าและเหยื่อ และสิทธิของสิ่งใดๆ
ที่จะมีชีวิตและแสดงหาความสุขต้องถูกผ่อนปรนลงด้วยความจาเป็นของระบบนิเวศเพื่อรักษาบูรณภาพของ
ตนเอาไว้ นอกจากนี้ยังมีแนวคิดหลักการของการถือว่าเป็นหนึ่งเดียวกัน องค์รวมนั้นใหญ่กว่าองค์ประกอบ
และสมมติฐานไกย่า โลกคือเทพี โดยเน้นความสาคัญและคุณค่าสูงสุดต่อระบบนิเวศโดยรวม
และการยืนยันว่าโลกเป็นถิ่นอาศัยของสรรพสิ่งมีคุณค่าสูงสุด
บทที่ 15 การเคลื่อนไหวด้านนิเวศ
กรีนพีซ นักรบสายรุ้ง
นิเวศวิทยาเป็นความสนใจสาคัญของนักคิดทางศาสนาและกลุ่มทางศาสนาหลายกลุ่มในอเมริกาเหนื
อ มีผู้นาทางศาสนาจานวนมากซึ่งได้กลายเป็นรากฐานทัศนะของบางคน นิเวศวิทยาในฐานะที่เป็นศาสนา
ก็ คื อ ก ลุ่ ม ก รี น พี ซ นั่ น เ อ ง โ ด ย ช่ ว ง แ ร ก ๆ ข อ ง ก า ร เ ค ลื่ อ น ไ ห ว คื อ
การยึดหลักสันติภาพการรณรงค์ชิ้นแรกของกรีนพีซคือความพยายามหยุดการทดลองใต้ดินของสหรัฐอเมริก
าที่เกาะอัมชิตกา แม้ว่าในทุกวันนี้กรีนพีซจะให้น้าหนักไปทางกรปกป้องสิ่งแวดล้อมมากขึ้น
และลดการเคลื่อนไหวด้านสันติภาพลงไป โดยผลงานที่เด่นที่สุดในการเคลื่อนไหวของกลุ่มกรีนพีซ ได้แก่
ตานานแห่งนักรบสายรุ้ง ค้นพบเรื่องนี้ในหนังสือรวบรวมตานานของชาวอินเดียพื้นเมือง
ตานานนี้เกี่ยวกับคาทานายของสตรีเผ่าครีชื่อว่า อายส์ ออฟ ไฟร์ หรือดวงตาแห่งไฟ เมื่อกว่า 200 ปีมาแล้ว
โ ด น ร ะ บุ ว่ า นั ก ร บ จ ะ ส อ น ผู้ อื่ น ถึ ง วิ ธี ท า ง ที่ จ ะ รัก แ ล ะ เค า ร พ พ ร ะ แ ม่ ธ ร ณี
ก ารป ก ป้ อ งพ ระแ ม่ ธ รณี เป็ น แ น ว คิ ด ที่ ก ล่ าว ถึ ง บ่ อ ย ๆ ใน ป รัช ญ า ข อ ง ก รีน พี ซ
กรีนพีซได้หยิบเอาสื่งที่เคยเป็นแก่นความคิดสาคัญของชาวอินเดียพื้นเมืองมาอย่างมากทีเดียว
เพื่อแสดงออกถึงความเข้าใจตันตนในทางรหัสยะหรือปรัชญานั่นเอง
บทที่ 16 สตรีนิเวศนิยม: การขูดรีดประโยชน์จากธรรมชาติกับผู้หญิง
เชื่อว่าผู้หญิงมีความแตกต่างจากผู้ชายและดีกว่าโดยธรรมชาติ และโดยเงื่อนไขทางชีวภาพ
(เช่นการให้กาเนิดลูก) ทาให้ผู้หญิ งมีความเชื่อมโยงกับธรรมชาติ เชื่อมโยงกับโลก
ป ฏิ เ ส ธ ค ว า ม เ ชื่ อ ที่ ว่ า ผู้ ห ญิ ง แ ล ะ ธ ร ร ม ช า ติ เ ป็ น ป ริ ม ณ ฑ ล ที่ ด้ อ ย
และปฏิเสธความเชื่อว่าปริมณ ฑลของเหตุผลและวัฒนธรรมมีความเหนือกว่าธรรมชาติ
ดังนั้ น จึงค ว รชื่ น ช ม ยิน ดี แ ล ะค ว รป ฏิ เส ธ เท ค โน โล ยีต่ า งๆ ที่ ท าล าย ธ รรม ช า ติ
นาไปสู่การฟื้นฟูความรู้ความเชื่อพิธีกรรมโบราณที่ให้ความสาคัญกับการบูชาพระแมเจ้า พระจันทร์
สัตว์ต่างๆ รวมทั้งระบบการสืบพันธุ์ ของผู้หญิงแต่ถูกต่อต้านว่าเป็นการถอยหลังเข้าคลอง
เหมือนเป็นการยอมรับระบบคิดแบบคู่ตรงข้ามของผู้ชาย เป็นการสืบเนื่องของการกดขี่ของผูชาย
โดยการขูดรีดประโชยน์จากผู้หญิงโดยอาศัยประโยชน์จากธรรมชาติ โดยเน้นระบบชายเป็ นใหญ่
จ น ท า ให้ เกิ ด เป็ น น า ม ธ ร ร ม มี ลั ก ษ ณ ะ ทั่ว ไ ป ไ ม่ แ ส ด ง ใ ห้ เห็ น ก ล ไ ก ต่ า ง ๆ
ท างสังค ม ที่ ท าให้ ระบ บ นี้ ด าเนิ น ไป แ ล ะแ ป รเป ลี่ ย น ไป อ ย่ างไรใน แ ต่ ล ะยุ ค ส มัย
ม อ ง ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ เ ป็ น ห นึ่ ง เ ดี ย ว
ก ารให้ ค ว าม ส าคัญ ใน เรื่อ งชีว ภ าพ แ ล ะเรื่อ งก ารสืบ พั น ธุ์ถู ก ม อ งว่ าไม่ รอ บ ด้ าน
เพราะผู้หญิงไม่ได้ถูกกดขี่เพียงเรื่องนี้ ยังมีเรื่องเศรษฐกิจ การเมือง ประวัติศาสตร์ด้ วย
ดังนั้นต้องพิจารณาเรื่อง การผลิต/บทบาททางการ ผลิตของผู้หญิง การสืบพันธ์กาเนิดลูก
กามารมณ์และกฎเกณฑ์การควบคุมเรื่องกามารมณ์ และการขัดเกลาทาง สังคมประกอบไปด้วย
ซึ่งถูกกล่าวไว้ว่า เมื่อสิ้นระบบชายเป็นใหญ่ ผู้หญิงจะเข้ามามีอิทธิพลแทน
บทที่ 17 สี่นักวิสัยทัศน์ทางนิเวศ
เป็นการรวมความคิดเห็นของนักวิสัยทัศน์ทางนิเวศทั้ง 4 คนที่มีอิทธิพลในปัจจุบัน
ว่ามีความคิดเห็นต่อนิเวศต่างๆอย่างไรบ้าง ในอดีตและในปัจจุบันแตกต่างกันอย่างไร
โดยแต่ละนักวิสัยทัศน์จะได้หัวข้อที่แตกต่างตามกันไป บอกถึงข้อดีข้อเสีย ประโยชน์ต่างๆ
และสิ่งที่เราจะประยุกต์มาใช้ได้โดยตรงหรือทางอ้อม แสดงให้เห็นภาพได้ชัดเจนขึ้น
สรุปความเชื่อมโยงระหว่างสาระสาคัญของหนังสือกับแนวคิดทางจริยศาสตร์
จากหนังสือเล่มนี้นั้นเราจะเห็นได้ว่าในหลายๆบทจะกล่าวถึงความสอดคล้องในของหลายศาสนาจะ
มีความเชื่อมโยงในส่วนของธรรมชาติมาเป็นส่วนเกี่ยวข้องด้วยเสมอซึ่งทั้งหมดนี้แสดงให้เห็นถึงความเชื่อมโ
ยงของธรรมชาติ และ ศาสนา ว่ามันจะเชื่อมโยงกับแนวคิดทางจริยศาสตร์ ในเรื่องของ ธรรมชาตินิยม
เพราะ ว่าตามหลักของธรรมชาตินิยมแล้วจะยึดถือธรรมชาติ เท่านั้นคือสิ่งที่เป็นจริงนิรันดร์
มีพลังกระตุ้นในตัว จาก ตัว อย่างใน บทที่ 2 และ บทที่ 3 จะเห็นได้ว่า ชนเผ่า อะบอริจิ้น
จ ะ มี ค ว า ม เ ชื่ อ ใ น เ รื่ อ ง ข อ ง ธ ร ร ม ช า ติ
และจิตวิญญาณที่สอดแทรกอยู่ในธรรมชาติรอบตัวซึ่งเป็นไปตามหลักธรรมชาตินิยม หรือในส่วนของบทที่
12 เทววิทยาเชิงนิเวศร่วมสมัยที่เป็นการชี้ให้เห็นถึงการดารงอยู่คู่กันของศาสนาและธรรมชาติ และยังมีบทที่
13 ที่ เ ป็ น เ รื่ อ ง ข อ ง สิ ท ธิ สั ต ว์ แ ล ะ จ ริ ย ธ ร ร ม ด้ า น นิ เ ว ศ วิ ท ย า
เป็นหัวข้อที่ต้องการให้มีสิทธิสัตว์เพื่อคุ้มครองสัตว์ให้มีความเท่าเทียมพอๆกับมนุษย์ ส่วนในบทที่ 10
จะมีการว่าด้วยเรื่อง ธรรมชาติเสื่อมมนต์ขลัง ซึ่งจะแสดงให้เห็นถึงแนวคิดที่แตกแขนงมาอีกทางหนึ่ง
ในทางที่มนุษย์นั้นคิดว่าตัวเองเหนือทุกสิ่ง ทาให้ธรรมชาติเสื่อมถอย ส่งผลต่อระบบนิเวศ
ซึ่ ง มี ค ว า ม เชื่ อ ม โ ย ง ไ ป ใ น บ ท ที่ 11 ว่ า ด้ ว ย เรื่ อ ง จิ ต วิ ญ ญ า ณ เ ชิ ง นิ เ ว ศ
ซึ่งในบทนี้จะบอกถึงการที่มนุษย์นั้นพยายามจะควบคุมธรรมชาติเพื่อประโยชน์ของมนุษย์
ในความเป็นจริงนั้น มนุษย์ต้องอาศัยธรรมชาติในการดารงชีวิตไม่ว่าจะเป็น อาหาร อากาศ น้า
สิ่งพ วก นี้ ถ้ าม นุ ษ ย์ข าด ไป ก็จะไม่ ส าม ารถ ด ารงชีวิต อ ยู่ได้ ม นุ ษ ย์จึงต้ อ งมีล่ าสัต ว์
เ พื่ อ น า เ นื้ อ ข อ ง พ ว ก มั น ม า เ ป็ น อ า ห า ร
ใน ห นั งสือ เล่ ม นี้ ก็ ได้มีก ารก ล่ าวถึงก ลุ่ ม ค น ที่ ม อ งเห็ น คุ ณ ค่ าข อ งชีวิต สัต ว์พ ว ก นี้
จึงมีการจัดพิธีกรรมทั้งก่อนและหลังฆ่า เพื่อเป็นการเคารพแก่สัตว์ที่ตายเพื่อให้มนุษย์ดารงชีวิตอยู่ได้
พืชเองก็เช่นกันพวกมันก็ถูกมองว่าเป็นสิ่งมีชีวิต และมีการทาพิธีกรรมหลังจากการเก็บเกี่ยว
ส่วนนี้น่าจะเข้าข่ายมโนธรรมสัมบูรณ์ เนื่องจากผู้ล่ามีการรับรู้ว่าสิ่งที่ตัวเองล่ามีชีวิตจิตใจเหมือนกัน
นอกจากนี้หนังสือเล่มนี้ยังมีการกล่าวถึง การบูชาธรรมชาติของศาสนาฮินดูอีกด้วย ซึ่งก็เป็นสิ่งที่ดีสิ่งหนึ่ง
มั น ก็ เ ห มื อ น กั บ ก า ร เ ค า ร พ ต่ อ ธ ร ร ม ช า ติ แ ต่ ถ้ า จ ะ ม อ ง ใ น อี ก มุ ม
การบูชาอะไรแบบนี้ก็ดูเหมือนจะงมงายเกินไปเช่นกัน
ประโยชน์ของจริยศาสตร์
ก า ร ศึ ก ษ า วิ ช า ก า ร ทุ ก แ ข น ง ย่ อ ม มี ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ผู้ ศึ ก ษ า ทั้ ง นั้ น
การศึกษาวิชาจริยศาสตร์ก็ย่อมมีประโยชน์มากมายซึ่งพอสรุปได้ดังนี้
1. ทาให้รู้ว่าอะไรดี อะไรชั่ว อะไรถูก อะไรผิด สามารถเลือกปฏิบัติในทางที่ถูกที่ควร
จากที่แต่ละศาสนาหรือแต่ละเผ่าได้ทาแต่ละอย่างล้วนมองว่าถูกในมุมมองของแต่ละศาสนา
แต่ละเผ่า
2. ทาให้รู้ทางดาเนินชีวิตทั้งในส่วนตัวและสังคม การที่เราศึกษาศาสนาอื่นๆ หรือชนเผ่าอื่นๆ
ทาให้เราดาเนินชีวิตอยู่กับคนต่างเผ่าได้ถูกวิธี เช่น คนอิสลาม จะไม่กินหมู เราก็ไม่ชวนเค้ากินหมู
3. ทาให้เข้าใจกฎความจริงของชีวิตเป็นสิ่งที่ชีวิตต้องการทาให้ชีวิตสมบูรณ์การศึกษาจริยธรรมจึงเป็น
การศึกษาถึงกฏธรรมชาติให้รู้ว่าชีวิตที่แท้จริงคืออะไรต้องการอะไร
4. ก า ร ป ร ะ พ ฤ ติ ห ลั ก จ ริย ธ ร ร ม เป็ น ก า ร พั ฒ น า สิ่ ง มี ชี วิ ต ให้ สู ง ขึ้ น เรีย ก ว่ า
มี วั ฒ น ธ ร ร ม ท า ใ ห้ ชี วิ ต ม นุ ษ ย์ เ ป็ น ชี วิ ต ที่ ป ร ะ เ ส ริ ฐ ก ว่ า สั ต ว์
ถ้าขาดด้านจริยธรรมแล้วคนไม่ต่างจากสัตว์แต่อย่างใด
5. ท า ใ ห้ รู้ จั ก ค่ า ข อ ง ชี วิ ต ว่ า ค่ า ข อ ง ชี วิ ต อ ยู่ ที่ ไ ห น
ทาอย่างไรชีวิตจะมีค่าและก็เลือกทางที่ดีมีค่าชีวิตก็มีค่าตามที่ต้องการ
เกณฑ์ตัดสินการกระทา
จริยศาสตร์เป็นวิชาที่ว่าด้วยคุณค่า คือเรื่องความดี ไม่ดี แต่ก็เป็นการยากที่จะชี้ขาดลงไปว่าอะไรดี
อ ะ ไ ร ไ ม่ ดี อ ะ ไ ร ถู ก อ ะ ไ ร ผิ ด อ ะ ไ ร ค ว ร อ ะ ไ ร ไ ม่ ค ว ร
นักปรัชญ าด้านนี้จึงพ ยายามหาหลักเกณ ฑ์เพื่ อเป็ นแนวทางในการตัดสินการกระทา
ในที่นี้จะขอเสนอแนวคิดใหญ่ๆดังนี้
1.สัมพัทธนิยม
สัมพัทธ์ (Relative) หมายความว่า สิ่งนั้นขึ้นอยู่กับหรือเปลี่ยนแปลงไปตามสิ่งอื่น เช่น รูปร่าง
ลัก ษ ณ ะข อ งน้ าเป็ น สิ่งสัม พั ท ธ์ เพ ราะรูป ร่างลัก ษ ณ ะข อ งน้ า ไม่ แ น่ น อ น ต าย ตัว
แต่เปลี่ยนไปหรือขึ้นอยู่กับภาชนะที่บรรจุ ถ้าเราเอาน้าใส่แก้ว น้าก็มีรูปร่างอย่างแก้วถ้าเราเอาน้าใส่โอ่ง
น้ าก็มีรูป ร่างอย่างโอ่ง ถ้าเราเอาน้ าใส่ขัน น้ าก็มีรูป ร่างอ ย่างขัน เราจึงก ล่าวได้ว่า
รูปร่างของน้าสัมพัทธ์กับพาชนะที่บรรจุ
ส่วนพวกสมบูรณ์นิยม ถือว่าความดี ความชั่ว เป็นของมีค่าแน่นอนตายตัว ไม่ขึ้นอยู่กับอะไร
ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่มีเงื่อนไขใดๆ ทั้งสิ้น
2.มโนธรรมสัมบูรณ์
เ ก ณ ฑ์ ตั ด สิ น ค ว า ม ดี อี ก ป ร ะ ก า ร ห นึ่ ง คื อ ลั ท ธิ ม โ น ธ ร ร ม สั ม บู ร ณ์
ลั ท ธิ นี้ ถื อ ว่ า ก า ร ตั ด สิ น คุ ณ ค่ า ท า ง จ ริ ย ะ นั้ น ท า ไ ด้ ต า ม จิ ต ส า นึ ก
เกณฑ์มาตรฐานในการตัดสินคุณค่าตามความต้องตัดสินคุณค่าทางจริยะนั้นทาได้ตามจิตสานึก
เกณฑ์มาตรฐานในการตัดสินคุณค่าตามความคิดของนักปรัชญากลุ่มนี้เรียกว่า มโนธรรม
ม โ น ธ ร ร ม ห ม า ย ถึ ง ส า นึ ก ที่ ม นุ ษ ย์ ทุ ก ค น มี โ ด ย ธ ร ร ม ช า ติ ที่ ม นุ ษ ย์
เป็นเสียงในจิตใจมนุษย์ที่ทาให้ตัดสินอะไรได้ว่าสิ่งนั้นถูกหรือผิดอย่างไร
ความสานึกในเรื่องความดี ความชั่ว ไม่จาเป็นต้องอธิบายเหตุผล เรารู้ว่าสิ่งนั้นผิด
เพราะมันผิดไม่ดีในตัวของมันเองจึงไม่ควรทา
ลั ท ธิ ม โ น ธ ร ร ม สั ม บู ร ณ์ เ ชื่ อ ว่ า
ทุกสิ่งทุกอย่างในโลกต้องมีลักษณ ะที่เป็นแก่นแท้ของสิ่งทั้งหลายที่มีในสิ่งๆนั้นเสมอไป
เกลือย่อมรักษาความเค็มเสมอ ทุกกาละเทศ ไฟย่อมร้อนทุกกาละเทศะความรู้สึกคนอาจต่างกันเช่นคน 2
คน อยู่ข้างกองไฟลุกโพรงยิ่งขึ้น จะได้อบอุ่นมากขึ้น ความจริงแล้วไฟย่อมร้อนเท่าเดิม
มโนธรรมไม่ใช่อารมณ์ แต่มโนธรรมเป็นสานึกในส่วนลึกของหัวใจ มโนธรรมเป็นอินทรีย์พิเศษ
ไม่ใช่อินทรีย์ทางประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ ทางตา ทางหู ทางจมูก ทางปาก ทางกาย
แ ต่ เป็ น อิ น ท รีย์ ที่ เรีย ก ว่ า ปัญ ญ า ห รือ ม โน ธ ร ร ท ห รือ อิ น ท รีย์ ท า ง ศี ล ธ ร ร ม
เป็นส่วนหนึ่งทางจิตหรือวิญญาณเป็นตัวตัดสินชี้ขาดความดีความถูก ความผิดเป็นเรื่องนามธรรม
บัทเลอร์ นักจริยศาสตร์ชาวอังกฤษคนหนึ่งกล่าวว่า “ในตัวคนเรามีสิ่งที่เหนือกว่าความรู้สึกธรรมดาคือ
มโนธรรมที่เป็นตัวชี้ขาดเกณฑ์ที่อยู่ในใจเราและตัดสินหลักแห่งการกระทามโนธรรมจะตัดสินตัวของมันเอาเ
อ ง แ ล ะ ก า ร ก ร ะ ท า ข อ ง ม นุ ษ ย์ มั น ป ร ะ ก า ศ ล ง ไ ป โ ด ย ไ ม่ มี ค า แ น ะ น า ใ ด ๆ
มโนธรรมนั้นแสดงอานาจของมันออกมาเพื่อให้ได้ความเห็นชอบหรือประณามผู้กระทาตามแต่กรณี”
ม โ น ธ ร ร ม ห รื อ อิ น ท รี ย์ ท า ง ศี ล ธ ร ร ม นั้ น
มนุษย์มีอยู่ด้วยกันทุกคนในฐานะที่เป็นมนุษย์เป็นสิ่งติดตัวของมนุษย์แต่เขาเกิดมา มโนธรรมมี 2 ภาค คือ
1.ภาคชี้ขาดความดีที่ถูกต้อง
2.ภาคชี้ขาดความงามที่ถูกต้อง
มโนธรรมที่มนุษย์มีติดตัวนี้เป็นสิ่งสากล แม้จะมีในทุกคนก็มีลักษณะรวมเป็นสากล คือ
ทุกคนที่อยู่มนภาวะปกติจะมีความรู้สึกคล้ายกัน เช่น ความรู้สึกว่าการช่วยเหลือคนตกทุกข์ได้ยากเป็นสิ่งที่ดี
แต่อย่างไรก็ตามคนทั้งหลายก็ยังคิดเห็นต่างกันอยู่เพราะความโลภความหลงมาปิดบังเอาไว้
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดียอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
Padvee Academy
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
thnaporn999
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
Padvee Academy
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
Thongsawan Seeha
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจร
pentanino
 
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏพุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
CUPress
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
NU
 
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
dollar onohano
 

Mais procurados (20)

อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดียอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
 
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณบทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญาปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
 
Tipitaka
TipitakaTipitaka
Tipitaka
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจร
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
 
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
 
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากล
 
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏพุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการ
 
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
 

Semelhante a กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา

สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
pentanino
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
T Ton Ton
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
pentanino
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
Tongsamut vorasan
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
pentanino
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
korakate
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
korakate
 
วิทยาศาสตร์ศึกษาแบบองค์รวม
วิทยาศาสตร์ศึกษาแบบองค์รวมวิทยาศาสตร์ศึกษาแบบองค์รวม
วิทยาศาสตร์ศึกษาแบบองค์รวม
Prachoom Rangkasikorn
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
teacherhistory
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
Prapatsorn Chaihuay
 
งานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่องานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่อ
MicKy Mesprasart
 

Semelhante a กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา (20)

สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
 
Pdf
PdfPdf
Pdf
 
สังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลายสังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลาย
 
อังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลายอังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลาย
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 
9789740330691
97897403306919789740330691
9789740330691
 
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารพระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
 
วิทยาศาสตร์ศึกษาแบบองค์รวม
วิทยาศาสตร์ศึกษาแบบองค์รวมวิทยาศาสตร์ศึกษาแบบองค์รวม
วิทยาศาสตร์ศึกษาแบบองค์รวม
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
งานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่องานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่อ
 

Mais de freelance

Mais de freelance (20)

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reduction
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systems
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education class
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education game
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessment
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informatics
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster education
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessment
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazard
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazard
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reduction
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survival
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systems
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reduction
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informatics
 

กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา

  • 2. คานา นิเวศวิทยากับศาสนา นิ เ ว ศ วิ ท ย า กั บ ศ า ส น า จิตวิญญาณเชิงนิเวศในมุมมองต่างวัฒนธรรมนาเสนอแนวคิดที่ทาให้วงถกเถียงอภิปรายในเรื่อง "นิ เ ว ศ วิ ท ย า แ ล ะ ศ า ส น า " ใ น อ เ ม ริ ก า เ ห นื อ ปั จ จุ บั น ลึ ก ซึ้ ง ม า ก ขึ้ น โดยได้เพิ่มมิติด้านประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมที่หลากหลายเข้าไปประกอบการพิจารณา ห นั ง สื อ เ ล่ ม นี้ ใ ห้ ค ว า ม รู้ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ใ น ป ร ะ เ ด็ น ต่ า ง ๆ อ า ทิ การล่าสัตว์ซึ่งเป็นเสมือนพิธีกรรมทางศาสนา ความศักดิ์สิทธิ์ของแผ่นดิน ศาสนาในเอเชีย ค ริส ต ศ าส น าใน ด้ าน ที่ เป็ น อัน ต ราย แ ล ะด้ าน ที่ แ ส ด งค ว าม รับ ผิ ด ช อ บ ต่ อ นิ เว ศ ตลอดจนการกดขี่ขูดรีดต่อธรรมชาติและต่อผู้หญิง ไม่ว่าคุณจะถือว่า “โลกคือบ้าน” หรือว่าเป็นเพียง "ที่พักแรม" นิเวศวิทยากับศาสนาเล่มนี้จะทาให้คุณเห็นคุณค่าของโลกใบนี้มากขึ้น
  • 3. ส่วนที่ 1 วัฒนธรรมพื้นเมือง บทที่ 1 มิสตัสชินี ครี บทที่ 2 ศาสนาชนเผ่าพื้นเมืองออสเตรเลีย บทที่ 3 ศาสนาของชาวไอนุ และชาวโคยุคอน: คัดบ่างเรื่อง บทที่ 4 ศาสนาชาวอเมริกันพื้นเมือง: แก่นความคิดเชิงนิเวศ ส่วนที่ 2 ธรรมเนียมศาสนาเอเชีย บทที่ 5 ศาสนาฮินดู: แก่นความคิดด้านนิเวศ บทที่ 6 ศาสนาของจีน: แก่นความคิดด้านนิเวศ บทที่ 7 ศาสนาพุทธ: แก่นความคิดด้านนิเวศ ส่วนที่ 3 ภูมิหลังของการถกเถียงอภิปรายร่วมสมัยว่าด้วยนิเวศวิทยากับศาสนา บทที่ 8 ศาสนาคริสต์ที่เป็นภัยเชิงนิเวศ บทที่ 9 ศาสนาคริสต์ที่รับผิดชอบเชิงนิเวศ บทที่10 ธรรมชาติเสื่อมมนต์ขลัง: ทัศนะสมัยใหม่ว่าด้วยธรรมชาติ บทที่11 จิตวิญญาณเชิงนิเวศในความคิดของธอโร มูร์และลีโอโปลด์ ส่วนที่ 4 การถกเถียงอภิปรายร่วมสมัยเกี่ยวกับนิเวศวิทยาและศาสนา บทที่ 12 เทววิทยาเชิงนิเวศร่วมสมัย บทที่ 13 สิทธิสัตว์และจริยธรรมด้านนิเวศวิทยา บทที่ 14 นิเวศวิทยาแนวลึก: จากการเอามนุษย์เป็นศูนย์กลางสู่การเอาชีวิตเป็นศูนย์กลาง บทที่ 15 การเคลื่อนไหวด้านนิเวศ บทที่ 16 สตรีนิเวศนิยม: การขูดรีดประโยชน์จากธรรมชาติกับผู้หญิง บทที่ 17 สี่นักวิสัยทัศน์ทางนิเวศ
  • 4. บทที่ 1 มิสตัสชินี ครี เ มื่ อ พู ด ถึ ง ปั ญ ห า ท า ง ด้ า น สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ห รื อ นิ เ ว ศ วิ ท ย า ส่ ว น ให ญ่ แล้วผู้ค น มัก นึ ก ถึงแ ต่ เฉ พ าะใน แง่ก าย ภ าพ เช่ น ผ ล ก ระท บ ต่ อ สุ ข ภ าพ ห รื อ ก า ร แ ก้ ไ ข ด้ ว ย เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ ม า ต ร ก า ร ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ทั้ ง ๆ ที่ปัญ หาสิ่งแวดล้อมมีมิติทางด้านจิตวิญ ญ าณ มาเกี่ยวข้องด้วยไม่ต่างจากปัญ หาอื่น ๆ ทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม ดังนั้นสิ่งหนึ่งที่จาต้องคานึงในการถกเถียงทางด้านนิเวศวิทยา นั่นคือการนามิติทางด้านจิตวิญญาณหรือศาสนามาเชื่อมโยงกับมุมมองทางด้านนิเวศวิทยา ความเจริญก้าวหน้าของมนุษย์มักจะมาควบคู่กับการเหินห่างและแปลกแยกจากธรรมชาติมากขึ้น จ น ถึ ง ขั้ น เ ป็ น ป ฏิ ปั ก ษ์ ดังปรากฏให้เห็นเด่นชัดในยุคปัจจุบันที่วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีก้าวหน้าอย่างไม่เคยปรากฏมาก่อน ความสัมพันธ์ในลักษณะปฏิปักษ์ดังกล่าวนับว่าแตกต่างอย่างมากกับท่าทีของมนุษย์เมื่อครั้งยังอยู่ในป่าเขาแ ละล้าหลังทางเทคโนโลยี เผ่ามิสตัสซินี ครีในอเมริกาเหนือ อะบอริจิ้นในออสเตรเลีย ไอนุในญี่ปุ่น และโค ยุค อ น ใน อลาสก้า มีอย่างห นึ่ งที่ เห มือ น กัน ได้แก่ ค วาม เค ารพ ใน ธรรม ชาติ แ ม้ ก ร ะ ทั่ ง กั บ สั ต ว์ ที่ ต น ล่ า ม า เ ป็ น อ า ห า ร ก็ต้ อ งเค ารพ ด้ ว ย ก ารป ฏิบัติต าม พิ ธีก รรม อ ย่ างเค ร่งค รัด ทั้งก่ อ น แ ล ะห ลังก ารล่ า ก ารล่ าสัต ว์มิอ าจ แ ย ก จาก พิ ธีก รรม ท างศ าส น ารว ม ทั้งก าร “ช าระต น ”ให้ บ ริสุ ท ธิ์ ที่น่าสนใจอีกประการหนึ่งก็คือการมองว่าสัตว์ที่ถูกล่านั้นมอบตัวเองเป็น “ของขวัญ”แก่ผู้ล่า เ นื้ อ ที่ ไ ด้ ม า จึ ง มิ ไ ด้ เ กิ ด จ า ก ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ ง ม นุ ษ ย์ หากเป็นความกรุณาของสัตว์หรือเทพที่แปลงร่างเป็นสัตว์ เมื่ อ ม นุ ษ ย์ ก้ า ว ห น้ า ใน ท า ง ส ติ ปัญ ญ า จ น พั ฒ น า ศ า ส น า ที่ ซั บ ซ้ อ น ขึ้ น ส า ย สั ม พั น ธ์ อั น ใ ก ล้ ชิ ด ร ะ ห ว่ า ง ธ ร ร ม ช า ติ กั บ ม นุ ษ ย์ ก็ ยั ง ด า ร ง อ ยู่ พุ ท ธ ศ าส น าถื อ ว่าสัต ว์ทั้งห ล าย ไม่ เพี ย งเป็ น เพื่ อ น ร่ว ม ทุ ก ข์ใน วัฏ ส งส ารเท่ านั้น ห า ก ยั ง มี ส า ย สั ม พั น ธ์ ฉั น ญ า ติ พี่ น้ อ ง อ ย่ า ง น้ อ ย ก็ ใ น ช า ติ ก่ อ น ๆ เพ ราะม นุ ษ ย์แ ล ะสัต ว์ส าม ารถ เลื่ อ น ภ พ ภู มิห รือ ก ลับ ม าเกิ ด ให ม่ ข้าม พั น ธุ์กัน ได้ แต่ทัศนะดังกล่าวได้ลางเลือนไปในปัจจุบันโดยเฉพาะเมื่อวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ได้นาเอาแนวคิดแบบวัตถุนิย
  • 5. ม เ ข้ า ม า แ พ ร่ ห ล า ย จ น เ ป็ น ก ร ะ แ ส ห ลั ก ถึงตอนนี้ธรรมชาติได้แปรสภาพเป็นสินค้าและวัตถุสาหรับสนองความต้องการของมนุษย์อย่างเดียว ผลคือความเสื่อมโทรมทางด้านสิ่งแวดล้อมจนเป็นวิกฤตของโลก ท่ า ม ก ล า ง วิ ก ฤ ต ดั ง ก ล่ า ว ข บ ว น ก า ร นิ เ ว ศ วิ ท ย า ไ ด้ เติ บ ใ ห ญ่ ขึ้ น ด้านหนึ่งเป็นปฏิกิริยาต่อวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ที่เห็นธรรมชาติเป็นเพียงวัตถุที่มีขึ้นเพื่อปรนเปรอมนุษย์เท่า นั้น แต่อีกด้านหนึ่งก็มีความเชื่อมโยงกับศาสนาดั้งเดิม ชีวิตและผลงานของบุคคลที่ยืนหยัดอย่างโดดเด่น อาทิ เฮนรี เดวิด ธอโร, จอห์น มูร์ และอัลโด ลีโอโปลด์ เป็นต้น เป็นรากฐานสาคัญให้แก่ขบวนการ นิเวศ วิท ยาร่วมสมัย ไม่ว่าขบ วนการสิท ธิสัตว์ ขบ วน การนิเวศวิท ยาแน วลึก ข บ ว น ก า ร ก รี น พี ซ แ ล ะ เ อิ ร์ ธ เ ฟิ ส ต์ แ ล ะ ข บ ว น ก า ร ส ต รี นิ เ ว ศ นิ ย ม ทั้งหมดนี้ ได้สร้างความหลากหลายและรุ่มรวยให้แก่ขบวนการนิเวศวิทยาในปัจจุบัน ทั้งนี้ยังไม่ต้องพูดถึงขบวนการนิเวศวิทยาในตะวันออก เช่น ขบวนการชิปโกในอินเดีย การเกิดขึ้นของขบวนการนิเวศวิทยาแนวลึก ซึ่งไม่เพียงเคารพสิทธิของสิ่งมีชีวิตเท่านั้น ห า ก ยั ง เ ค า ร พ สิ ท ธิ ข อ ง แ ม่ น้ า ป่ า เ ข า ท ะ เ ล แ ล ะ ร ะ บ บ นิ เ ว ศ ทั้ ง ม ว ล ขณ ะที่ขบวนการสตรีนิเวศนิยมสนับสนุ นการบูชาเทพีซึ่งเป็ นตัวแทนของธร รมชาติ ปรากฏการณ์ดังกล่าวดูเหมือนจะบอกเราว่าหลังจากที่มนุษย์วิวัฒน์พัฒนาจนห่างไกลจากธรรมชาติมากขึ้นเ รื่อย ๆ ในที่สุดเราก็อาจจะหวนกลับมาสู่จุดเดิมที่เคารพธรรมชาติและนับเอาสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ มาเป็นเครือญาติกับมนุษย์ แต่เอาเข้าจริง ๆ แล้วเส้นทางวิวัฒนาการของมนุษย์คงไม่กลับมาบรรจบที่จุดเดิม หากก้าวไปสู่จุดใหม่โดยอาศัยภูมิปัญญาดั้งเดิมเป็นพื้นฐาน กล่าวอย่างถึงที่สุดแล้ว ปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นปัญหาสังคมพอ ๆ กับปัญหาทางจิตวิญญาณ นอกจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมแล้ว เราจาต้องมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตสานึกควบคู่ไปด้วย ดังนั้นศาสนาจึงมีบทบาทสาคัญมากในการพามนุษย์พ้นจากวิกฤตทางนิเวศวิทยา อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ค า ถ า ม ห นึ่ ง ที่ อ า จ เ กิ ด ขึ้ น ม า ใ น ใ จ ก็ คื อ ทั้ ง ๆ ที่ ศ า ส น า ก ร ะ แ ส ห ลั ก ส่ ว น ใ ห ญ่ มี ท่ า ที ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ ธ ร ร ม ช า ติ แต่เหตุใดจึงไม่สามารถต้านทานแนวคิดหรือกระแสที่มุ่งครอบงาและทาร้ายธรรมชาติได้ ไ ม่ ว่ า จ ะ เ ป็ น ทุ น นิ ย ม บ ริ โ ภ ค นิ ย ม ห รื อ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ บ บ วั ต ถุ นิ ย ม ป ราก ฏ ก า รณ์ ดั ง ก ล่ า ว ย่ อ ม ฟ้ อ ง ว่ า ศ า ส น า ก ระ แ ส ห ลั ก นั้ น อ่ อ น พ ลัง ล ง ไป ม า ก ใน ขณ ะเดียวกัน เมื่อ ม อ งไป ยังขบ วน ก ารอ นุ รัก ษ์ ธรรม ช าติที่ มีอ ยู่เป็ น จาน วน ม าก เ ร า ก ลั บ พ บ ว่ า มี ค ว า ม เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ศ า ส น า น้ อ ย ม า ก
  • 6. แ ต่ นั่น ก็ ไม่ ได้ ห ม า ย ค ว า ม ว่ า ข บ ว น ก า ร เห ล่ า นี้ เป็ น ข บ ว น ก า รท า งโล ก ล้ ว น ๆ เพราะเมื่อพิจารณาลงไปถึงรากฐานทางปรัชญาของขบวนการเหล่านี้ เราจะพบแนวคิดทางด้านจิตวิญญาณ อย่างชัดเจน ดังขบวนการกรีนพีซ ซึ่งได้รับอิทธิพลจากแนวคิดแบบรหัสนัยของอินเดียนแดง อาทิ ความเชื่อว่า สิ่งมีชีวิตทั้งหลายล้วนมีจิตใจที่มนุษย์สามารถติดต่อสื่อสารได้ และโลกเป็นส่วนหนึ่งของ “ร่างกาย” ของเรา หากรักตัวเรา ก็ต้องรักปลาวาฬ แมวน้า ป่าเขา และทะเลด้วย กล่าวอีกนัยหนึ่ง แม้จะไม่ใช่ขบวนการศาสนา แต่ก็ใช่ว่าจะไร้มิติทางด้านจิตวิญญาณ ในทางตรงกันข้ามแม้เป็นขบวนการศาสนา แต่ก็อาจไร้มิติทางจิตวิญญาณก็ได้ นั่นหมายความว่า ศาสนากับมิติทางจิตวิญ ญ าณ ไม่จาต้องเป็ นเรื่องเดียวกันเสมอไป ในยุคโลกาภิวัตน์ เร า ไ ด้ พ บ ข บ ว น ก า ร จ า น ว น ม า ก ที่ ไ ม่ มี รู ป ลั ก ษ ณ์ ท า ง ด้ า น ศ า ส น า เล ย แต่มีมิติทางด้านจิตวิญญาณอย่างเด่นชัด อันแสดงออกด้วยการเสียสละอุทิศตนเพื่อเพื่อนร่วมโลก ชนิดที่ไปพ้นเส้นแบ่งทางด้านเชื้อชาติ ภาษา ศาสนา เผ่าพันธุ์ หรือแม้กระทั่งชนิดพันธุ์ (species) ด้วยซ้า (ต ร ง กั น ข้ า ม กั บ ข บ ว น ก า ร ท า ง ศ า ส น า จ า น ว น ไ ม่ น้ อ ย ที่ มี ค ว า ม คิ ด ที่ คั บ แ ค บ และรังเกียจเดียดฉันท์หรือเลือกปฏิบัติเพียงเพราะความต่างทางศาสนา ภาษา เชื้อชาติ หรือผิวสี จนเป็นสาเหตุแห่งความรุนแรงนานาชนิดในปัจจุบัน) ในขณะที่ศาสนาซึ่งไร้มิติทางจิตวิญญาณกาลังมีบทบาทเด่นชัดโดยเฉพาะในด้านลบ อาทิ การเป็นแรงบันดาลใจให้เกิดการก่อการร้ายทั้งในรูปขบวนการก่อการร้ายและการก่อการร้ายโดยรัฐ สิ่ ง ท้ า ท า ย ส า ห รั บ ศ า ส น า ที่ ยั ง มี มิ ติ ท า ง จิ ต วิ ญ ญ า ณ อ ยู่ ก็ คื อ จะฟื้ นตัวจากความอ่อนแอและกลับมีพลังในการสร้างสรรค์โลกได้อย่างไร นิมิตดีก็คือ ข บ ว น ก า ร ท า ง นิ เ ว ศ วิ ท ย า ที่ ท ร ง พ ลั ง ใ น ปั จ จุ บั น ห ล า ย ข บ ว น ก า ร ไ ด้ รับ แ ร ง บั น ด า ล ใ จ ท า ง จิ ต วิ ญ ญ า ณ จ า ก ศ า ส น า ดั้ ง เดิ ม นั่นหมายความว่าศาสนาที่มีจิตวิญญาณ กาลังฟื้นตัวขึ้นมาใหม่เพื่อสร้างประโยชน์แก่โลกอีกครั้งหนึ่ง สรุปบทที่ 2 เรื่อง ศาสนาชนพื้นเมืองออสเตเรีย ในบทที่สองนี้จะกล่าวในส่วนของเรื่องศาสนาความเชื่อและประเพณีของชาวพื้นเมืองของออสเตเรีย หรือที่เรารู้จักในชื่อของอะบอริจิ้นโดยความเชื่อแรกของชาวอะบอริจิ้นคือจะเป็นความเชื่อในจิตวิญญานแห่ง ธรรมที่แทรกซึมอยุในรอบๆของแผ่นดินของพวกเขาอาศัยอยู่โดยรอบๆและมีความเชื่อในเรื่องโลกแห่งความ
  • 7. ฝันซึ่งถือเป็นเป้าหมายหลักในความเชื่อของชาวอะบอริจิ้นในการดาเนินชีวิตโดยพวกเขายังมีความเชื่อที่ว่าโ ลกของเรากาเนิดจากบรรพบุรุษในยุคแห่งความฝันร้องเพลงให้โลกกาเนิดขึ้นมาความเชื่อในการให้กาเนิดลู กหลานชาวอะบอริจิ้นจะให้ความสาคัญต่อสถานที่ในการถือกาเนิดไม่ว่าจะเป็น ภูเขา ต้นไม้ ใบหญ้า ล้วนแต่มี จิตวิญญาณแห่งบรรพบุรุษมาสิงสถิตอยู่โดยพวกเขาเหล่านั้นยังมีความเชื่อที่ว่าหาก ไปยังสถานที่ศักศิทธิ์เหล่านี้ จะทาให้เหล่าจิตวิญญาณในยุคแห่งความฝันมาสถิตในครรรภ์ของตน จนให้กาเนิดบุตรที่แข็งแรงและเมื่อพ วกเขาจะอาลาจากโลกใบนี้ไปแล้วชาวอะบอริจิ้น จ ะ ยั ง ค ง เ ชื่ อ ว่ า วิ ญ ญ า ณ ข อ ง พ ว ก เ ข า จ ะ เ ข้ า ไ ป หลอมรวมเป็นหนึ่งเดียวกับธรรมชาติและแผ่นดินอันศักดิ์สิทธิ์ของพวกเขาตลอดกาล บทที่ 3 เรื่องศาสนาของชาวไอนุและชาวโคยุคอน ในส่วนนี้ผมจะกล่าวถึงเรื่องของชนเผ่าไอนุและชนเผ่าโคยุคอนโดยจะขอกล่าวในส่วนของชนเผ่าไอ นุก่อนโดยชนเผ่าโคยุคอนจะเป็นชนเผ่าพื้นเมืองของประเทศญี่ปุ่นโดยจะอยู่ตอนเหนือในป่าของเกาะฮอกไก โด พ ว ก เข า จ ะ มี ค ว า ม เชื่ อ ใน เรื่ อ ง ข อ ง เท พ เจ้ า โด ย พ ว ก เข า รีย ก ว่ า “ค า มู อิ ” แม้ว่าคามูอิจะไม่ใช่มนุษย์แต่พวกก็มีชีวิตในโลกของเทพพระเจ้าอย่างสมบูรณ์ทุกประการโดยปกติแล้วมนุษ ย์จะมองไม่เห็นคามูอิแต่พวกเขาจะมาอยู่กับมนุษย์บ้างเป็นครั้งคราวพวกชาวชนเผ่าไอนุยังมีความเชื่อในเรื่อ งมนุษย์กับสัตว์พวกเขาคิดว่ามนุษย์กับสัตว์ล้วนแต่เป็นสิ่งที่ต้องพึ่งพาอาศัยกันเพื่อความอยู่รอดร่วมกันในธ รรมชาติ แล้วต่อมาก็จะเป็น ของ ชาวโคยุคอนมีทัศนะต่อสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติที่เรียกว่า มีความเป็นบุคคล มีความรู้สึก มีสานึก การไม่เคารพโดยการ เมิน เฉย การแสดง ออกทาง พฤติกรรมที่ แส ด ง อ อ ก ม า มัก จะน าม าสู่ค วาม โช ค ร้าย ส าห รับ ช าวโค ยุค อ น ธรรม ช าติ แล ะ สิ่งแวดล้อมนั้นตระหนักถึงพฤติกรรม และ แรงจูงใจของมนุษย์ สาหรับชนเผ่าโคยุคอน ร ะ บ บ จ ริย ธ ร ร ม เป็ น พื้ น ฐ า น ข อ ง พ ฤ ติ ก ร ร ม แ ล ะ ท่ า ที ข อ ง เข า ต่ อ ธ ร ร ม ช า ติ เป็นระบบจริยธรรมซึ่งแสดงเรื่องเล่าเกี่ยวกับยุคอันไกลโพ้นสาหรับชาวโคยุคอนแล้วการดารงชีวิตอย่างของ
  • 8. มนุษย์อย่างที่ควรเป็นจะเป็นการเคารพต่อสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นและรวมไปถึงธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรอบตัวเร า บทที่ 4 ศาสนาชาวอเมริกันพื้นเมือง การล่าสัตว์ถือเป็นอาชีวะอันศักดิ์สิทธ์ ชาวอเมริกันพื้นเมืองเชื่อกันว่าการล่าสัตว์นั้นเป็นพิธีอันศักดิ์สิทธ์ พวกเขามองว่า สัตว์เองก็มีชีวิตและจิตใจ จึงควรปฏิบัติต่อพวกมันอย่างสุภาพ ก่อนการล่าสัตว์จะต้องมีการทาพิธีกรรม เช่น ชาวควาคิอูเติ้ล จะต้องมีการอ้อนวอน นอบน้อม และบอกกล่าวสัตว์ที่เป็นเหยื่อ เป็นต้น นอกจากนี้หลังจากการล่าพวกเขาก็ยังมีการสวดมนต์เพื่อขอขมาสัตว์ที่ตายอีกด้วย สัมพันธไมตรีกับสัตว์ ใ น วั ฒ น ธ ร ร ม ก า ร ล่ า ใ น อ เ ม ริ ก า เ ห นื อ ห ล า ย ๆ วั ฒ น ธ ร ร ม การบ่มเพาะสัมพันธไมตรีกับสัตว์ถือเป็นแก่นความคิดที่เชื่อมโยงและเสริมแก่นความคิดที่เชื่อมโยงและเสริม แก่นความคิดที่เชื่อมโยงและเสริมแก่นความคิดหลักที่ว่าการล่าสัตว์ถือเป็นอาชีวะอันศักดิ์ เช่น ในกระบวนการแสวงหานิมิต ซึ่งเป็นพิธีกรรมเพื่อการก้าวเข้าสู่วัยหนุ่มสาวหรือพิธีการรับเข้ากลุ่ม การที่จะได้เป็ นผู้ใหญ่ เต็มตัวหรือการถูกยอมรับ ต้องได้รับวิญ ญ าณ ของผู้พิทักษ์ก่อน การทาเช่นนี้ถือเป็นการขยายทัศนะหรือความเข้าใจไปสู่เขตแดนของสัตว์ ความสัมพันธ์กับแผ่นดิน ใ น ศ า ส น า ข อ ง ช า ว อ เ ม ริ ก า เ ห นื อ จ า น ว น ม า ก แก่นความคิดเรื่องความสัมพันธ์กับสัตว์ได้ขยายขอบเขตออกไปยังทุกแง่มุมของโลกธรรมชาติ เมื่อจาเป็นจะต้องใช้สิ่งของจากธรรมชาติ จะต้องมีพีธีการเช่นเดียวกับการล่าสัตว์ และในทุกๆ ขั้นตอนของการปลูกพืชจะต้องมีการทาพิธีกรรม ซึ่งพืชพวกนี้จะถูกเรียกว่าเป็นพืชศักดิ์สิทธิ์ บทที่ 5 ศาสนาฮินดู ศาสนาฮินดูถูกมองว่าเป็นพวกปฏิเสธโลก แต่จริงๆแล้วแนวโน้มการปฏิเสธโลกของศาสนาฮินดูคือ มายา และ ปรากฤติ มายาจะสอนให้มองทุกสิ่งบนโลกเป็นภาพลวงตา (จิตนิยม) อคติต่อโลก ส่วน ปรากฤติ
  • 9. คือ ก ารม อ งธ รรม ช าติ เป็ น เป็ น ศู น ย์ก ล าง แ ล ะว่ าร้าย โล ก ท างวัต ถุ (ส ส ารนิ ย ม ) ซึ่งจริงๆแล้วศาสนาฮินดูยังมีส่วนที่เป็นส่วนบวกอยู่มากมาย การบูชาพลังและวัตถุในธรรมชาติเป็นเทพเจ้า ใ น ศ า ส น า ฮิ น ดู มี ค ว า ม เ ชื่ อ ที่ ว่ า โล ก ธ รรม ช าติ นั้น แ ท รก ซึ ม ไป ด้ ว ย พ ลังอ าน าจ ที่ พึ งได้ รับ ค ว าม เค ารพ ย าเก รง และสิ่งที่พลังนั้นสาแดงออกมาจะเรียกว่าปรากฏการทางธรรมชาติ จักรวาล/โลกที่มีชีวิต ศาสนาฮินดูถือว่าความจริงหรือจักรวาลนั้นเป็นสิ่งมีชีวิต โลกสร้างมาจา ก ปุรุษะ ซึ่งเป็นสิ่งมีชีวิตที่เหมือนกับมนุษย์แต่ใหญ่กว่า เท้าของเขาจะเป็นพื้นโลก ลาตัวจะเป็นท้องฟ้ า ศรีษะคือสวรรค์ ตาคือพระอาทิตย์ ใจเป็นพระจันทร์ ปากเป็นพระอินทร์และเทพอัคนี ลมหายใจคือลม น อ ก จาก นี้ ยังมี หิรัญ -ค รรภ (ไข่ สีท อ ง) ซึ่ งก่ อ ก าเนิ ด เป็ น จัก รว าล เมื่ อ ฟัก เป็ น ตัว เป ลือ ก ไข่ ส่ ว น บ น จ ะเป็ น ส ว รรค์ ส่ ว น ล่ างเป็ น พิ ภ พ ระห ว่ างก ล างเป็ น ท้ อ งฟ้ า ในเขตระหว่างกลางนี้เนื้อเยื่อด้านนอกจะเป็นภูเขา ด้านในเป็นหมอก เส้นเลือดในไข่เป็ นแม่น้า น้าในใข่คือน้าและมหาสมุทร เป็นต้น ภูมิประเทศอันศักดิ์สิทธิ์: อินเดียที่เป็นเทวะสถาน ชาวฮินดูเชื่อว่าภูมิประเทศของเขามีชีวิต ปฐวี คือโลก ภารตะ-มา เป็นแผ่นดินอินเดีย สตี คือภูมิประเทศอินเดีย ติรถา สถานที่บนฝั่งแม่น้าและจุดข้ามแม่น้า เป็นต้น บทที่ 6 ศาสนาจีน นิเวศกับศาสนาจีน ที่เด่นชัดจะมีการเปลี่ยนแปลงอันประสานสอดคล้อง(หยิน-หยาง) จะบอกธรรมชาติเป็นลักษณะสองขั้ว ที่สุดโต่ง หยางจะเป็นสีขาว และหยินจะเป็นสีดาแสดงถึงสิ่งไม่ดี มองตามธรรมชาติได้แก่ ความดี-ความชั่ว ความสว่าง-ความมืด มีการเปลี่ยนแปลงอย่างกลมกลืน ศาสนาจีนยังมองความต่อเนื่อง ว่าสรรพสิ่งสรรพชีวิต ต้องสัมพันธ์อาศัยซึ่งกันและกัน มองความเป็นองค์รวม จักรวาลมิใช่ส่วนหนึ่งของสิ่งอื่นใด โลกก็ไม่ใช่ถูกสร้างขึ้นมาโดยสิ่งใด และฮวงจุ้ย คือศาสตร์แห่งการเข้าใจจิตวิญ ญ าณ ของภูมิประเทศแบบจีน ฮวงจุ้ยแปลว่า ลมและน้ า โดยจะมองว่าบ้านหรือสุสานปลูกสร้างเหมาะสมจะนามาซึ่งความรุ่งเรืองโชคดี จึงมีฮวงจุ้ย
  • 10. มาช่วยในการเลือกภูมิประเทศ ในการจัดว่างบ้านเรือนของเรา โดยจะมองทิศทางน้า และลม ให้เกิดความสัมพันธ์สูงสุด เพราะทาเลที่ดีนั้นสาคัญที่สุด บทที่ 7 ศาสนาพุทธ ศาสนาพุทธกับแนวคิดนิเวศ ที่เด่นชัดคือ อหิงสา หรือการไม่ใช้ความรุนแรงต่อผู้อื่น หรือการไม่ทาร้ายผู้อื่น ในหลักศาสนาพุทธจะมองว่าความทุกข์เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ความทุกข์เกิดจากความไม่รู้ เราจึงต้องฝึ กตนเพื่ อตรัสรู้จะได้แก้ไข หาวิธีดับทุกข์ได้ ศาสนาพุทธมองในเรื่องการมีชัยเหนือตนเอง คือการทาลายปรารถนาตนเอง ไม่ควรอยากมีอยากได้ หลงในกิเลศ ให้เคารพ รักในตัวเอง ศาสนาพุ ทธเป็ นศาสนาที่ทวนกระแสวัฒ นาธรรม ในช่วงแรกๆของศาสนาพุทธ พระสงฆ์ทั้งหมดจะได้รับแต่อาหารเหลือของผู้อื่นมาเป็นอาหารของตน สวมใส่ได้แต่เฉพาะเศษผ้าทิ้งแล้วของคนอื่น พระสงฆ์จะจาริกจากบ้านหนึ่งไปอีกบ้านหนึ่ง เราจะเห็นว่าการปฏิบัติเช่นนี้ของชุมชน เป็นตัวอย่างการหมุนเวียนนาของกลับมาใช้ (Recycle) ในแบบโบราณ ซึ่งสามารถช่วยปกป้องสิ่งแวดล้อม ชาวพุทธยุคแรกมุ่งปรารถนาจะต่ออายุสิ่งแวดล้อม โดยการเปลี่ยนแปลงสังคมกระแสหลักที่สร้างความสิ้นเปลืองสูญเปล่า บทที่ 8 ศาสนาคริสต์ที่เป็นภัยเชิงนิเวศ การครอบครองธรรมชาติและการถือเอามนุษย์เป็นศูนย์กลางในศาสนาคริสต์ โดยบทนี้จะเกี่ยวกับนิเวศวิทยาและการครอบครองธรรมชาติของมนุษย์ในแง่มุมของศาสนาคริสต์ ในมุมมองนี้ พระคัมภีร์ไบเบิลและศาสนาต่างๆ ที่อ้างอิงพระคัมภีร์นี้ มีทัศนะต่อโลกอย่างต่อต้านธรรมชาติ เป็ น ทัศ น ะต่ อ โล ก ที่ อ้างว่ ามีเท พ เจ้าผู้ อ ยู่ เห นื อ ทุ ก สิ่งทุ ก อ ย่ าง ผู้ ส ร้างโล ก ขึ้น ม า แต่ไม่ได้เอาพระองค์เป็นจุดศูนย์กลางอยู่บนโลกเพื่อให้เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์หรือเป็นที่สักการะบูชา ผู้ วิ จ า ร ณ์ แ น ว คิ ด นี้ ม อ ง ว่ า ก า ร ต่ อ ต้ า น ก า ร บู ช า เท พ เจ้ า ใน พ ร ะ คั ม ภี ร์ไ บ เบิ ล
  • 11. คือการต่อต้านการบูชาธรรมชาติโดยสาวกแห่งเทพตามพระคัมภีร์ไบเบิลองค์ใหม่ ผู้อยู่เหนือธรรมชาติ แ ล ะ ไ ม่ ค ว ร น า ม า ป ะ ป น กั น ค า วิ จ า ร ณ์ ก ล่ า ว ว่ า เพ ร า ะ อ ค ติ ข อ ง พ ร ะ คั ม ภี ร์ ไ บ เบิ ล ภ า ค พั น ธ สั ญ ญ า เดิ ม ต่ อ ธ ร ร ม ช า ติ นี้ ศ าส น าค ริส ต์ จึงโน้ ม เอีย งไป สู่ ทัศ น ะต่ อ ธรรม ช าติแ บ บ ที่ ไม่ เห็ น ถึงค วาม ศัก ดิ์สิท ธิ์ อันเป็นพื้นฐานสาหรับการจัดการและควบคุมธรรมชาติในทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 9 ศาสนาคริสต์ที่รับผิดชอบเชิงนิเวศ ปัญหาเกี่ยวกับสมมติฐานว่าด้วยการเป็นนายเหนือ ก า ร ท า ใ ห้ ธ ร ร ม ช า ติ ค ล า ย ค ว า ม ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ผู้ที่เสนอสมมติฐานว่าด้วยการเป็นนายเหนือให้เหตุผลว่าการที่พระคัมภีร์ไบเบิลไม่ทาให้ธรรมชาติเป็นสิ่งศัก ดิ์ สิ ท ธิ์ ท า ใ ห้ เ กิ ด ก า ร ข า ด ค ว า ม ย า เ ก ร ง ต่ อ ธ ร ร ม ช า ติ โลกธรรมชาติอาจจะไม่ศักดิ์สิทธิ์หรือเป็นเทพในพระคัมภีร์ไบเบิล แต่ว่ามันไม่ตาย ไร้ชีวิต หรืออยู่นอกขอบเขตทางศีลธรรมแห่งพระเจ้ามันอาจจะถูกละเมิดคุกคามและถูกทาให้มัวหมองโดยมนุษย์ ก า ร ค ร อ บ ค ร อ ง ธ ร ร ม ช า ติ ผู้เสนอสมมติฐานว่าด้วยการเป็นนายเหนือให้ความสาคัญกับแนวคิดเกี่ยวกับการที่มนุษย์เข้าไปครอบครองธ รรมชาติในพระคัมภีร์ไบเบิล ปัญหาของแนวคิดก็คล้ายกับประเด็นการไม่ทาให้ศักดิ์สิทธิ์ด้วยเช่นกัน การครอบครองธรรมชาติเป็ นแก่นความคิดที่พ บง่ายในลัทธิศาสนานอกศาสนาคริสต์ และมีหลักฐานจานวนมากกว่าอารยธรรมเหล่านั้นดาเนินกิจกรรมเพื่อพยายามจะเป็นนายเหนือธรรมชาติอย่ างแข็งขัน ถึงแม้ว่าโลกจะต้องเผชิญกับผลสืบเนื่องทางลบที่เกิดจากการตกต่าของมวลมนุษย์ก็ตาม พ ร ะ คั ม ภี ร์ ไ บ เ บิ ล ก็ ยั ง มี ก า ร ชื่ อ ช ม ค ว า ม เ ม ต ต า ข อ ง โ ล ก อ ยู่ ถึงแม้ว่าจะมีตัวอย่างนักคิดชาวคริสต์ยุคหลังพระคัมภีร์ไบเบิลหลายคนที่มองจิตและวัตถุว่าเป็นทวิภาค ม อ ง วั ต ถุ แ ล ะ ก า ย ว่ า เ ป็ น ก า ร ส า แ ด ง ข อ ง เ ท พ ที่ ต่ า ก ว่ า จิ ต วิ ญ ญ า ณ บางวิธีที่ดีที่สุดในการแสดงข้อเท็จจริงที่ว่าจารีตทางศาสนาคริสต์ไม่ได้รับเอาท่าทีที่เป็นลบต่อธรรมชาติมาอ ย่ า ง เ ป็ น ไ ป ใ น ท า ง เ ดี ย ว กั น ต ล อ ด แ ล ะ อ ย่ า ง เ ป็ น เ อ ก ฉั น ท์ ก็คือการยกตัวอย่างนักคิดบางคนที่สรรเสริญธรรมชาติว่าเป็นส่วนหนึ่งของการรังสรรค์ของพระเจ้าอันเป็นสิ่ง ดีงาม บทที่ 10 ธรรมชาติเสื่อมมนต์ขลัง ทัศนะสมัยใหม่ว่าด้วยธรรมชาติ
  • 12. ว่าด้วยเรื่องธรรมชาติเสื่อมมนต์ขลังนั้น มีแนวโน้มว่าในยุคสมัยใหม่นี้พวกเรากาลังมองว่าธรรมชาติ ไม่มีมนต์ขลังหรือได้เสื่อมคลายลงแล้ว เป็นการยืนยันว่ามนุษย์เป็นนายเหนือทุกสิ่งในธรรมชาติโดยสมบูรณ์ เราสามารถย้อนกลับไปดูได้โดยมีมาตั้งแต่ ในคัมภีร์ไบเบิ้ลและจารีตธรรมเนียมในศาสนาคริสต์ ในหนังสือ เล่มนี้จะกล่าวว่า ความเหนือกว่าและความสูงส่งกว่าตามธรรมชาติของมนุษย์นั้นเป็นอย่างไร ธรรมชาติเสื่อม มนต์ขลังได้อย่างไร การเสาะหาความรู้และการครอบครองธรรมชาติเกิดขึ้นได้อย่างไร อันตาภาวะ (Infinity)คืออะไร ความก้าวหน้าของมนุษย์ ธรรมชาติคือขุมทรัพย์ ชาร์ลส์ ดาร์วินกับการดิ้นรนเพื่อการอยู่ รอดของมนุษย์ และเรื่องเทคโนโลยีและฉนวนป้องกัน การอนุมานว่าโลกทัศน์สมัยใหม่ที่เราได้กล่าวในบทนี้ได้รับแรงบัลดาลใจและพึ่งทัศนะต่อความจริง แบบพระคัมภีร์ไบเบิลหรือศาสนาคริสต์เป็นสิ่งผิดอย่างไม่ต้องสงสัย ทัศนะที่เราได้รับมานี้มีหลากหลายแลใน ตอนแรกก็ถูกต่อต้านจากสถาบันศาสนาคริสต์ อย่างไรก็ดี เป็นที่ชัดเจนเช่นกันว่าในที่สุดแล้วศาสนาคริสต์ แบบที่นับถือกันทั่วไปก็ได้รับเอาโลกทัศน์แบบสมัยใหม่ อันที่จริงคนจานวนมากในทุกวันนี้ร้องทุกข์ว่า วิกฤติการณ์ด้านนิเวศที่กาลังเกิดขึ้นอยู่ตอนนี้ เกิดขึ้นเพราะศาสนาที่ปึกแผ่นแล้วหนุนหลังอยู่ และยอมรับ การเอาชนะธรรมชาติด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นักวิจารณ์กล่าวว่า แม้ศาสนาคริสต์มิได้นามาซึ่ง ทัศนะต่อธรรมชาติแบบสมัยใหม่ก็ตามที แต่มันก็ได้กระทาการน้อยนิดจริงๆที่จะท้าทายวิธีคิดเช่นนี้ จนถึง เมื่อไม่นานนี้นี่เอง บทที่ 11 จิตวิญญาณเชิงนิเวศ ในความคิดของธอโร มูร์ และ ลีโอโปลด์ ศ า ส น า ค ริส ต์ ที่ ย อ ม รับ กั น อ ย่ า ง เป็ น ท า ง ก า ร ใ น ยุ ค นั้ น ไ ด้ ส นั บ ส นุ น ห รื อ นิ่ ง เ ฉ ย ต่ อ ก า ร ค ว บ คุ ม ธ ร ร ม ช า ติ อ ยู่ เ ป็ น อั น ม า ก และนักวิทยาศาสตร์หลายคนได้ดึงเอาสิ่งที่พวกเขาเข้าใจว่าเป็นคาสอนและแก่นความคิดของศาสนาคริสต์แ ละพระคัมภีร์ไบเบิลมาสนับสนุนความพยายามของพวกเขา สาหรับนักเทววิทยา และนักวิทยาศาสตร์หลายต่อหลายคนในยุคนั้น ความพยายามจะควบคุธรรมชาติเพื่อประโยชน์ของมนุษย์ ถือกันว่าเป็นประกาศิตอันศักดิ์สิทธิ์เป็นการทาให้เป้าประสงค์ของพระเจ้าต่อเผ่าพันุ์มนุษย์นั้นสมบูรณ์ แน่นอนว่าย่อมมีเสียงคัดค้านกระแสเช่นนี้ในเช่นชาติตะวันตกที่ชัดเจนและน่าเชื่อถือ และในบท ต่อไปนี้เราจะศึกษานักคิดสามคน นั่นคือ เฮนรี เดวิด ธอโร (Henry David Thoreau) จอห์น มูร์ (John Muir) และอัลโด ลีโอโปลด์ (Aldo Leopold) ผู้คนทีเกี่ยวข้องในประเด็นจิตวิญญาณเชิงนิเวศร่วมสมัยหลายคนถือ ว่าบุคคลทั้งสามเป็นนักบุญด้านนิเวศวิทยา และเป็นแรงบันดาลใจแก่ความคิดในทางนิเวศวิทยาร่วมสมัย หลายด้าน บทที่ 12 เทววิทยาเชิงนิเวศร่วมสมัย
  • 13. มุมมองของ: เวสลีย์ แกรนเบิร์ก-ไมเคิลสัน ความบาปต่อการรังสรรค์ เ ข า ม อ ง ว่ า ม นุ ษ ย์ ไ ด้ เ อ า ตั ว เ อ ง เ ข้ า ไ ป แ ท น ที่ พ ร ะ เ จ้ า และความพ ยายามของมนุ ษย์ที่จะครอบครองโลกธรรมชาติ ก็ได้นาอันตรายมาสู่โลก ม นุ ษ ย์ ไ ด้ คิ ด จ ะ เ อ า ต า แ ห น่ ง ก า ร เ ป็ น น า ย เ ห นื อ ธ ร ร ม ช า ติ ที่มีความสามารถและมีชะตากรรมที่จะต้องจัดการธรรมชาติเพื่อตอบสนองต่อความต้องการและวัตถุประสงค์ ข อ ง ม นุ ษ ย์ ใ น ก ร ะ บ ว น ก า ร เ ช่ น นี้ ธรรมชาติได้กลายเป็ น ที่รองรับ ท รัพ ยากรอัน เฉื่ อยชาที่มนุ ษ ย์จะสามารถ ใช้สร้างที่ ที่ แ ส น ส บ า ย เ พื่ อ ป ก ป้ อ ง ต น เ อ ง จ า ก อั น ต ร า ย และตั้งแต่ที่การเติบโตของเทคโนโลยีอุตสาหกรรมศาสนาคริสต์โดยส่วนใหญ่แล้วหมายถึงการเอาชนะธรรม ชาติและการสร้างอารยธรรมที่ซับซ้อนที่เป็นเชิงอุตสาหกรรม มีเทคโนโลยีอย่ างซับซ้อน ก ร ะ บ ว น ก า ร นี้ เ รี ย ก ว่ า “ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า ” แ ล ะ ช า ว ค ริ ส ต์ จ า น ว น ม า ก มันคือสิ่งเดียวกันกับการบรรลุวัตถุประสงค์ของพระเจ้าบนโลก สาหรับ แกรนเบิร์กปัญหาสิ่งแวดล้อม ภ า ร กิ จ เ ฉ พ า ะ ห น้ า ที่ ส า คั ญ ที่ สุ ด คื อ การนาความคิดในพระคัมภีร์ไบเบิลและศาสนาคริสต์ที่มองโลกในฐานะการสร้างของพระเจ้ากลับมาใหม่ แทนที่ทัศนะต่อธรรมชาติอย่างโลกย์ๆที่ห่อหุ้มด้วยภาพว่าเป็ นแนวคิดทางจิตวิญ ญ าณ ในโลกทัศน์เชิงจิตวิทยาและไม่อาจถือว่าเหนือกว่าหรอแยกออกจากธรรมชาติได้ ในความเห็นของ เวสลีย์ แกรนเบิร์ก-ไมเคิลสัน “มนุษย์ถือกาเนิดจากโลก ไม่ได้ถูกส่งลงมาจากสวรรค์ เราเห็นสิ่งสร้างจากธรรมชาติ ไม่ใช่เจ้านายของธรรมชาติ” มุมมองของ: แมทธิว ฟอกซ์ และพระคริสต์แห่งสากลจักรวาล ข้อวิพากษ์หลักๆของฟอกซ์ต่อการขาดความสานึกเชิงนิเวศของศาสนาคริสต์ร่วมสมัยเกี่ยวกับแง่มุม ทางจิตวิญญาณแบบศาสนาคริสต์มีสามประการคือ - ความโน้มเอียงไปสู่การบ่มเพาะความรอดส่วนบุคคล - ความโน้มเอียงของระบบคริสตจักรที่จะบ่มเพาะการครอบงาตามลาดับขั้นอานาจ - ความโน้มเอียงที่จะไม่สนับสนุนสานึกแบบรหัสนัย เนื่องจากคริสตจักรและชาวคริสต์ส่วนมากไม่ได้ตระหนักในวิกฤติการณ์ด้านนิเวศและวิกฤติการณ์ศรัทธาที่มั น ไ ด้ ห นุ น อ ยู่
  • 14. และเนื่องจากคริสตจักรยังคงยืนยันอย่างดื้อดึงถึงเทววิทยาตกยุคที่เต็มไปด้วยภาพลักษณ์และสัญลักษณ์ล้า สมัย ดังนั้นเทววิทยาแบบใหม่จึงจาเป็นที่จะต้องเกี่ยวข้องกับสิ่งที่ฟอกซ์เรียกว่า “การเปลี่ยนกระบวนทัศน์” การเปลี่ยนดังกล่าวคือ การเปลี่ยนไปสู่การยืนยันซ้าในสิ่งที่เรียกว่า พระคริสต์แห่งสากลจักรวาลนั่นคือ ทัศนคติทางเทววิทยาที่มีหลักสาคัญ ที่ภาพ ของพ ระคริสต์ ในความคิดของฟ อกซ์นั้น พ ร ะ ค ริ ส ต์ แ ห่ ง ส า ก ล จั ก ร ว า ล เ ช่ น นี้ ไ ม่ ใ ช่ สิ่ ง ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ ใ ห ม่ แต่เป็นภาพของสิ่งศักดิ์สิทธิ๋ที่พบได้ในพระคัมภีร์ไบเบิลแต่ก็ได้ถูกละเลยและเลือนลางไปตามยุคสมัยที่เปลี่ย นไป มุมมองของ: โทมัส เบอร์รี วิวรณ์ครั้งใหม่ จารีตประเพณีทางศาสนาในตะวันตกแบบดั้งเดิมไม่ได้ปรับให้เข้ากับทัศนะต่อความจริงแบบวิทยาศ าส ต ร์ส มัย ให ม่ อ ย่ างได้ ผ ล สิ่งที่ ม นุ ษ ย์รู้ใน ข ณ ะนี้ เกี่ ย ว กับ ลัก ษ ณ ะข อ งจัก รว าล ไม่สอดคล้องกับสิ่งที่ศาสนาตะวันตกแบบดั้งเดิมบอกเกี่ยวกับธรรมชาติและตาแหน่งที่ของมนุษย์ในแบบแผ น ที่ สิ่ ง ต่ า ง ๆ ใ น จั ก ร ว า ล เมื่อคิดถึงปัญหารุนแรงที่เกิดขึ้นในช่วงสามร้อยปีที่ผ่านมาจากความสาเร็จทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอั น ยิ่ ง ใ ห ญ่ ข อ ง อ า ร ย ธ ร ร ม ต ะ วั น ต ก เ บ อ ร์ รี ก ล่ า ว ว่ า “มีความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีทัศนะแบบใหม่ที่ทั้งเรียกร้องศักด์ศรีของมนุษย์ในฐานะสิ่งสร้างโลกและสะก ดข่มแนวโน้มของมนุษย์ที่จะปล้นสะดมโลก มุ ม ม อ ง ข อ ง : แ ซ ล ลี แ ม ค เ ฟ ก โ ล ก อั น เ ป็ น ก า ย ข อ ง พ ร ะ เ จ้ า ความคิดหลักในเทววิทยาของแมคเฟกอีกประการหนึ่งที่อาจสร้างความขุ่นเคืองในบริบทศาสนาคริส ต์แบบดั้งเดิมก็คือการระบุอัตลักษณ์ของพระเจ้าว่าเป็นแม่ คือการตอกย้าความคิดที่ว่าโลกคือกายขอพระเจ้า ในเทววิทยาของแมคเฟกมองโลกที่เป็นกายของพระเจ้าว่าเป็นอู่ เป็นมดลูก ซึ่งทุกอย่างถือกาเนิดขึ้น เป็ น แ ผ่ น ดิน ที่ เลี้ย งทุ ก ชีวิต ซึ่ งห าก ข าด ไป แ ล้ว ชีวิต ก็ ไม่ ส าม ารถ อ ยู่ ต่ อ ไป ได้ อีก ภ า พ ลั ก ษ ณ์ ข อ ง พ ร ะ เ จ้ า ที่ เ ป็ น แ ม่ แ ล ะ โ ล ก คื อ ก า ย ข อ ง แ ม่ ได้ทาลายจารีตธรรมเนียมของความคิดแบบศาสนาคริสต์ที่ว่าพระเจ้าเป็นชายผู้ห่างเหินจากโลก และภาพลักษณ์นี้ได้ลดทอนการจัดลาดับชั้นในความคิดแบบศาสนาคริสต์ลงให้เหลือน้อย ในฐานะที่เป็นแม่ พระเจ้าพร้อมเสมอเพื่อบุตรของนาง ผู้ซึ่งนางจะหล่อเลี้ยงบารุงอยู่ทุกวันด้วยธาตุจากกายของนาง บทที่13 สิทธิสัตว์และจริยธรรมด้านนิเวศวิทยา
  • 15. แนวคิดของ: เฮนรี เอส. ซอลต์ ส า ห รั บ ซ อ ล ต์ วิวัฒนาการทางจริยธรรมของเผ่าพันธุ์มนุษย์ในที่สุดแล้วจะนามาซึ่งความตระหนักว่าสัตว์ก็สมควรได้ได้รับสิ ท ธิ์ พื้ น ฐ า น เ ช่ น กั น เ ฮ น รี ไ ด้ ก ล่ า ว ไ ว้ ดั ง นี้ “การปลดเปลื้องมนุษย์ออกจากความทารุณและความอยุติธรรมจะนามาซึ่งการปลกเปลื้องสัตว์เช่นกันในไม่ช้ า ก า ร ป ฏิ รู ป ทั้ ง ส อ ง ป ร ะ ก า ร เชื่ อ ม โ ย ง กั น อ ย่ า ง ไ ม่ อ า จ แ ย ก จ า ก กั น ไ ด้ แ ล ะ ไ ม่ มี ป ร ะ ก า ร ใ ด ที่ ส า ม า ร ถ เ ป็ น จ ริ ง อ ย่ า ง ส ม บู ร ณ์ ไ ด้ อ ย่ า ง โ ด ด ๆ ” เพี ย งเพื่ อ ม นุ ษ ย์ ป ระส บ ค ว าม ส าเร็จ ใน ก ารบ รรลุ ถึ งม นุ ษ ย ธ รรม อ ย่ างส ม บู รณ์ เมื่อนั้นขอบเขตทางจริยธรรมของพวกเขาจะเหยียดออกจนรวมเอาความตระหนักถึงความจาเป็นที่ต้องมีสิท ธิสัตว์ โดยการปฏิเสธที่จะยอมรับสิทธิสัตว์ก็คือการที่ยังคงมีความเป็นมนุษย์น้อยอยู่ คาอธิบายที่พบทั่วไปและมีประสิทธิภาพมากที่สุดที่เสนอโดยนักสนับสนุนสิทธิสัตว์เพื่อต้านกับเผ่าพั น ธุ์ นิ ย ม เกี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ข้ อ เ ท็ จ จ ริ ง ว่ า ม นุ ษ ย์ โ ด ย พื้ น ฐ า น แ ล้ ว ก็ คื อ สั ต ว์ แ ล ะด้ ว ย เห ตุ ผ ล นี้ จึงมีส่ ว น ที่ ร่ว ม กัน กับ เผ่ า พั น ธุ์อื่ น อีก ใน ก ารก ล่ าว ถึ งสิท ธิ สัต ว์ สั ต ว์ ก็ มี จิ ต ใ จ มี ค ว า ม เ จ็ บ ป ว ด มั น ส า ม า ร ถ ทุ ก ข์ ดั ง นั้ น เ ร า จึ ง ต้ อ ง ย อ ม ว่ า มั น มี ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ เ ห ล่ า นี้ อ า จ ถู ก ล ะ เ มิ ด ไ ด้ เราก็ควรจะขยายสิทธิให้กับสิ่งที่มีความรู้สึกที่ไม่ใช่มนุษย์ด้วย เราจึงควรยอมรับว่าสัตว์มีสิทธิอย่างที่มนุษย์มี บทที่ 14 นิเวศวิทยาแนวลึก จากการเอามนุษย์เป็นศูนย์กลาง สู่การเอาชีวิตเป็นศูนย์กลาง โ ด ย บ ท นี้ ก ล่ า ว ห ลั ก จ ะ เ กี่ ย ว กั บ นิ เ ว ศ วิ ท ย า แ น ว ลึ ก ซึ่งเป็นมุมมองทางปรัชญาหรือจริยธรรมที่อ้างว่าสร้างจุดยืนของอยู่บนรากฐานของความรู้หรือปัญญาหรือจริ ย ธ รรม ท างนิ เว ศ วิท ย าที่ เพิ่ งได้ รับ ก ารรับ เมื่ อ ไม่ น าน นี้ จ าก วิช าวิท ย า ศ าส ต ร์ เป็ น เรื่อ งเกี่ ย ว กั บ ทั ศ น ะที่ ให้ ค ว าม ส าคัญ กั บ ค ว าม เชื่ อ ม สัม พั น ธ์ต่ อ กั น แ ล ะกั น และคุณลักษณะที่สัมพันธ์กันของโลก โดยประการแรกคือ เคารพสิทธิของสิ่งมีชีวิตทั้งปวง นิ เว ศ วิท ย าแ น วลึก มีค วาม ใก ล้ชิด ม าก กับ แ น วคิด เรื่อ งสัต ว์ ว่าด้วย สิท ธิข อ งสัต ว์ ไ ม่ ไ ด้ มี เ พี ย ง แ ค่ เ ผ่ า พั น ธุ์ ม นุ ษ ย์ เ ผ่ า เ ดี ย ว เ ท่ า นั้ น ป ร ะ ก า ร ที่ ส อ ง คื อ เคารพความเป็นบูรณาการณ์ขององค์ประกอบในโลกธรรมชาติที่ไร้ชีวิต เช่น แม่น้า และภูเขา โดยมีความสนใจเป็นพิเศษในสิทธิของโลกที่ไม่ใช่มนุษย์ ที่จะอิสระจากการแทรกแซงของมนุษย์มากเกินไป
  • 16. และประการสุดท้าย ประการที่สามคือ การให้ความสาคัญ กับประการนี้เป็ นลาดับต้นๆ เกี่ยวกับระบบเหนือถิ่นอาศัยเป็นแห่งๆ นิเวศทุกระบบมีทั้งผู้ล่าและเหยื่อ และสิทธิของสิ่งใดๆ ที่จะมีชีวิตและแสดงหาความสุขต้องถูกผ่อนปรนลงด้วยความจาเป็นของระบบนิเวศเพื่อรักษาบูรณภาพของ ตนเอาไว้ นอกจากนี้ยังมีแนวคิดหลักการของการถือว่าเป็นหนึ่งเดียวกัน องค์รวมนั้นใหญ่กว่าองค์ประกอบ และสมมติฐานไกย่า โลกคือเทพี โดยเน้นความสาคัญและคุณค่าสูงสุดต่อระบบนิเวศโดยรวม และการยืนยันว่าโลกเป็นถิ่นอาศัยของสรรพสิ่งมีคุณค่าสูงสุด บทที่ 15 การเคลื่อนไหวด้านนิเวศ กรีนพีซ นักรบสายรุ้ง นิเวศวิทยาเป็นความสนใจสาคัญของนักคิดทางศาสนาและกลุ่มทางศาสนาหลายกลุ่มในอเมริกาเหนื อ มีผู้นาทางศาสนาจานวนมากซึ่งได้กลายเป็นรากฐานทัศนะของบางคน นิเวศวิทยาในฐานะที่เป็นศาสนา ก็ คื อ ก ลุ่ ม ก รี น พี ซ นั่ น เ อ ง โ ด ย ช่ ว ง แ ร ก ๆ ข อ ง ก า ร เ ค ลื่ อ น ไ ห ว คื อ การยึดหลักสันติภาพการรณรงค์ชิ้นแรกของกรีนพีซคือความพยายามหยุดการทดลองใต้ดินของสหรัฐอเมริก าที่เกาะอัมชิตกา แม้ว่าในทุกวันนี้กรีนพีซจะให้น้าหนักไปทางกรปกป้องสิ่งแวดล้อมมากขึ้น และลดการเคลื่อนไหวด้านสันติภาพลงไป โดยผลงานที่เด่นที่สุดในการเคลื่อนไหวของกลุ่มกรีนพีซ ได้แก่ ตานานแห่งนักรบสายรุ้ง ค้นพบเรื่องนี้ในหนังสือรวบรวมตานานของชาวอินเดียพื้นเมือง ตานานนี้เกี่ยวกับคาทานายของสตรีเผ่าครีชื่อว่า อายส์ ออฟ ไฟร์ หรือดวงตาแห่งไฟ เมื่อกว่า 200 ปีมาแล้ว โ ด น ร ะ บุ ว่ า นั ก ร บ จ ะ ส อ น ผู้ อื่ น ถึ ง วิ ธี ท า ง ที่ จ ะ รัก แ ล ะ เค า ร พ พ ร ะ แ ม่ ธ ร ณี ก ารป ก ป้ อ งพ ระแ ม่ ธ รณี เป็ น แ น ว คิ ด ที่ ก ล่ าว ถึ ง บ่ อ ย ๆ ใน ป รัช ญ า ข อ ง ก รีน พี ซ กรีนพีซได้หยิบเอาสื่งที่เคยเป็นแก่นความคิดสาคัญของชาวอินเดียพื้นเมืองมาอย่างมากทีเดียว เพื่อแสดงออกถึงความเข้าใจตันตนในทางรหัสยะหรือปรัชญานั่นเอง บทที่ 16 สตรีนิเวศนิยม: การขูดรีดประโยชน์จากธรรมชาติกับผู้หญิง เชื่อว่าผู้หญิงมีความแตกต่างจากผู้ชายและดีกว่าโดยธรรมชาติ และโดยเงื่อนไขทางชีวภาพ (เช่นการให้กาเนิดลูก) ทาให้ผู้หญิ งมีความเชื่อมโยงกับธรรมชาติ เชื่อมโยงกับโลก ป ฏิ เ ส ธ ค ว า ม เ ชื่ อ ที่ ว่ า ผู้ ห ญิ ง แ ล ะ ธ ร ร ม ช า ติ เ ป็ น ป ริ ม ณ ฑ ล ที่ ด้ อ ย และปฏิเสธความเชื่อว่าปริมณ ฑลของเหตุผลและวัฒนธรรมมีความเหนือกว่าธรรมชาติ
  • 17. ดังนั้ น จึงค ว รชื่ น ช ม ยิน ดี แ ล ะค ว รป ฏิ เส ธ เท ค โน โล ยีต่ า งๆ ที่ ท าล าย ธ รรม ช า ติ นาไปสู่การฟื้นฟูความรู้ความเชื่อพิธีกรรมโบราณที่ให้ความสาคัญกับการบูชาพระแมเจ้า พระจันทร์ สัตว์ต่างๆ รวมทั้งระบบการสืบพันธุ์ ของผู้หญิงแต่ถูกต่อต้านว่าเป็นการถอยหลังเข้าคลอง เหมือนเป็นการยอมรับระบบคิดแบบคู่ตรงข้ามของผู้ชาย เป็นการสืบเนื่องของการกดขี่ของผูชาย โดยการขูดรีดประโชยน์จากผู้หญิงโดยอาศัยประโยชน์จากธรรมชาติ โดยเน้นระบบชายเป็ นใหญ่ จ น ท า ให้ เกิ ด เป็ น น า ม ธ ร ร ม มี ลั ก ษ ณ ะ ทั่ว ไ ป ไ ม่ แ ส ด ง ใ ห้ เห็ น ก ล ไ ก ต่ า ง ๆ ท างสังค ม ที่ ท าให้ ระบ บ นี้ ด าเนิ น ไป แ ล ะแ ป รเป ลี่ ย น ไป อ ย่ างไรใน แ ต่ ล ะยุ ค ส มัย ม อ ง ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ เ ป็ น ห นึ่ ง เ ดี ย ว ก ารให้ ค ว าม ส าคัญ ใน เรื่อ งชีว ภ าพ แ ล ะเรื่อ งก ารสืบ พั น ธุ์ถู ก ม อ งว่ าไม่ รอ บ ด้ าน เพราะผู้หญิงไม่ได้ถูกกดขี่เพียงเรื่องนี้ ยังมีเรื่องเศรษฐกิจ การเมือง ประวัติศาสตร์ด้ วย ดังนั้นต้องพิจารณาเรื่อง การผลิต/บทบาททางการ ผลิตของผู้หญิง การสืบพันธ์กาเนิดลูก กามารมณ์และกฎเกณฑ์การควบคุมเรื่องกามารมณ์ และการขัดเกลาทาง สังคมประกอบไปด้วย ซึ่งถูกกล่าวไว้ว่า เมื่อสิ้นระบบชายเป็นใหญ่ ผู้หญิงจะเข้ามามีอิทธิพลแทน บทที่ 17 สี่นักวิสัยทัศน์ทางนิเวศ เป็นการรวมความคิดเห็นของนักวิสัยทัศน์ทางนิเวศทั้ง 4 คนที่มีอิทธิพลในปัจจุบัน ว่ามีความคิดเห็นต่อนิเวศต่างๆอย่างไรบ้าง ในอดีตและในปัจจุบันแตกต่างกันอย่างไร โดยแต่ละนักวิสัยทัศน์จะได้หัวข้อที่แตกต่างตามกันไป บอกถึงข้อดีข้อเสีย ประโยชน์ต่างๆ และสิ่งที่เราจะประยุกต์มาใช้ได้โดยตรงหรือทางอ้อม แสดงให้เห็นภาพได้ชัดเจนขึ้น สรุปความเชื่อมโยงระหว่างสาระสาคัญของหนังสือกับแนวคิดทางจริยศาสตร์ จากหนังสือเล่มนี้นั้นเราจะเห็นได้ว่าในหลายๆบทจะกล่าวถึงความสอดคล้องในของหลายศาสนาจะ มีความเชื่อมโยงในส่วนของธรรมชาติมาเป็นส่วนเกี่ยวข้องด้วยเสมอซึ่งทั้งหมดนี้แสดงให้เห็นถึงความเชื่อมโ ยงของธรรมชาติ และ ศาสนา ว่ามันจะเชื่อมโยงกับแนวคิดทางจริยศาสตร์ ในเรื่องของ ธรรมชาตินิยม เพราะ ว่าตามหลักของธรรมชาตินิยมแล้วจะยึดถือธรรมชาติ เท่านั้นคือสิ่งที่เป็นจริงนิรันดร์ มีพลังกระตุ้นในตัว จาก ตัว อย่างใน บทที่ 2 และ บทที่ 3 จะเห็นได้ว่า ชนเผ่า อะบอริจิ้น จ ะ มี ค ว า ม เ ชื่ อ ใ น เ รื่ อ ง ข อ ง ธ ร ร ม ช า ติ และจิตวิญญาณที่สอดแทรกอยู่ในธรรมชาติรอบตัวซึ่งเป็นไปตามหลักธรรมชาตินิยม หรือในส่วนของบทที่ 12 เทววิทยาเชิงนิเวศร่วมสมัยที่เป็นการชี้ให้เห็นถึงการดารงอยู่คู่กันของศาสนาและธรรมชาติ และยังมีบทที่
  • 18. 13 ที่ เ ป็ น เ รื่ อ ง ข อ ง สิ ท ธิ สั ต ว์ แ ล ะ จ ริ ย ธ ร ร ม ด้ า น นิ เ ว ศ วิ ท ย า เป็นหัวข้อที่ต้องการให้มีสิทธิสัตว์เพื่อคุ้มครองสัตว์ให้มีความเท่าเทียมพอๆกับมนุษย์ ส่วนในบทที่ 10 จะมีการว่าด้วยเรื่อง ธรรมชาติเสื่อมมนต์ขลัง ซึ่งจะแสดงให้เห็นถึงแนวคิดที่แตกแขนงมาอีกทางหนึ่ง ในทางที่มนุษย์นั้นคิดว่าตัวเองเหนือทุกสิ่ง ทาให้ธรรมชาติเสื่อมถอย ส่งผลต่อระบบนิเวศ ซึ่ ง มี ค ว า ม เชื่ อ ม โ ย ง ไ ป ใ น บ ท ที่ 11 ว่ า ด้ ว ย เรื่ อ ง จิ ต วิ ญ ญ า ณ เ ชิ ง นิ เ ว ศ ซึ่งในบทนี้จะบอกถึงการที่มนุษย์นั้นพยายามจะควบคุมธรรมชาติเพื่อประโยชน์ของมนุษย์ ในความเป็นจริงนั้น มนุษย์ต้องอาศัยธรรมชาติในการดารงชีวิตไม่ว่าจะเป็น อาหาร อากาศ น้า สิ่งพ วก นี้ ถ้ าม นุ ษ ย์ข าด ไป ก็จะไม่ ส าม ารถ ด ารงชีวิต อ ยู่ได้ ม นุ ษ ย์จึงต้ อ งมีล่ าสัต ว์ เ พื่ อ น า เ นื้ อ ข อ ง พ ว ก มั น ม า เ ป็ น อ า ห า ร ใน ห นั งสือ เล่ ม นี้ ก็ ได้มีก ารก ล่ าวถึงก ลุ่ ม ค น ที่ ม อ งเห็ น คุ ณ ค่ าข อ งชีวิต สัต ว์พ ว ก นี้ จึงมีการจัดพิธีกรรมทั้งก่อนและหลังฆ่า เพื่อเป็นการเคารพแก่สัตว์ที่ตายเพื่อให้มนุษย์ดารงชีวิตอยู่ได้ พืชเองก็เช่นกันพวกมันก็ถูกมองว่าเป็นสิ่งมีชีวิต และมีการทาพิธีกรรมหลังจากการเก็บเกี่ยว ส่วนนี้น่าจะเข้าข่ายมโนธรรมสัมบูรณ์ เนื่องจากผู้ล่ามีการรับรู้ว่าสิ่งที่ตัวเองล่ามีชีวิตจิตใจเหมือนกัน นอกจากนี้หนังสือเล่มนี้ยังมีการกล่าวถึง การบูชาธรรมชาติของศาสนาฮินดูอีกด้วย ซึ่งก็เป็นสิ่งที่ดีสิ่งหนึ่ง มั น ก็ เ ห มื อ น กั บ ก า ร เ ค า ร พ ต่ อ ธ ร ร ม ช า ติ แ ต่ ถ้ า จ ะ ม อ ง ใ น อี ก มุ ม การบูชาอะไรแบบนี้ก็ดูเหมือนจะงมงายเกินไปเช่นกัน ประโยชน์ของจริยศาสตร์ ก า ร ศึ ก ษ า วิ ช า ก า ร ทุ ก แ ข น ง ย่ อ ม มี ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ผู้ ศึ ก ษ า ทั้ ง นั้ น การศึกษาวิชาจริยศาสตร์ก็ย่อมมีประโยชน์มากมายซึ่งพอสรุปได้ดังนี้ 1. ทาให้รู้ว่าอะไรดี อะไรชั่ว อะไรถูก อะไรผิด สามารถเลือกปฏิบัติในทางที่ถูกที่ควร จากที่แต่ละศาสนาหรือแต่ละเผ่าได้ทาแต่ละอย่างล้วนมองว่าถูกในมุมมองของแต่ละศาสนา แต่ละเผ่า
  • 19. 2. ทาให้รู้ทางดาเนินชีวิตทั้งในส่วนตัวและสังคม การที่เราศึกษาศาสนาอื่นๆ หรือชนเผ่าอื่นๆ ทาให้เราดาเนินชีวิตอยู่กับคนต่างเผ่าได้ถูกวิธี เช่น คนอิสลาม จะไม่กินหมู เราก็ไม่ชวนเค้ากินหมู 3. ทาให้เข้าใจกฎความจริงของชีวิตเป็นสิ่งที่ชีวิตต้องการทาให้ชีวิตสมบูรณ์การศึกษาจริยธรรมจึงเป็น การศึกษาถึงกฏธรรมชาติให้รู้ว่าชีวิตที่แท้จริงคืออะไรต้องการอะไร 4. ก า ร ป ร ะ พ ฤ ติ ห ลั ก จ ริย ธ ร ร ม เป็ น ก า ร พั ฒ น า สิ่ ง มี ชี วิ ต ให้ สู ง ขึ้ น เรีย ก ว่ า มี วั ฒ น ธ ร ร ม ท า ใ ห้ ชี วิ ต ม นุ ษ ย์ เ ป็ น ชี วิ ต ที่ ป ร ะ เ ส ริ ฐ ก ว่ า สั ต ว์ ถ้าขาดด้านจริยธรรมแล้วคนไม่ต่างจากสัตว์แต่อย่างใด 5. ท า ใ ห้ รู้ จั ก ค่ า ข อ ง ชี วิ ต ว่ า ค่ า ข อ ง ชี วิ ต อ ยู่ ที่ ไ ห น ทาอย่างไรชีวิตจะมีค่าและก็เลือกทางที่ดีมีค่าชีวิตก็มีค่าตามที่ต้องการ เกณฑ์ตัดสินการกระทา จริยศาสตร์เป็นวิชาที่ว่าด้วยคุณค่า คือเรื่องความดี ไม่ดี แต่ก็เป็นการยากที่จะชี้ขาดลงไปว่าอะไรดี อ ะ ไ ร ไ ม่ ดี อ ะ ไ ร ถู ก อ ะ ไ ร ผิ ด อ ะ ไ ร ค ว ร อ ะ ไ ร ไ ม่ ค ว ร นักปรัชญ าด้านนี้จึงพ ยายามหาหลักเกณ ฑ์เพื่ อเป็ นแนวทางในการตัดสินการกระทา ในที่นี้จะขอเสนอแนวคิดใหญ่ๆดังนี้ 1.สัมพัทธนิยม สัมพัทธ์ (Relative) หมายความว่า สิ่งนั้นขึ้นอยู่กับหรือเปลี่ยนแปลงไปตามสิ่งอื่น เช่น รูปร่าง ลัก ษ ณ ะข อ งน้ าเป็ น สิ่งสัม พั ท ธ์ เพ ราะรูป ร่างลัก ษ ณ ะข อ งน้ า ไม่ แ น่ น อ น ต าย ตัว แต่เปลี่ยนไปหรือขึ้นอยู่กับภาชนะที่บรรจุ ถ้าเราเอาน้าใส่แก้ว น้าก็มีรูปร่างอย่างแก้วถ้าเราเอาน้าใส่โอ่ง น้ าก็มีรูป ร่างอย่างโอ่ง ถ้าเราเอาน้ าใส่ขัน น้ าก็มีรูป ร่างอ ย่างขัน เราจึงก ล่าวได้ว่า รูปร่างของน้าสัมพัทธ์กับพาชนะที่บรรจุ ส่วนพวกสมบูรณ์นิยม ถือว่าความดี ความชั่ว เป็นของมีค่าแน่นอนตายตัว ไม่ขึ้นอยู่กับอะไร ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่มีเงื่อนไขใดๆ ทั้งสิ้น 2.มโนธรรมสัมบูรณ์
  • 20. เ ก ณ ฑ์ ตั ด สิ น ค ว า ม ดี อี ก ป ร ะ ก า ร ห นึ่ ง คื อ ลั ท ธิ ม โ น ธ ร ร ม สั ม บู ร ณ์ ลั ท ธิ นี้ ถื อ ว่ า ก า ร ตั ด สิ น คุ ณ ค่ า ท า ง จ ริ ย ะ นั้ น ท า ไ ด้ ต า ม จิ ต ส า นึ ก เกณฑ์มาตรฐานในการตัดสินคุณค่าตามความต้องตัดสินคุณค่าทางจริยะนั้นทาได้ตามจิตสานึก เกณฑ์มาตรฐานในการตัดสินคุณค่าตามความคิดของนักปรัชญากลุ่มนี้เรียกว่า มโนธรรม ม โ น ธ ร ร ม ห ม า ย ถึ ง ส า นึ ก ที่ ม นุ ษ ย์ ทุ ก ค น มี โ ด ย ธ ร ร ม ช า ติ ที่ ม นุ ษ ย์ เป็นเสียงในจิตใจมนุษย์ที่ทาให้ตัดสินอะไรได้ว่าสิ่งนั้นถูกหรือผิดอย่างไร ความสานึกในเรื่องความดี ความชั่ว ไม่จาเป็นต้องอธิบายเหตุผล เรารู้ว่าสิ่งนั้นผิด เพราะมันผิดไม่ดีในตัวของมันเองจึงไม่ควรทา ลั ท ธิ ม โ น ธ ร ร ม สั ม บู ร ณ์ เ ชื่ อ ว่ า ทุกสิ่งทุกอย่างในโลกต้องมีลักษณ ะที่เป็นแก่นแท้ของสิ่งทั้งหลายที่มีในสิ่งๆนั้นเสมอไป เกลือย่อมรักษาความเค็มเสมอ ทุกกาละเทศ ไฟย่อมร้อนทุกกาละเทศะความรู้สึกคนอาจต่างกันเช่นคน 2 คน อยู่ข้างกองไฟลุกโพรงยิ่งขึ้น จะได้อบอุ่นมากขึ้น ความจริงแล้วไฟย่อมร้อนเท่าเดิม มโนธรรมไม่ใช่อารมณ์ แต่มโนธรรมเป็นสานึกในส่วนลึกของหัวใจ มโนธรรมเป็นอินทรีย์พิเศษ ไม่ใช่อินทรีย์ทางประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ ทางตา ทางหู ทางจมูก ทางปาก ทางกาย แ ต่ เป็ น อิ น ท รีย์ ที่ เรีย ก ว่ า ปัญ ญ า ห รือ ม โน ธ ร ร ท ห รือ อิ น ท รีย์ ท า ง ศี ล ธ ร ร ม เป็นส่วนหนึ่งทางจิตหรือวิญญาณเป็นตัวตัดสินชี้ขาดความดีความถูก ความผิดเป็นเรื่องนามธรรม บัทเลอร์ นักจริยศาสตร์ชาวอังกฤษคนหนึ่งกล่าวว่า “ในตัวคนเรามีสิ่งที่เหนือกว่าความรู้สึกธรรมดาคือ มโนธรรมที่เป็นตัวชี้ขาดเกณฑ์ที่อยู่ในใจเราและตัดสินหลักแห่งการกระทามโนธรรมจะตัดสินตัวของมันเอาเ อ ง แ ล ะ ก า ร ก ร ะ ท า ข อ ง ม นุ ษ ย์ มั น ป ร ะ ก า ศ ล ง ไ ป โ ด ย ไ ม่ มี ค า แ น ะ น า ใ ด ๆ มโนธรรมนั้นแสดงอานาจของมันออกมาเพื่อให้ได้ความเห็นชอบหรือประณามผู้กระทาตามแต่กรณี” ม โ น ธ ร ร ม ห รื อ อิ น ท รี ย์ ท า ง ศี ล ธ ร ร ม นั้ น มนุษย์มีอยู่ด้วยกันทุกคนในฐานะที่เป็นมนุษย์เป็นสิ่งติดตัวของมนุษย์แต่เขาเกิดมา มโนธรรมมี 2 ภาค คือ 1.ภาคชี้ขาดความดีที่ถูกต้อง 2.ภาคชี้ขาดความงามที่ถูกต้อง มโนธรรมที่มนุษย์มีติดตัวนี้เป็นสิ่งสากล แม้จะมีในทุกคนก็มีลักษณะรวมเป็นสากล คือ ทุกคนที่อยู่มนภาวะปกติจะมีความรู้สึกคล้ายกัน เช่น ความรู้สึกว่าการช่วยเหลือคนตกทุกข์ได้ยากเป็นสิ่งที่ดี แต่อย่างไรก็ตามคนทั้งหลายก็ยังคิดเห็นต่างกันอยู่เพราะความโลภความหลงมาปิดบังเอาไว้