SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 35
Baixar para ler offline
“กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์
และการพัฒนาบุคลิกภาพสู่การเป็นวิทยากร
และครูผู้นาที่ดี”
กิจกรรมรวมดวงใจ ... เครือข่าย ...
ครูผู้นาการเปลี่ยนแปลง
กิจกรรมนี้มุ่งหวังให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่มาจากหลายภาคส่วน ได้
ทาความรู้จักกัน (กลุ่มสัมพันธ์/เปิดใจ ... คลายเขิน ... เดินหน้า ... หาเพื่อน)
โดยผ่านกิจกรรมการเคลื่อนไหว สนทนา/พูดคุย/ซักถาม เพื่อให้เกิด
สัมพันธภาพที่ดีระหว่างกัน ซึ่งจะส่งผลดีต่อการจัดกิจกรรมร่วมกัน
ทั้งภายในกลุ่มและระหว่างกลุ่ม (ร่วมมือร่วมใจ) ในกิจกรรมลาดับต่อ ๆ ไป ...
ใช้ในการเริ่มต้นกิจกรรมทุกิจกรรม/เปิดเทอมพบเพื่อนใหม่
S. Jaideechoey
กิจกรรมวัดถูก ... ตวงเป็น : บูรณาการการเรียนรู้ระหว่างวิชา
กิจกรรมนี้มุ่งหวังให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ ………………………...
....................................................................................
…………………………………………………………….
…………………………………………………………….
…………………………………………………………….
…………………………………………………………….
…………………………………………………………….
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรม My Big Ball
กิจกรรมนี้มุ่งหวังให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ก่อเกิดคุณธรรมด้านความสามัคคี
ร่วมมือร่วมใจ การทางานเป็นทีม การยอมรับฟังเหตุผลของผู้อื่น ความสะอาด และ
ความซื่อสัตย์ โดยผ่านการสร้างลูกบอลที่มีกติกาว่า ลูกใหญ่ที่สุด แข็งแรงที่สุด และ
ขว้างไปได้ไกลที่สุด ภายในเวลา 15 นาที ใช้กระบวนการ PDCA (Plan, Do, Check &
Act) และใช้อุปกรณ์เพียงอย่างเดียวคือกระดาษหนังสือพิมพ์เก่า ๆ
กิจกรรมนี้ นอกจากประยุกต์ใช้กับการปลูกฝังคุณธรรมแล้ว ยังใช้ได้ดีกับ
การสอนวิชาวิทยาศาสตร์ ตั้งแต่ระดับประถมศึกษาจนถึงอุดมศึกษา เรื่อง สถานะของสาร
กล่าวคือ ของแข็ง (อนุภาค/โมเลกุลจะจับกันอย่างหนาแน่น ... แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
สูง เปรียบเสมือนลูกบอลที่แข็งแรงที่สุด) ของเหลว (อนุภาคเกาะกันอย่างหลวม ๆ เปรียบ
ได้กับลูกบอลที่ไม่ค่อยแข็งแรง) และก๊าซ (อนุภาคอยู่กันอย่างกระจัดกระจาย เทียบได้กับ
ลูกบอลที่ไม่แข็งแรง/ชิ้นส่วนหลุดร่วงระหว่างที่มีการทดสอบความแข็งแรง)
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์รูปแบบใหม่
สัมพันธภาพ/เครือข่าย
กระบวนการมีส่วนร่วม
ลงมือปฏิบัติกิจกรรม (If you do, you learn)
เพลิดเพลิน (play & learn)
บูรณาการความรู้คู่ความดี
บูรณาการ/เชื่อมโยงระหว่างสาขาวิชา
การออกแบบ/การใช้สื่อด้วยความสร้างสรรค์
กระบวนการคิดและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
การนาไปประยุกต์ใช้/แก้ปัญหาในการเรียนการสอน
เชื่อมโยงการจัดการเรียนการสอน (PCK)
Cooperative learning/STAD/Gallery Walk
การเป็นวิทยากรที่ดีและมีประสิทธิภาพนั้น จะต้อง
เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะ เทคนิคต่าง ๆ ในหลาย ๆ ด้าน
เช่น การพูด การสื่อสาร การจัดกิจกรรม ฯลฯ ตลอดจนจะต้องเป็น
ผู้มีคุณลักษณะที่จาเป็นอีกมากมาย
เทคนิคการเป็นวิทยากรที่ดี
วิทยากร คือ ผู้ที่ทาหน้าที่เป็นตัวการสาคัญที่จะทาให้ผู้เข้ารับ
การอบรม เกิดความรู้ความเข้าใจ เกิดทักษะ เกิดทัศนคติที่ดีเกี่ยวกับ
เรื่องที่อบรม จนกระทั่งผู้เข้ารับการอบรมเกิดการเรียนรู้และสามารถ
จุดประกายความคิด เกิดการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ หรือพฤติกรรม
ไปตามวัตถุประสงค์ของเรื่องหรือวิชานั้น ๆ
วิทยากรคือใคร?
วิทยากร (RESOURCE PERSON)
ผู้บรรยาย (LECTURER)
ผู้ทาให้เกิดการเรียนรู้ (INSTRUCTOR)
ผู้สอน (TEACHER)
ผู้ฝึก (TRAIINER)
พี่เลี้ยง (MENTOR)
บทบาทของวิทยากร
คุณสมบัติของวิทยากรที่ดีและมีประสิทธิภาพ
๑ คุณลักษณะทั่วไป
๑ . มั่นใจในตนเอง เตรียมพร้อม ซ้อมดี มีสื่อและวิธีการที่เหมาะสม
๒ . เป็นคนช่างสังเกต คอยสังเกตพฤติกรรมทางกาย วาจา ตลอดจน
กระบวนการกลุ่มของผู้เข้ารับการอบรม
๓ . มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
๔ . แก้ปัญหาเฉพาะหน้าเก่ง
๕ . มีการวางแผนที่ดี ทั้งเนื้อหาและลาดับขั้นตอน การนาเสนอ
รวมทั้งสื่อและเครื่องมือการสื่อสาร
๖ . มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีและประสานงานเก่ง
๗ . มีบุคลิกภาพที่ดี
คุณสมบัติของวิทยากรที่ดีและมีประสิทธิภาพ
๑ คุณลักษณะทั่วไป
๘ . มีความเป็นกัลยาณมิตร ยิ้มแย้มแจ่มใส เป็นกันเอง คอยช่วยเหลือด้วย
น้าใจ มีความเมตตา ยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคล และมีความ
เห็นใจของผู้เข้ารับากรอบรม
๙ . เป็นนักประชาธิปไตย มีความยืดหยุ่น รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
ไม่สรุปตัดบทง่าย ๆ เมื่อมีผู้เสนอความคิดเห็นที่แตกต่างออกไป
๑๐ . มีความจิรงใจในการถ่ายทอดความรู้
๑๑ . ปฏิบัติตนต่อผู้เข้ารับการอบรมอย่างเสมอภาค ทัดเทียม วางตน
เหมาะสมกับทุกคน
๑๒ . มีแบบฉบับลีลาที่เป็นของตนเอง ยอมรับจุดเด่นและจุดด้อยของตน
๒ . ต้องรู้จริง
๑ . ต้องเป็นคนรอบรู้ ศึกษาหาความรู้อยู่เสมอ
๒ . ต้องรู้รายละเอียดในเรื่องนั้นอย่างเพียงพอ
๓ . ต้องเข้าใจเหตุผลของรายละเอียดนั้น
๔ . ต้องรู้สมมติฐานหรือความเป็นมาของสิ่งนั้น
๕ . ต้องสามารถประยุกต์สิ่งนั้นให้เห็นเป็นจริงได้
คุณสมบัติของวิทยากรที่ดีและมีประสิทธิภาพ
คุณสมบัติของวิทยากรที่ดีและมีประสิทธิภาพ
๓ . ถ่ายทอดเป็น
๑ . มีเทคนิคต่าง ๆ เช่น การบรรยาย การนาอภิปราย การสัมมนา
กรณีศึกษา การจัดกิจกรรม ฯลฯ เพื่อทาให้เกิดความรู้ เข้าใจง่าย ได้สาระ
๒ . พูดเป็น คือ พูดแล้วทาให้ผู้ฟังเข้าใจตามที่พูดได้อย่างรวดเร็ว สามารถ
พูดเรื่องยาก ซับซ้อนให้เข้าใจง่าย
๓ . ฟังเป็น คือ ตั้งใจฟัง ฟังให้ตลอด ขณะที่ฟังต้องควบคุมอารมณ์
ขณะที่ฟังอย่าคิดคาตอบทันที จงฟัง และเอาความหมายมากกว่าถ้อยคา
๔ . นาเสนอเป็นประเด็นและสรุปประเด็นให้ชัดเจน
๕ . มีอารมณ์ขัน สร้างบรรยากาศในการอบรมได้อย่างเหมาะสม
๖ . มีประสิทธิภาพในการอบรม สามารถเชื่อมโยงทฤษฎี เข้ากับการปฏิบัติ
ได้ดี มองเห็นเป็นรูปธรรม
๗ . ใช้ภาษาพูดได้ดี ใช้ภาษาง่าย ๆ รู้จักเลือกภาษาให้ตรงกับเนื้อหา และ
ตรงกับความต้องการและพื้นฐานความรู้ของผู้ฟัง
๔ . มีหลักจิตวิทยาในการสอนผู้ใหญ่
๑ . ความสนใจในการรับฟังจะเกิดขึ้นจากการรับรู้ถึงเรื่องที่วิทยากรจะพูด
หรือบรรยาย
๒ . มุ่งประโยชน์ในการรับฟังเป็นสาคัญ
๓ . จะตั้งใจแลเรียนรู้ได้ดี ถ้าวิทยากรแยกเรื่องที่สอนออกเป็นประเด็น/ขั้นตอน
๔ . จะเรียนรู้ได้ดีถ้าได้ฝึกปฏิบัติไปด้วยพร้อม ๆ กับการรับฟัง
๕ . จะเรียนรู้ได้ดียิ่งขึ้น ถ้าฝึกแล้วได้ทราบผลของการปฏิบัติอย่างรวดเร็ว
๖ . จะ เรียนรู้ได้ดีเมื่อมีการฝึกหัดอยู่เสมอ
๗ . จะเรียนรู้ได้ดีเมื่อเปิดโอกาสให้ใช้เวลาในการทาความเข้าใจ อย่าเร่งรัด
เพราะแต่ละคนมีความสามารถในการเรียนรู้ต่างกัน
คุณสมบัติของวิทยากรที่ดีและมีประสิทธิภาพ
๕ . มีจรรยาบรรณของวิทยากร
๑ . เมื่อจะสอนต้องมั่นใจว่ามีความรู้จิรงในเรื่องที่จะสอน
๒ . ต้องมุ่งประโยชน์ของผู้ฟังเป็นที่ตั้ง
๓ . ไม่ควรฉกฉวยโอกาสในการเป็นวิทยากรเพื่อแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตัว
๔ . ความประพฤติและการปฏิบัติตนของวิทยากร ควรจะสอดคล้องกับ
เรื่องที่สอน
คุณสมบัติของวิทยากรที่ดีและมีประสิทธิภาพ
ข้อเสนอแนะที่สาคัญในการเป็นวิทยากร
๑ . ต้องมีกิจกรรมมากกว่าการบรรยาย
๒ . ต้องมีการเตรียมตัวที่ดี
๓ . ต้องมีสื่อช่วยให้เกิดการเรียนรู้ได้ดี
๔ . ต้องมีกิจกรรมที่สอดคล้องกับเนื้อหา เวลา และตรงเวลา
๕ . ต้องให้คนติดใจในการเรียนรู้ มิใช่ติดใจในลีลาการแสดง เพราะวิทยากร
ไม่ใช่นักแสดง
๖ . ต้องคานึงอยู่ตลอดเวลาว่าวิทยากรมีหน้าที่ไปทาให้เขารู้ อย่าไปอวด
ความรู้แก่เขาและวิทยากรไม่มีหน้าที่พูดให้คนอื่นงง
เทคนิคการเตรียมตัวเป็นวิทยากรที่ดี
๑ . การหาข้อมูล โดยวิธีต่าง ๆ เช่น
๒ . สะสมข้อมูลต่าง ๆ โดยจัดเก็บเป็นระบบหรือแบ่งเป็นประเภท
๓ . ศึกษาข้อมูลแต่ละประเภท พยายามจับประเด็น และหักมุมนาเข้า
ในเรื่องที่จะเสนอให้ได้
๔ . หัดเล่า ให้เพื่อนหรือคนอื่นฟัง
การพัฒนาบุคลิกภาพสู่การเป็นวิทยากรและครูผู้นาที่ดี
บุคลิกภาพภายนอก บุคลิกภาพภายใน
1. รูปร่างหน้าตา
2. การแต่งกาย
3. การปรากฏตัว
4. กิริยาท่าทาง
5. การสบสายตา
6. การใช้น้าเสียง
7. การใช้ถ้อยคาภาษา
1. ความเชื่อมั่นในตนเอง
2. ความกระตือรือร้น
3. ความรอบรู้
4. ความคิดริเริ่ม
5. ความจริงใจ
6. ปฏิภาณไหวพริบ
7. ความรับผิดชอบ
8. ความจา
9. อารมณ์ขัน
การพัฒนาบุคลิกภาพสู่การเป็นวิทยากรและครูผู้นาที่ดี
ส. เสียง
ส. สาเนียง
ส. สาระ
ส. สนุก
ส. เสน่ห์
ความสะอาด
การแต่งกาย
การยืน
การเดิน
การนั่ง
องค์ความรู้
* ลุ่มลึก
* กระบวนการ
* ผสมผสาน
* ความจริง
* พิสูจน์ได้
• อย่าแลบลิ้นให้ผู้ฟัง
• อย่าหลบสายตาผู้ฟัง
• อย่าจบด้วยคาว่า “สวัสดี” หรือ “ขอบคุณ”
• อย่าแสดงอาการล้วงแคะแกะเกาในขณะที่พูด
• อย่าแกว่งเท้าเล่น และอย่าถอยหน้าถอยหลัง
ตลอดเวลาที่พูด
การพัฒนาบุคลิกภาพสู่การเป็นวิทยากรและครูผู้นาที่ดี
- ศึกษากลุ่มเป้ าหมาย - เตรียมความพร้อม
- ตรงต่อเวลา - ระวังคาพูด
- มารยาทและกาลเทศะ - การใช้สื่อและเทคโนโลยี
- เชื่อมโยงสิ่งรอบตัว - ทันสมัย/ทันเหตุการณ์
- เสียงดังฟังชัด - รู้ลึก/รู้จริง/คม ชัด ลึก กว้าง ไกล
- เปิดโอกาสและพื้นที่ - กระบวนการมีส่วนร่วม
- บริหารเสน่ห์ในตัวเอง - เป็นมิตร/ยิ้มแย้มแจ่มใส
- นักออกแบบ/คิดสร้างสรรค์ - ใฝ่ เรียน ... ใฝ่ รู้
- นักวิทยาศาสตร์/แก้ปัญหา ไม่เป็นนางงามเดินสาย
1. เตรียมให้พร้อม
2. ซ้อมให้ดี
12 วิธีที่สาคัญสาหรับการเป็นวิทยากรที่ดี
3. ท่าทีสง่าใบหน้าสุขุม
4. พูดไม่วกวน
5. เริ่มต้นโน้มน้าว
6. เรื่องราวกระชับ
7. ตาจับผู้ฟัง
8. เสียงดังพอดี
9. อย่ามีเอ่ออ้า
11. ดูเวลาพอครบ
12. สรุปจบจับใจ
10. มีลีลาจังหวะ
• สรุปความโดยย่อ/ประเด็นหลักๆ
• ชักจูงให้กระทา
• ฝากนาไปขบคิด
การสรุปจบที่ควรนามาใช้
• ให้ภาษิตเตือนใจ
• ไขจุดสาคัญ
Goals
Moral Youth/Good Boys …
High Quality of Life
(Goodness … Brainy … Happiness)
ครูกับการจัดการเรียนรู้
ครูในฐานะผู้จัดการ/ผู้สนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้
ครูในฐานะผู้อานวยการให้เกิดการเรียนรู้
ครูในฐานะนักวิจัย
ครูในฐานะผู้มีทักษะการสอน
ครูในฐานะนักออกแบบการจัดการเรียนรู้
ครูในฐานะกัลยาณมิตร
การเตรียมการก่อนการสอน : รู้และเข้าใจ
สอนใคร?
สอนอะไร?
เนื้อหามาจากไหน?
เป้ าหมาย/วัตถุประสงค์?
สอน/ออกแบบอย่างไร?
ใช้สื่อ/กิจกรรม/แหล่งเรียนรู้?
ผลสัมฤทธิ์ของการสอน/ชิ้นงาน?
ทราบได้อย่างไรว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรู้?
เป้ าหมายของการสอน/การอบรม
เป้ าหมายของการสอนแต่ละครั้งคืออะไร?
ผู้สอนทราบได้อย่างไรว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรู้?
ผู้เรียนต้องเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอะไรบ้าง?
มีร่องรอยหรือหลักฐานอะไรที่บ่งชี้ว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรู้?
ทาอย่างไรให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่ผู้สอนตรวจวัดได้?
Backward
Design
วิธีการสอน/การจัดการเรียนรู้
หลากหลาย
สร้างสรรค์
เหมาะสมกับเนื้อหา/เวลา
ใช้สื่อ/เทคโนโลยีเป็นตัวช่วย
ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
ได้ทั้งสาระและความบันเทิง (play & learn)
ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้
ใกล้เคียงชีวิตจริง/วิถีชีวิต/นาไปประยุกต์ใช้ได้
ชวนคิด?
(1) วิธีสอนที่หลากหลาย ... วิธีไหนดีที่สุด? ... เพราะอะไร?
(2) ใช้สื่อการสอนอะไรดี? ... ใช้กิจกรรมอะไรดี?
If you hear, you forget.
If you see, you remember.
If you do, you learn.
- Child center
- Happiness
- Participation
- Application
19/07/56 33
มนุษย์บ่มเพาะเมล็ดพันธุ์แห่ง
ความดีด้วยการเรียนรู้ ที่มีสติ
รู้จักยับยั้งชั่งใจ และความคุม
วิถีประพฤติไม่ให้ไปทาความ
เดือดร้อน แก่ตนเองและผู้อื่น
ธรรมชาติสร้างมนุษย์ให้มีความรัก
ให้แก่ลูก แก่ครอบครัว มนุษย์ก็
สามารถเรียนรู้ที่จะแบ่งปันความรัก
ให้แก่คนอื่น ๆ ด้วยความเห็นใจเมตตา
เอื้ออาทรได้เช่นกัน
ทุกคนทุกครอบครัวมีประสบการณ์
ในตัวเอง หากมีเงื่อนไขให้เขา
เรียนรู้ ได้เห็นปัญหา ได้เข้าใจ
สาเหตุของปัญหา ย่อมมีศักยภาพ
ลุกขึ้นมาแก้ไขปัญหาของตนได้
เมล็ดพันธุ์แห่งความดี
เมล็ดพันธุ์แห่งการเรียนรู้
เมล็ดพันธุ์แห่งความรัก
Education with a heart
แด่คุณครูด้วยดวงใจ
ดั่งเป็นเช่นแสงชัย ดั่งไฟให้พลัง
ดั่งฝนบนฟ้ าหลั่ง เพื่อจักโยงโลกเราชื่นเย็นทุกยาม
สั่งสมบ่มวิชา ศึกษาศาสตร์งอกงาม
สืบสานศิลป์ อร่าม ต่อเชื่อมตามนิยามแห่งครู
ช่วยปวงชนจนเรียนรู้ทุกด้าน สร้างรากฐานแห่งการเรียนรู้
ศิษย์เฟื่องฟุ้ งรุ่งเรืองเฟื่องฟู ด้วยศิษย์มีครูชูช่วยอวยชัย
เชิดชูผู้เกื้อกูล เทิดทูนยิ่งฤทัย
เชิดชูครูเหนือใคร ด้วยดวงใจมอบให้แด่ครู
ด้วยดวงใจมอบให้แด่ครู ....
คำถำม ???

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
daykrm
 
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติกโครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
Fah Philip
 
แบบฝึกอ่าน ป. 1
แบบฝึกอ่าน ป. 1แบบฝึกอ่าน ป. 1
แบบฝึกอ่าน ป. 1
Yanee Chaiwongsa
 
นำเสนอการฝึกงาน
นำเสนอการฝึกงานนำเสนอการฝึกงาน
นำเสนอการฝึกงาน
Palm Jutamas
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
พัน พัน
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Pongtep Treeone
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
ณัฐะ หิรัญ
 
ข้อสอบ O-net ปี 53 วิชา สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพ
ข้อสอบ O-net ปี 53 วิชา สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพข้อสอบ O-net ปี 53 วิชา สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพ
ข้อสอบ O-net ปี 53 วิชา สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพ
Pattamaporn Kheawfu
 

Mais procurados (20)

อักษรย่อ
อักษรย่ออักษรย่อ
อักษรย่อ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระหน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ
 
Teaching English for communication using JITSUPA model
Teaching English for communication using JITSUPA modelTeaching English for communication using JITSUPA model
Teaching English for communication using JITSUPA model
 
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติกโครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
 
การเป็นพิธีการมืออาชีพ
การเป็นพิธีการมืออาชีพการเป็นพิธีการมืออาชีพ
การเป็นพิธีการมืออาชีพ
 
แบบฝึกอ่าน ป. 1
แบบฝึกอ่าน ป. 1แบบฝึกอ่าน ป. 1
แบบฝึกอ่าน ป. 1
 
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดีคุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
 
นำเสนอการฝึกงาน
นำเสนอการฝึกงานนำเสนอการฝึกงาน
นำเสนอการฝึกงาน
 
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ศัพท์เกี่ยวกับการประชุม (Meetings)
ศัพท์เกี่ยวกับการประชุม (Meetings)ศัพท์เกี่ยวกับการประชุม (Meetings)
ศัพท์เกี่ยวกับการประชุม (Meetings)
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
 
การคำนวณระยะเวลาก่อสร้าง
การคำนวณระยะเวลาก่อสร้างการคำนวณระยะเวลาก่อสร้าง
การคำนวณระยะเวลาก่อสร้าง
 
ข้อสอบ O-net ปี 53 วิชา สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพ
ข้อสอบ O-net ปี 53 วิชา สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพข้อสอบ O-net ปี 53 วิชา สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพ
ข้อสอบ O-net ปี 53 วิชา สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพ
 
รายงาน Is
รายงาน Isรายงาน Is
รายงาน Is
 
ปก
ปกปก
ปก
 

Destaque (8)

Astro2 pdf
Astro2 pdfAstro2 pdf
Astro2 pdf
 
Rock cycle3ss thai
Rock cycle3ss thaiRock cycle3ss thai
Rock cycle3ss thai
 
Astro4 th
Astro4 thAstro4 th
Astro4 th
 
Rock cycle2ss[1] th
Rock cycle2ss[1] thRock cycle2ss[1] th
Rock cycle2ss[1] th
 
Orchids1
Orchids1Orchids1
Orchids1
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
Biobook
BiobookBiobook
Biobook
 

Semelhante a 19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...

เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
Kunwater Tianmongkon
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
Junya Punngam
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน
kittitach06709
 
การจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ Stadการจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ Stad
Sandee Toearsa
 
นำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคมนำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคม
Atima Teraksee
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
yana54
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
สุชาติ องค์มิ้น
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
She's Kukkik Kanokporn
 
1111111111111111111111111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111111111111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111111111111111111111111
bow4903
 
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
Jo Smartscience II
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
Piyatida Prayoonprom
 

Semelhante a 19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์... (20)

เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
บริหารกิจการนักเรียน
บริหารกิจการนักเรียนบริหารกิจการนักเรียน
บริหารกิจการนักเรียน
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน
 
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีสมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
 
การจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ Stadการจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ Stad
 
นำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคมนำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคม
 
จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา 2
จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา 2จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา 2
จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา 2
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
 
คู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากรคู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากร
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
 
1111111111111111111111111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111111111111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111111111111111111111111
 
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
 
อาชีพครู
อาชีพครูอาชีพครู
อาชีพครู
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 

Mais de ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข

Mais de ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข (20)

สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืชการลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
 
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
 
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
กลวิธีการสอน
กลวิธีการสอนกลวิธีการสอน
กลวิธีการสอน
 

19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...