SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 21
Baixar para ler offline
หนวยการเรียนรูที่ 1
                                  สมบัติของจํานวนนับ
รายวิชาที่นํามาบูรณาการ
       -

1. มาตรฐานการเรียนรู
   มฐ. ค 1.4 และ มฐ. ค 6.1

2. ตัวชี้วัดชั้นปที่เกี่ยวของ
   2.1 ค 1.4 ม.1/1
   2.2 ค 6.1 ม.1/2, 3, 5

3. สาระการเรียนรูประจําหนวย
   3.1 ตัวหารรวมมากและการนําไปใช
   3.2 ตัวคูณรวมนอยและการนําไปใช

4. รองรอยการเรียนรู
   4.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ไดแก
       1) ผลงานจากการทํางานในชั้นเรียน 2 รายการ
       2) ผลงานจากการทํากิจกรรมที่ 1.1 กิจกรรมที่ 1.2
       3) ผลงานจากการทําแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนประจําหนวย
   4.2 ผลการปฏิบัติงาน ไดแก
       1) การปฏิบัติงานในชั้นเรียนและกิจกรรม 1.1 – 1.2
       2) การมีสวนรวมในการปฏิบัติกิจกรรมกลุม
   4.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนประจําหนวย
แผนการจัดการเรียนรูเสริมคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1                                    2



5. แนวทางการจัดการเรียนรูในภาพรวม
                                                     แนวทางการจัดการเรียนรู
      รองรอยการเรียนรู
                                               บทบาทครู                บทบาทนักเรียน
5.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ไดแก
    1) งานในชั้ น เรี ย น 2 ราย - ใหนักเรียนปฏิบัติงานในชั้น            - แสดงพฤติ ก รรมการเรีย นรู
          การ                         เรียนตามเอกสาร “ หนังสือ             ทั้ ง งานเดี่ ย วและงานกลุ ม
                                      เรี ย น เส ริ ม ค ณิ ต ศ าส ต ร     ตามงาน ที่ กํ า ห น ดใน ชั้ น
                                      พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่          เรียน
                                     1”
    2) กิจกรรม 2 กิจกรรม - ให นั ก เรี ย นปฏิ บั ติ กิ จ กรรม           - แสดงพฤติ ก รรมการเรี ย นรู
                                     ในชั้ น เรี ย นและ/หรื อ นอก          ทั้ ง งานเดี่ ย วและงานกลุ ม
                                      ห องเรี ย น ตามเอกสาร “             ตามกิ จ กรรมที่ ไ ด รั บ การ
                                      ห นั ง สื อ เ รี ย น เ ส ริ ม        เรียนรู
                                      คณิ ต ศาสตร พื้ น ฐาน ชั้ น
                                      มัธยมศึกษาปที่ 1 ”
5.2 ผลการปฏิบัติงาน ไดแก
   1) การป ฏิ บั ติ งาน ใน ชั้ น - สาธิ ต การปฏิ บั ติ ง านในชั้ น       - ให นั ก เรี ย นเรี ย นรู ด ว ยการ
       เรี ย น แล ะก ารป ฏิ บั ติ เรี ย นและกิ จ กรรมใน/นอก                สังเกตจากการสาธิตของครู
       กิ จกรรม ใน /น อกชั้ น ชั้นเรียน                                    และลงมื อ ปฏิ บั ติ ง านใน/
       เรียน                      - ครู ค อยให คํ า แนะนํ า ขณะที่        นอกชั้นเรียน
                                    นั ก เรี ย นปฏิ บั ติ ง านในชั้ น
                                    เรียน
    2) แบบบั น ทึ ก พฤติ ก รรม - การทําแบบบันทึกพฤติกรรม - นั ก เรี ย นทํ า งานในชั้ น เรี ย น
        การเรี ย นและการร ว ม การเรียนและการรวมทํ างาน   และการปฏิบัติกิจกรรมตาม
        ทํางานกลุม                  กลุม                 ที่ไดรับมอบหมายพรอมทั้ง
                                                           สรุปผลการทํากิจกรรมของ
                                                           ตนเองและการทํางานกลุม
5.3 การทดสอบผลสัมฤทธิ์ทาง - สรุปสาระการเรียนรูที่สําคัญ - ทําแบบทดสอบ
    การเรียนประจําหนวย     ตามแผนผั ง ความคิ ด ประจํ า
                            หนวย
แผนการจัดการเรียนรูเสริมคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1         3



                                        แผนการจัดการเรียนรูที่ 1/1
                                  เรื่อง ตัวหารรวมมากและการนําไปใช
                                              เวลา 3 ชั่วโมง

1. เปาหมายการเรียนรู
    1.1 ผลการเรียนรู
         สามารถนําความรูและสมบัติเกี่ยวกับจํานวนเต็มไปใชในการแกปญหาได
    1.2 จุดประสงคการเรียนรู
         สามารถนําความรูและสมบัติเกี่ยวกับจํานวนเต็มไปใชในการแกปญหาได

2. สาระสําคัญ
    2.1 สาระการเรียนรู
        ตัวหารรวมมากและการนําไปใช
    2.2 ทักษะ / กระบวนการ
        การคิดวิเคราะห การคิดคํานวณ การใหเหตุผล
    2.3 ทักษะการคิด
        ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการคิดคํานวณ ทักษะการใหเหตุผล

3. รองรอยการเรียนรู
       3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน
           1) ผลงานจากการทํางานในชั้นเรียน 1 รายการ
           2) ผลงานจากการทํากิจกรรมที่ 1.1
      3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
            1) จัดกลุม กลุมละไมเกิน 3 คน
            2) แบงหนาที่ ไดแก ผูปฏิบัติกิจกรรม ผูบันทึกผลการจัดกิจกรรม เปนตน
            3) รวมกันปฏิบัติกิจกรรมและสรุปผล
            4) นําเสนอผลงาน
            5) สงผลการจัดกิจกรรม
      3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
           1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม
          2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
แผนการจัดการเรียนรูเสริมคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1        4



      3.4 ความรูความเขาใจ
         1) นักเรียนสามารถแยกตัวประกอบของจํานวนนับได
         2) นักเรียนสามารถหา ห.ร.ม. และนําไปใชได

4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
   เกณฑขั้นต่ํา
      1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป
      2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป
      3) ทําไดถูกตอง 50% ขึ้นไป
   การสรุปผลการประเมิน
      ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ

5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู
    5.1 ขั้นนํา
        1) ครูทบทวนเกี่ยวกับจํานวนนับ ตัวประกอบ ตัวประกอบรวม จํานวนเฉพาะ ตัวประกอบ
เฉพาะและ การแยกตัวประกอบโดยเขียนจํานวนบนกระดานแลวใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้
           - จํานวนที่นักเรียนนับเรียกวาจํานวนนับ โดยเริ่มนับตั้งแตเลขใด ( 1 )
           - จํานวนนับที่นอยที่สุดไดแกจํานวนใด ( 1 )
           - จํานวนนับที่มากที่สุดไดแกจํานวนใด ( ไมมี )
           - ตัวประกอบของจํานวนนับใดคือจํานวนนับที่หารจํานวนนับนั้นไดลงตัว
               ดังนั้น ตัวประกอบทั้งหมดของ 12 คือจํานวนใด (1, 2, 3, 4, 6 และ 12)
                        ตัวประกอบทั้งหมดของ 15 คือจํานวนใด (1, 3, 5 และ 15)
            - จํานวนใดเปนตัวประกอบรวมของ 12 และ 15 ( 3 )
            - จํานวนเฉพาะเปนจํานวนประเภทใด ( จํานวนนับที่มากกวา 1 และมีตัวประกอบเพียง
2 ตัว ไดแก 1 และตัวเอง )
             - ตัวประกอบที่เปนจํานวนเฉพาะ เราเรียกวาอะไร (ตัวประกอบเฉพาะ)
แผนการจัดการเรียนรูเสริมคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1                      5



    5.2 ขั้นสอน
                              กิจกรรมการเรียนการสอน                                 ฝกการคิดแบบ
1. ครูยกตัวอยางจํานวนนับที่หาร 24 และ 32 ลงตัว                                  ทักษะการคิดวิเคราะห
     จํานวนนับที่หาร 24 ลงตัว ไดแก 1, 2, 3, 4, 6, 8, 12 และ 24                 ทักษะการคิดคํานวณ
     จํานวนนับที่หาร 32 ลงตัว ไดแก 1, 2, 3, 4, 8, 16 และ 32                    ทักษะการใหเหตุผล
     แลวใหนักเรียนชวยกันตอบคําถามตอไปนี้
         - จํานวนใดบางเปนตัวหารรวมของ 24 และ 32
         - จํานวนใดเปนตัวหารรวมมากที่สุดของ 24 และ 32
         - ห.ร.ม.ของจํานวน 24 และ 32 คือจํานวนใด
2. ครูยกตัวอยางการหา ห.ร.ม. ดวยวิธีพิจารณาตัวประกอบ วิธีการแยกตัว              ทักษะการคิดวิเคราะห
     ประกอบวิธีการตั้งหาร และขั้นตอนวิธีของยุคลิคบนกระดานและศึกษา                ทักษะการคิดคํานวณ
     จากหนังสือเรียนเสริมมาตรฐานแม็ค คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1                       ทักษะการใหเหตุผล
         วิธที่ 1 โดยการพิจารณาตัวประกอบ
             ี
ตัวอยางที่ 1 จงหา ห.ร.ม. ของ 54 และ 72
วิธทํา
   ี              ตัวประกอบของ 54 ไดแก 1, 2, 3, 6, 9, 18, 27 และ 54
                 ตัวประกอบของ 72 ไดแก 1, 2, 3, 4, 6, 8, 9, 12, 18, 24, 36
                                            และ 74
                  ตัวประกอบของ 54 และ 72 ไดแก 1, 2, 3, 6, 9 และ 18
                  ตัวประกอบรวมที่มากที่สุดของ 54 และ 72 คือ 18
                  ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 54 และ 72 คือ 18
ตอบ 18
           วิธที่ 2 โดยการแยกตัวประกอบ
               ี
ตัวอยางที่ 2 จงหา ห.ร.ม. ของ 24 และ 30
วิธีทํา           แยกตัวประกอบของ 24 และ 30 ดังนี้
                         24 = 3 × 2 × 2 × 2
                         30 = 3 × 2 × 5

               ตัวประกอบรวมที่มากที่สุดของ 24 และ 30 คือ 3×2 = 6
                  ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 24 และ 30 คือ 6
แผนการจัดการเรียนรูเสริมคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1                         6



                          กิจกรรมการเรียนการสอน                                         ฝกการคิดแบบ
           วิธีที่ 3 โดยการตั้งหาร
ตัวอยางที่ 3 จงหา ห.ร.ม. ของ 18, 27 และ 45

                                      นํา 3 ซึ่งเปนจํานวนเฉพาะที่เปนตัวประกอบรวม
                                      ของ 18, 27 และ 45 หารทั้งสามจํานวน
วิธีทํา      3) 18 27 45
                                      นํา 3 ซึ่งเปนจํานวนเฉพาะที่เปนตัวประกอบรวม
             3) 6 9 15
                                      ของ 6, 9 และ 15 หารทั้งสามจํานวน
                 2 3 5
                                      ไมมีจํานวนเฉพาะใดเปนตัวประกอบรวมของ
                                      2, 3และ 5 จึงยุติการหาร

                  ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 18, 27 และ 45 คือ 3 × 3 = 9
ตอบ 9
        วิธีที่ 4 โดยใชขั้นตอนวิธีของยุคลิด
ตัวอยางที่ 4 จงหา ห.ร.ม. ของ 280 และ 385
วิธีทํา          2 280 385 1               1. นํา 280 หาร 385ได 1 เศษ105
                     210 280
                 2 70 105 1                2. นํา 105 หาร 280ได 2 เศษ 70
                      70      70
                              35           3. นํา 35 หาร 70ได 2 ลงตัวพอดี

                  ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 280และ 385 คือ 35
3.   ครูและนักเรียนรวมกันสรุปวิธีการหา ห.ร.ม.
4.   ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละไมเกิน 3 คน แลวใหนักเรียนทํากิจกรม
     “งานในชั้ น เรียน” โดยให แตละกลุมเลือกหัวหนาเพื่ อนํ าเสนอคํ าตอบ
     หนาชั้นเรียน ครูและนักเรียนชวยกับตรวจสอบความถูกตอง
5.   ครู ใ ห นั ก เรี ย นทํ ากิ จ กรรมที่ 1.1 ในหนั งสื อ เรี ย นเสริ ม มาตรฐานแม็ ค
     คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ขอ 1-6 โดยใหนักเรียนทําเปนกลุม ใหเวลา 15
     นาที ครูและนักเรียนชวยกันเฉลยคําตอบ
6.   ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมที่ 1.1 เปนการบาน
แผนการจัดการเรียนรูเสริมคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1                   7



   5.3 ขั้นสรุป
       ครูและนักเรียนชวยกันสรุปวิธีการหา ห.ร.ม. ขอสังเกตวิธีการหา ห.ร.ม.ในแตละวิธีมีจุดแข็ง
จุดออนอยางไรและการนําไปใช

6. สื่อการเรียนรู / แหลงการเรียนรู
   6.1 สื่อการเรียนรู
        1) งานในชั้นเรียน
        2) กิจกรรมที่ 1.1 ในหนังสือเรียนเสริมมาตรฐานแม็ค คณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้น ม.1
   6.2 แหลงการเรียนรู
        1) หองสมุดโรงเรียน
        2) หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

7. กิจกรรมเสนอแนะ
    7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห
          ขั้นรวบรวมขอมูล
          นักเรียนแตละกลุมกําหนดจํานวนนับ 2 จํานวน และชวยกันหา ห.ร.ม. ของจํานวนนับตามวิธี
ที่นักเรียนสนใจ
          ขั้นวิเคราะห
          นักเรียนแตละกลุมบอกจุดแข็งและจุดออนของวิธีหา ห.ร.ม. ที่นักเรียนแตละกลุมเลือกทําแลว
ใหหวหนาหองรวบรวมและสรุปวาวิธีใดที่นักเรียนสนใจนําไปใชในการ ห.ร.ม. มากที่สุด
        ั
          ขั้นสรุป
          ครูตรวจสอบวิธีการหา ห.ร.ม. และจุดแข็งจุดออนของแตละกลุม พรอมใหขอเสนอแนะ
แลวใหหัวหนาหองรวบรวมจุดแข็งจุดออนของทุกกลุม สรุป และทําเปนรูปเลมรายงานสงครู
          ขั้นประยุกตใช
          ครูใหนักเรียนเลือกวิธีการหา ห.ร.ม. ที่นักเรียนสนใจไปทํากิจกรรมที่ 1.1 หนา 7 – 12
    7.2 กิจกรรมบูรณาการ
          ครูสามารถนําความรูเรื่องการหา ห.ร.ม. ไปใชในการพัฒนาผูเรียนในเรื่องของการจัดหมู จัด
กลุม จัดกองลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด และผูบําเพ็ญประโยชน รวมทั้งการจัดแบงสิ่งของตางๆ เพื่อ
ใหนกเรียนไดลงมือปฏิบัติตามกิจกรรมในแตละฐาน เปนตน
      ั
แผนการจัดการเรียนรูเสริมคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1                                                                                  8



8. บันทึกหลังสอน
                                            บันทึกหลังสอน
                              (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน)
                    ประเด็นการบันทึก                        จุดเดน         จุดที่ควรปรับปรุง

 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู

 2. การใชสื่อการเรียนรู

 3. การประเมินผลการเรียนรู

 4. การบรรลุผลการเรียนรูของนักเรียน

 บันทึกเพิ่มเติม
 ............................................................................................................................................................
 ............................................................................................................................................................
 ............................................................................................................................................................
 ............................................................................................................................................................
 ............................................................................................................................................................

                                                                               ลงชื่อ ............................................................ผูสอน


 บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู
 ............................................................................................................................................................
 ............................................................................................................................................................
 ............................................................................................................................................................

                                                                              ลงชื่อ .......................................................................
                                                                              ตําแหนง ..................................................................
แผนการจัดการเรียนรูเสริมคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1                                                                             9



9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล
      แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
                       แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร
ชื่อนักเรียน ............................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................ ป ....................
ครั้งที่ .............................................................. ผูสังเกต ......................................................................

                                                                                                    ระดับการประเมิน
                         หัวขอการประเมิน
                                                                                  ดีมาก             ดี    พอใช ควรปรับปรุง
  ความสนใจ
  การตอบคําถาม
  การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน
  การใชความรู / ทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร
  ในการแกปญหาตางๆ
  ความสามารถในการใช ภาษาและสั ญลั กษณ ท าง
  คณิตศาสตรในการสื่อสาร สื่อความหมาย


     แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม
                              แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม
วิชาคณิตศาสตร ระดับชั้น ............................. ประจําวันที่ ................................. กลุมที่ ....................

                                                                                            ระดับการประเมิน
                  หัวขอการประเมิน
                                                                     ดีมาก               ดี     ปานกลาง นอย                           นอยมาก
  การวางแผนแบงงาน
  การมีสวนรวมในการทํางาน
  ความสามัคคีภายในกลุม
  ความคิดสรางสรรค
  ผลการทํางาน
แผนการจัดการเรียนรูเสริมคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1       10



                                         แผนการจัดการเรียนรูที่ 1/2
                                   เรื่อง ตัวคูณรวมนอยและการนําไปใช
                                               เวลา 3 ชั่วโมง

1. เปาหมายการเรียนรู
    1.1 ผลการเรียนรู
        สามารถนําความรูและสมบัติเกี่ยวกับจํานวนเต็มไปใชในการแกปญหาได
    1.2 จุดประสงคการเรียนรู
        สามารถนําความรูและสมบัติเกี่ยวกับจํานวนเต็มไปใชในการแกปญหาได

2. สาระสําคัญ
    2.1 สาระการเรียนรู
        ตัวคูณรวมนอยและการนําไปใช
    2.2 ทักษะ / กระบวนการ
        การคิดวิเคราะห การใหเหตุผล การคิดคํานวณ
    2.3 ทักษะการคิด
        ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการใหเหตุผล ทักษะการคิดคํานวณ

3. รองรอยการเรียนรู
      3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน
          1) ผลงานจากการทํางานในชั้นเรียน 1 รายการ
          2) ผลงานจากการทํากิจกรรมที่ 1.2
      3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
          1) จัดกลุม กลุมละไมเกิน 3 คน
          2) แบงหนาที่ ไดแก ผูปฏิบัติกิจกรรม ผูบันทึกผลการจัดกิจกรรม เปนตน
          3) รวมกันปฏิบัติกิจกรรมและสรุปผล
          4) นําเสนอผลงาน
          5) สงผลการจัดกิจกรรม
      3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
          1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม
          2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
แผนการจัดการเรียนรูเสริมคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1                        11



      3.4 ความรูความเขาใจ
          นักเรียนสามารถหา ค.ร.น. และนําไปใชได

4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
   เกณฑขั้นต่ํา
      1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป
      2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป
      3) ทําไดถูกตอง 50% ขึ้นไป
   การสรุปผลการประเมิน
      ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ

5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู
    5.1 ขั้นนํา
        1) ครูใหนักเรียนหาจํานวนนับที่หารดวยจํานวนนับที่กาหนดใหลงตัว เชน
                                                                      ํ
             จํานวนนับที่ 3 หารลงตัว ไดแก 3, 6, 9, 12, 15, 18, 21, 24, 27, ...
             จํานวนนับที่ 4 หารลงตัว ไดแก 4, 8, 12, 16, 20, 24, 28, 32, 36, ...
        2) เราเรียก 3, 6, 9, 12, 15, 18, 21, 24, 27, ... ที่ 3 หารลงตัววา พหุคูณของ 3
             และ เรียก 4, 8, 12, 16, 20, 24, 28, 32, 36, ... ที่ 4 หารลงตัววา พหุคูณของ 4
     5.2 ขั้นสอน
                           กิจกรรมการเรียนการสอน                                        ฝกการคิดแบบ
1. ครูใหนักเรียนเขียนวงกลมจํานวนนับที่ 3 และ 4 หารลงตัวไดแก                      ทักษะการคิดคํานวณ
   จํานวนนับที่ 3 หารลงตัว ไดแก 3, 6, 9, 12, 15, 18, 21, 24, 27, ...
   จํานวนนับที่ 4 หารลงตัว ไดแก 4, 8, 12, 16, 20, 24, 28, 32, 36, ...
2. นักเรียนและครูชวยกันสรุปจํานวนนับที่ 3 และ 4 หารลงตัว ไดดังนี้
                                                                                   ทักษะการคิดวิเคราะห
             12, 24, 36, …เปนพหุคูณของ 3 และ 4                                     ทักษะการใหเหตุผล
             เรียก 12, 24, 36, …วาเปนพหุคูณรวมของ 3 และ 4
             และ 12 เปนพหุคูณรวมนอยที่สุดของ 3 และ 4
             ดังนั้น ตัวคูณรวมนอยของ 3 และ 4 คือ 12
             หรือ ค.ร.น. ของ 3 และ 4 คือ 12
แผนการจัดการเรียนรูเสริมคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1                     12



                          กิจกรรมการเรียนการสอน                              ฝกการคิดแบบ
3. ใหนักเรียนศึกษาตัวอยางที่ 5 ดังนี้
ตัวอยางที่ 5 จงหา ค.ร.น. ของ 12 และ 16
วิธีทํา พหุคูณ ของ 12 ไดแก 12, 24, 36, 48, 60, 72, 84, 96, ...
           พหุคูณ ของ 16 ไดแก 16, 32, 48, 64, 80, 96, ...
           48, 96, …เปนพหุคูณรวมของ 12 และ 16
           48 เปนพหุคูณรวมที่นอยที่สุดของ 12 และ 16
           ดังนั้น ค.ร.น. ของ 12 และ 16 คือ 48
ตอบ 48
4. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปวิธีหา ค.ร.น.และใหนักเรียนทํากิจกรรมที่ 1.2 ทักษะการคิดวิเคราะห
    ขอ 1 ขอยอย 1 – 5 ครูตรวจสอบความถูกตอง
5. ครูแนะนําการหา ค.ร.น.วิธท่ี 2 โดยการแยกตัวประกอบ ตามตัวอยางที่ 6 ทักษะการคิดคํานวณ
                               ี
ตัวอยางที่ 6 จงหา ค.ร.น. ของ 8, 12 และ 20
วิธีทํา แยกตัวประกอบของ 8, 12 และ 20 ดังนี้

                    8=       2 × 2 ×2
                   12 =      2 × 2 ×3
                   20 =      2 × 2 ×5

       พหุคูณรวมที่นอยที่สุดของ 8, 12 และ 20 คือ 120
        2 × 2 × 2 × 3 × 5 = 120
ตอบ 120
6. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปวิธีหา ค.ร.น.ดวยวิธีแยกตัวประกอบ                    ทักษะการคิดวิเคราะห
7. ครูใหนักเรียนฝกทักษะการหา ค.ร.น. โดยวิธีแยกตัวประกอบ                        ทักษะการคิดคํานวณ
   1. จงหา ค.ร.น. ของ 12 และ 18
   2. จงหา ค.ร.น. ของ 36 และ 48
   3. จงหา ค.ร.น. ของ 20 และ 25 ครูตรวจสอบความถูกตอง
แผนการจัดการเรียนรูเสริมคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1                            13



                          กิจกรรมการเรียนการสอน                                            ฝกการคิดแบบ
8. ครูแนะนําวิธีท่ี 3 การหา ค.ร.น. โดยวิธีตั้งหาร
ตัวอยางที่ 7 จงหา ค.ร.น. ของ 20, 30 และ 40
วิธีทํา       2) 20 30 40
              2) 10 15 20
              5) 5 15 10
                  1 3 2
              ค.ร.น. ของ 20, 30 และ 40 คือ (2×2×5) 1×3×2 = 120
ตอบ 120
9. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปวิธหา ค.ร.น.ดวยวิธการตั้งหาร
                                   ี                      ี
10. ครูใหนั กเรียนแบ งกลุม กลุมละ 3 – 4 คน แลวให นักเรียนทํากิจกรรม
     “งานในชั้ น เรีย น” ข อ 1 โดยให แ ต ล ะกลุ ม เลื อกหั ว หน าเพื่ อ นํ าเสนอ
     คําตอบหนาชั้นเรียน ครูและนักเรียนชวยกับตรวจสอบความถูกตอง
11. ครูแนะนําจํานวนสองจํานวนซึ่งเปนจํานวนเฉพาะสัมพัทธ                                 ทักษะการคิดวิเคราะห
     เชน 8 และ 9 เปนจํานวนที่มี ห.ร.ม. เปน 1
     เราเรียก 8 และ 9 วาเปนจํานวนเฉพาะสัมพัทธ
     ดังนั้น ค.ร.น. ของ 8 และ 9 คือ 8 × 9 = 72
     ค.ร.น. ของสองจํานวนนั้นคือผลคูณของสองจํานวนนั้น
12. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปจํานวนเฉพาะสัมพัทธ
13. ครูใหนักเรียนแตละกลุมทํากิจกรรมในชั้นเรียน ขอ 2 ครูและนักเรียน
     ชวยกันตรวจสอบความถูกตอง
14. ครูและนักเรียนชวยกันสรุปการหา ค.ร.น ดวยวิธีตางๆ และเขียนสรุป                     ทักษะการคิดวิเคราะห
     จุดเดนและจุดดอยของแตละวิธี อภิปรายรวมกัน                                       ทักษะการใหเหตุผล
15. ครูใหนักเรียนแตละกลุมทํากิจกรรมที่ 1.2 ขอ 2 ครูตรวจสอบความถูก
     ตองบนกระดาน
16. ครูแนะนําการนําความรูเกี่ยวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ไปใชในชีวิตประจํา
     วันดวยการอธิบายโจทยปญหา
17. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปการนําความรูเกี่ยวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น.ไป                 ทักษะการคิดวิเคราะห
     ใชในชีวิตประจําวัน
แผนการจัดการเรียนรูเสริมคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1                  14



                       กิจกรรมการเรียนการสอน                                     ฝกการคิดแบบ
18.ใหนักเรียนทํากิจกรรมที่ 1.2 ครูและนักเรียนรวมกันตรวจสอบความถูก
    ตองบนกระดาน
19.ใหนักเรียนทําแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนประจําหนวย

    5.3 ขั้นสรุป
        ครูและนักเรียนชวยกันสรุปวิธีการหา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. และความสัมพันธของ ห.ร.ม. และ
ค.ร.น.

6. สื่อการเรียนรู / แหลงการเรียนรู
   6.1 สื่อการเรียนรู
        1) งานในชั้นเรียน
        2) กิจกรรมที่ 1.2 ในหนังสือเรียนเสริมมาตรฐานแม็ค คณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้น ม.1
   6.2 แหลงการเรียนรู
        1) หองสมุดโรงเรียน
        2) หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

7. กิจกรรมเสนอแนะ
    7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห
          ขั้นรวบรวมขอมูล
          นักเรียนแตละกลุมกําหนดจํานวนนับ 2 จํานวน และชวยกันหา ค.ร.น. ของจํานวนนับตามวิธี
ที่นักเรียนสนใจ
          ขั้นวิเคราะห
          นักเรียนแตละกลุมบอกจุดแข็งและจุดออนของวิธีหา ค.ร.น. ที่นักเรียนแตละกลุมเลือกทําแลว
ใหหัวหนาหองรวบรวมและสรุปวาวิธใดที่นักเรียนสนใจนําไปใชในการ ค.ร.น. มากที่สุด
                                      ี
          ขั้นสรุป
             ครูตรวจสอบวิธีการหา ค.ร.น. และจุดแข็งจุดออนของแตละกลุม พรอมใหขอเสนอแนะ
แลวใหหวหนาหองรวบรวมจุดแข็งจุดออนของทุกกลุม สรุป และทําเปนรูปเลมรายงานสงครู
           ั
             ขั้นประยุกตใช
          ครูใหนักเรียนเลือกวิธการหา ค.ร.น. ที่นักเรียนสนใจไปทํากิจกรรมที่ 1.2
                                ี
แผนการจัดการเรียนรูเสริมคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1            15



    7.2 กิจกรรมบูรณาการ
        ครูสามารถนําความรูเรื่องการหา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ไปใชในเรื่องของการจัดสิ่งของ กําหนด
จํานวนนักเรียนไปจัดกิจกรรมนอกเวลาเรียน
แผนการจัดการเรียนรูเสริมคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1                                                                              16



8. บันทึกหลังสอน
                                            บันทึกหลังสอน
                              (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน)
                    ประเด็นการบันทึก                        จุดเดน         จุดที่ควรปรับปรุง

 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู

 2. การใชสื่อการเรียนรู

 3. การประเมินผลการเรียนรู

 4. การบรรลุผลการเรียนรูของนักเรียน

 บันทึกเพิ่มเติม
 ............................................................................................................................................................
 ............................................................................................................................................................
 ............................................................................................................................................................
 ............................................................................................................................................................
 ............................................................................................................................................................

                                                                               ลงชื่อ ............................................................ผูสอน


 บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู
 ............................................................................................................................................................
 ............................................................................................................................................................
 ............................................................................................................................................................

                                                                              ลงชื่อ .......................................................................
                                                                              ตําแหนง ..................................................................
แผนการจัดการเรียนรูเสริมคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1                                                                             17



9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล
      แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
                       แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร
ชื่อนักเรียน ............................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................ ป ....................
ครั้งที่ .............................................................. ผูสังเกต ......................................................................

                                                                                                    ระดับการประเมิน
                         หัวขอการประเมิน
                                                                                  ดีมาก             ดี    พอใช ควรปรับปรุง
  ความสนใจ
  การตอบคําถาม
  การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน
  การใชความรู / ทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร
  ในการแกปญหาตางๆ
  ความสามารถในการใช ภาษาและสั ญลั กษณ ท าง
  คณิตศาสตรในการสื่อสาร สื่อความหมาย


     แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม
                              แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม
วิชาคณิตศาสตร ระดับชั้น ............................. ประจําวันที่ ................................. กลุมที่ ....................

                                                                                            ระดับการประเมิน
                  หัวขอการประเมิน
                                                                     ดีมาก               ดี     ปานกลาง นอย                           นอยมาก
  การวางแผนแบงงาน
  การมีสวนรวมในการทํางาน
  ความสามัคคีภายในกลุม
  ความคิดสรางสรรค
  ผลการทํางาน
แผนการจัดการเรียนรูเสริมคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1                                                                              18



                          การประเมินและสะทอนตนเองหลังเสร็จสิ้นการเรียนในหนวยการเรียนรูที่ 1
                                             (Self Reflection)

1. การประเมินตนเองของนักเรียน ใหดําเนินการดังนี้
   1.1 ครูทบทวนผลการเรียนรูประจําบททุกขอ ใหนักเรียนไดทราบ โดยอาจเขียนไวบนกระดาน
พรอมทั้งทบทวนถึงหัวขอกิจกรรมการเรียนวาไดเรียนอะไรบาง
   1.2 ใหนักเรียนเขียนบันทึกการประเมินตนเองไวในสมุดงานดานหลังตามหัวขอดังนี้

                            บันทึกการประเมินและสะทอนตนเองประจําหนวยการเรียนรูที่ 1
                                 วัน/เดือน/ป ที่บันทึก ................ /................ /................

รายการบันทึก
1. จากการเรียนที่ผานมาไดมีความรูอะไรบาง
   ...........................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................…
2. ปจจุบันนี้มีความสามารถปฏิบัติสิ่งใดไดแลวบาง
   ...........................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................…
3. สิ่งที่ยังไมรู ไมกระจาง ไมเขาใจ มีอะไรบาง
   ...........................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................…
4. ผลงานหรือชิ้นงานที่เนนความภาคภูมิใจจากการเรียนในบทนี้คืออะไร ทําไมจึงภาคภูมิใจ
   ...........................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................…

2. การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใชกระบวนการวิจยในชั้นเรียนของครู                     ั
                       ชื่อเรื่องที่วิจัย …………………………………………………………
1. ความเปนมาของปญหา
   สิ่งที่คาดหวัง
   ...........................................................................................................................................................
    ........................................................................................................................................................…
แผนการจัดการเรียนรูเสริมคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1                                                                              19



   สิ่งที่เปนจริง
   ...........................................................................................................................................................
    ........................................................................................................................................................…
    ปญหาที่พบคือ
    ...........................................................................................................................................................
    ........................................................................................................................................................…
   สาเหตุของปญหาคือ
   ..............................................................................................................................................…..........
   ..............................................................................................................................................…..........
   แนวทางการแกไขปญหาคือ
   ..............................................................................................................................................…..........
   ..............................................................................................................................................…..........
2. วัตถุประสงคในการแกปญหา
  2.1 เพื่อแกปญหาเรื่อง ........................................................................................................…...... ของ
         นักเรียนชั้น ...................... หอง .................... จํานวน ................. คน โดยใช..............................
         ......................................................................................................................................................
  2.2 เพื่อศึกษาผลการแกไขปญหาเกี่ยวกับ............................................................................................
        หลังจากที่ไดทดลองใชวิธีแกปญหาโดย........................................................................................
3. ขอบเขตของการแกปญหา
  3.1 กลุมเปาหมายในการแกปญหาคือ นักเรียนชั้น .................หอง ..............จํานวน ................... คน
         ในภาคเรียนที่ ............. ปการศึกษา ...................... ที่มปญหาเกี่ยวกับ ..........................................
                                                                                              ี
  3.2 เนื้อหาที่ใชในการศึกษาคือ เรื่อง ........................... หนวยการเรียนรูที่ ........................................
         วิชา................................................................................................................................................
  3.3 ระยะเวลาในการศึกษา ประมาณ ....... สัปดาห / เดือน ตั้งแตวันที่ ..... เดือน ............... พ.ศ. ........
         ถึงวันที่ ........ เดือน .......................... พ.ศ. ..................
4. วิธีดาเนินการในการแกไขปญหา
          ํ
  4.1 เครื่องมือที่ใชในการแกปญหา คือ..................................................................................................
         .......................................................................................................................................................
แผนการจัดการเรียนรูเสริมคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1                                                                            20



       ซึ่งมีขั้นตอนในการสรางและพัฒนาดังนี้
        ......................................................................................................................................................
        ......................................................................................................................................................
       ......................................................................................................................................................
  4.2 เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลคือ ...................................................................................
       ......................................................................................................................................................
      ซึ่งมีขั้นตอนในการสรางและตรวจสอบคุณภาพดังนี้
       ......................................................................................................................................................
       ......................................................................................................................................................
       ......................................................................................................................................................
  4.3 การเก็บรวบรวมขอมูล ไดดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลตามวิธีการดังนี้
      1) นําเครื่องมือที่ใชในการแกปญหาไปทดลองใชกับนักเรียนในเวลา ....................................…..
             โดย….............................................................................................................................……
              ...............................................................................................................................................
              ...............................................................................................................................................
        2) นําเครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูลไปเก็บขอมูลเกี่ยวกับ ............................................................
            โดย ………............................................................................................................................
              ...............................................................................................................................................
              ...............................................................................................................................................
  4.4 การวิเคราะหขอมูลและการสรุปผล ไดดําเนินการวิเคราะหขอมูลและสรุปผลดังนี้
       ......................................................................................................................................................
       ......................................................................................................................................................
       ......................................................................................................................................................
       ......................................................................................................................................................
แผนการจัดการเรียนรูเสริมคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1                                                                              21



5. ผลการแกปญหา       
   ผลการแกปญหาเกี่ยวกับ ....................................................................................................................
  ของนักเรียนกลุมเปาหมาย ปรากฏผลดังนี้
  .............................................................................................................................................................
   ............................................................................................................................................................
   ............................................................................................................................................................
   ............................................................................................................................................................
   .….......................................................................................................................................................

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
Aon Narinchoti
 

Mais procurados (20)

Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Pro1
Pro1Pro1
Pro1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
แผนการสอนเลขยกกำลัง
แผนการสอนเลขยกกำลังแผนการสอนเลขยกกำลัง
แผนการสอนเลขยกกำลัง
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 

Destaque

ใบความรู้บทที่ 1 สมบัติของจำนวนนับ
ใบความรู้บทที่ 1 สมบัติของจำนวนนับใบความรู้บทที่ 1 สมบัติของจำนวนนับ
ใบความรู้บทที่ 1 สมบัติของจำนวนนับ
pairtean
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จำนวนนับ 1 5 และ 0
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จำนวนนับ 1 5 และ 0หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จำนวนนับ 1 5 และ 0
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จำนวนนับ 1 5 และ 0
Sirinyapat21201
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
Inmylove Nupad
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
Inmylove Nupad
 
Worksheet 3 addition & subtraction
Worksheet 3 addition & subtractionWorksheet 3 addition & subtraction
Worksheet 3 addition & subtraction
krunamthip
 
สมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับสมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับ
sumonrat_2325
 
แบบฝึกหัดจำนวนคู่และจำนวนคี่
แบบฝึกหัดจำนวนคู่และจำนวนคี่แบบฝึกหัดจำนวนคู่และจำนวนคี่
แบบฝึกหัดจำนวนคู่และจำนวนคี่
Nan NaJa
 

Destaque (20)

คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับคณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
 
ใบความรู้บทที่ 1 สมบัติของจำนวนนับ
ใบความรู้บทที่ 1 สมบัติของจำนวนนับใบความรู้บทที่ 1 สมบัติของจำนวนนับ
ใบความรู้บทที่ 1 สมบัติของจำนวนนับ
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จำนวนนับ 1 5 และ 0
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จำนวนนับ 1 5 และ 0หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จำนวนนับ 1 5 และ 0
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จำนวนนับ 1 5 และ 0
 
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
 
แผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็ม
แผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็มแผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็ม
แผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็ม
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
เอกสารประกอบ ตัวประกอบ
เอกสารประกอบ ตัวประกอบเอกสารประกอบ ตัวประกอบ
เอกสารประกอบ ตัวประกอบ
 
แผน 1 12
แผน 1 12แผน 1 12
แผน 1 12
 
Worksheet 3 addition & subtraction
Worksheet 3 addition & subtractionWorksheet 3 addition & subtraction
Worksheet 3 addition & subtraction
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
52 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหน่วย
52 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหน่วย52 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหน่วย
52 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหน่วย
 
ปกโครงงาน
ปกโครงงานปกโครงงาน
ปกโครงงาน
 
สมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับสมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับ
 
แบบฝึกหัดจำนวนคู่และจำนวนคี่
แบบฝึกหัดจำนวนคู่และจำนวนคี่แบบฝึกหัดจำนวนคู่และจำนวนคี่
แบบฝึกหัดจำนวนคู่และจำนวนคี่
 
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบส
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบสวิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบส
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบส
 
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมีวิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
 
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่390 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
 

Semelhante a แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ

Semelhante a แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ (20)

Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 

แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ

  • 1. หนวยการเรียนรูที่ 1 สมบัติของจํานวนนับ รายวิชาที่นํามาบูรณาการ - 1. มาตรฐานการเรียนรู มฐ. ค 1.4 และ มฐ. ค 6.1 2. ตัวชี้วัดชั้นปที่เกี่ยวของ 2.1 ค 1.4 ม.1/1 2.2 ค 6.1 ม.1/2, 3, 5 3. สาระการเรียนรูประจําหนวย 3.1 ตัวหารรวมมากและการนําไปใช 3.2 ตัวคูณรวมนอยและการนําไปใช 4. รองรอยการเรียนรู 4.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ไดแก 1) ผลงานจากการทํางานในชั้นเรียน 2 รายการ 2) ผลงานจากการทํากิจกรรมที่ 1.1 กิจกรรมที่ 1.2 3) ผลงานจากการทําแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนประจําหนวย 4.2 ผลการปฏิบัติงาน ไดแก 1) การปฏิบัติงานในชั้นเรียนและกิจกรรม 1.1 – 1.2 2) การมีสวนรวมในการปฏิบัติกิจกรรมกลุม 4.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนประจําหนวย
  • 2. แผนการจัดการเรียนรูเสริมคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 2 5. แนวทางการจัดการเรียนรูในภาพรวม แนวทางการจัดการเรียนรู รองรอยการเรียนรู บทบาทครู บทบาทนักเรียน 5.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ไดแก 1) งานในชั้ น เรี ย น 2 ราย - ใหนักเรียนปฏิบัติงานในชั้น - แสดงพฤติ ก รรมการเรีย นรู การ เรียนตามเอกสาร “ หนังสือ ทั้ ง งานเดี่ ย วและงานกลุ ม เรี ย น เส ริ ม ค ณิ ต ศ าส ต ร ตามงาน ที่ กํ า ห น ดใน ชั้ น พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ เรียน 1” 2) กิจกรรม 2 กิจกรรม - ให นั ก เรี ย นปฏิ บั ติ กิ จ กรรม - แสดงพฤติ ก รรมการเรี ย นรู ในชั้ น เรี ย นและ/หรื อ นอก ทั้ ง งานเดี่ ย วและงานกลุ ม ห องเรี ย น ตามเอกสาร “ ตามกิ จ กรรมที่ ไ ด รั บ การ ห นั ง สื อ เ รี ย น เ ส ริ ม เรียนรู คณิ ต ศาสตร พื้ น ฐาน ชั้ น มัธยมศึกษาปที่ 1 ” 5.2 ผลการปฏิบัติงาน ไดแก 1) การป ฏิ บั ติ งาน ใน ชั้ น - สาธิ ต การปฏิ บั ติ ง านในชั้ น - ให นั ก เรี ย นเรี ย นรู ด ว ยการ เรี ย น แล ะก ารป ฏิ บั ติ เรี ย นและกิ จ กรรมใน/นอก สังเกตจากการสาธิตของครู กิ จกรรม ใน /น อกชั้ น ชั้นเรียน และลงมื อ ปฏิ บั ติ ง านใน/ เรียน - ครู ค อยให คํ า แนะนํ า ขณะที่ นอกชั้นเรียน นั ก เรี ย นปฏิ บั ติ ง านในชั้ น เรียน 2) แบบบั น ทึ ก พฤติ ก รรม - การทําแบบบันทึกพฤติกรรม - นั ก เรี ย นทํ า งานในชั้ น เรี ย น การเรี ย นและการร ว ม การเรียนและการรวมทํ างาน และการปฏิบัติกิจกรรมตาม ทํางานกลุม กลุม ที่ไดรับมอบหมายพรอมทั้ง สรุปผลการทํากิจกรรมของ ตนเองและการทํางานกลุม 5.3 การทดสอบผลสัมฤทธิ์ทาง - สรุปสาระการเรียนรูที่สําคัญ - ทําแบบทดสอบ การเรียนประจําหนวย ตามแผนผั ง ความคิ ด ประจํ า หนวย
  • 3. แผนการจัดการเรียนรูเสริมคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 3 แผนการจัดการเรียนรูที่ 1/1 เรื่อง ตัวหารรวมมากและการนําไปใช เวลา 3 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู สามารถนําความรูและสมบัติเกี่ยวกับจํานวนเต็มไปใชในการแกปญหาได 1.2 จุดประสงคการเรียนรู สามารถนําความรูและสมบัติเกี่ยวกับจํานวนเต็มไปใชในการแกปญหาได 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู ตัวหารรวมมากและการนําไปใช 2.2 ทักษะ / กระบวนการ การคิดวิเคราะห การคิดคํานวณ การใหเหตุผล 2.3 ทักษะการคิด ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการคิดคํานวณ ทักษะการใหเหตุผล 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน 1) ผลงานจากการทํางานในชั้นเรียน 1 รายการ 2) ผลงานจากการทํากิจกรรมที่ 1.1 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) จัดกลุม กลุมละไมเกิน 3 คน 2) แบงหนาที่ ไดแก ผูปฏิบัติกิจกรรม ผูบันทึกผลการจัดกิจกรรม เปนตน 3) รวมกันปฏิบัติกิจกรรมและสรุปผล 4) นําเสนอผลงาน 5) สงผลการจัดกิจกรรม 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม 2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
  • 4. แผนการจัดการเรียนรูเสริมคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 4 3.4 ความรูความเขาใจ 1) นักเรียนสามารถแยกตัวประกอบของจํานวนนับได 2) นักเรียนสามารถหา ห.ร.ม. และนําไปใชได 4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล เกณฑขั้นต่ํา 1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป 2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป 3) ทําไดถูกตอง 50% ขึ้นไป การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู 5.1 ขั้นนํา 1) ครูทบทวนเกี่ยวกับจํานวนนับ ตัวประกอบ ตัวประกอบรวม จํานวนเฉพาะ ตัวประกอบ เฉพาะและ การแยกตัวประกอบโดยเขียนจํานวนบนกระดานแลวใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ - จํานวนที่นักเรียนนับเรียกวาจํานวนนับ โดยเริ่มนับตั้งแตเลขใด ( 1 ) - จํานวนนับที่นอยที่สุดไดแกจํานวนใด ( 1 ) - จํานวนนับที่มากที่สุดไดแกจํานวนใด ( ไมมี ) - ตัวประกอบของจํานวนนับใดคือจํานวนนับที่หารจํานวนนับนั้นไดลงตัว ดังนั้น ตัวประกอบทั้งหมดของ 12 คือจํานวนใด (1, 2, 3, 4, 6 และ 12) ตัวประกอบทั้งหมดของ 15 คือจํานวนใด (1, 3, 5 และ 15) - จํานวนใดเปนตัวประกอบรวมของ 12 และ 15 ( 3 ) - จํานวนเฉพาะเปนจํานวนประเภทใด ( จํานวนนับที่มากกวา 1 และมีตัวประกอบเพียง 2 ตัว ไดแก 1 และตัวเอง ) - ตัวประกอบที่เปนจํานวนเฉพาะ เราเรียกวาอะไร (ตัวประกอบเฉพาะ)
  • 5. แผนการจัดการเรียนรูเสริมคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 5 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 1. ครูยกตัวอยางจํานวนนับที่หาร 24 และ 32 ลงตัว ทักษะการคิดวิเคราะห จํานวนนับที่หาร 24 ลงตัว ไดแก 1, 2, 3, 4, 6, 8, 12 และ 24 ทักษะการคิดคํานวณ จํานวนนับที่หาร 32 ลงตัว ไดแก 1, 2, 3, 4, 8, 16 และ 32 ทักษะการใหเหตุผล แลวใหนักเรียนชวยกันตอบคําถามตอไปนี้ - จํานวนใดบางเปนตัวหารรวมของ 24 และ 32 - จํานวนใดเปนตัวหารรวมมากที่สุดของ 24 และ 32 - ห.ร.ม.ของจํานวน 24 และ 32 คือจํานวนใด 2. ครูยกตัวอยางการหา ห.ร.ม. ดวยวิธีพิจารณาตัวประกอบ วิธีการแยกตัว ทักษะการคิดวิเคราะห ประกอบวิธีการตั้งหาร และขั้นตอนวิธีของยุคลิคบนกระดานและศึกษา ทักษะการคิดคํานวณ จากหนังสือเรียนเสริมมาตรฐานแม็ค คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ทักษะการใหเหตุผล วิธที่ 1 โดยการพิจารณาตัวประกอบ ี ตัวอยางที่ 1 จงหา ห.ร.ม. ของ 54 และ 72 วิธทํา ี ตัวประกอบของ 54 ไดแก 1, 2, 3, 6, 9, 18, 27 และ 54 ตัวประกอบของ 72 ไดแก 1, 2, 3, 4, 6, 8, 9, 12, 18, 24, 36 และ 74 ตัวประกอบของ 54 และ 72 ไดแก 1, 2, 3, 6, 9 และ 18 ตัวประกอบรวมที่มากที่สุดของ 54 และ 72 คือ 18 ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 54 และ 72 คือ 18 ตอบ 18 วิธที่ 2 โดยการแยกตัวประกอบ ี ตัวอยางที่ 2 จงหา ห.ร.ม. ของ 24 และ 30 วิธีทํา แยกตัวประกอบของ 24 และ 30 ดังนี้ 24 = 3 × 2 × 2 × 2 30 = 3 × 2 × 5 ตัวประกอบรวมที่มากที่สุดของ 24 และ 30 คือ 3×2 = 6 ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 24 และ 30 คือ 6
  • 6. แผนการจัดการเรียนรูเสริมคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 6 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ วิธีที่ 3 โดยการตั้งหาร ตัวอยางที่ 3 จงหา ห.ร.ม. ของ 18, 27 และ 45 นํา 3 ซึ่งเปนจํานวนเฉพาะที่เปนตัวประกอบรวม ของ 18, 27 และ 45 หารทั้งสามจํานวน วิธีทํา 3) 18 27 45 นํา 3 ซึ่งเปนจํานวนเฉพาะที่เปนตัวประกอบรวม 3) 6 9 15 ของ 6, 9 และ 15 หารทั้งสามจํานวน 2 3 5 ไมมีจํานวนเฉพาะใดเปนตัวประกอบรวมของ 2, 3และ 5 จึงยุติการหาร ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 18, 27 และ 45 คือ 3 × 3 = 9 ตอบ 9 วิธีที่ 4 โดยใชขั้นตอนวิธีของยุคลิด ตัวอยางที่ 4 จงหา ห.ร.ม. ของ 280 และ 385 วิธีทํา 2 280 385 1 1. นํา 280 หาร 385ได 1 เศษ105 210 280 2 70 105 1 2. นํา 105 หาร 280ได 2 เศษ 70 70 70 35 3. นํา 35 หาร 70ได 2 ลงตัวพอดี ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 280และ 385 คือ 35 3. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปวิธีการหา ห.ร.ม. 4. ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละไมเกิน 3 คน แลวใหนักเรียนทํากิจกรม “งานในชั้ น เรียน” โดยให แตละกลุมเลือกหัวหนาเพื่ อนํ าเสนอคํ าตอบ หนาชั้นเรียน ครูและนักเรียนชวยกับตรวจสอบความถูกตอง 5. ครู ใ ห นั ก เรี ย นทํ ากิ จ กรรมที่ 1.1 ในหนั งสื อ เรี ย นเสริ ม มาตรฐานแม็ ค คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ขอ 1-6 โดยใหนักเรียนทําเปนกลุม ใหเวลา 15 นาที ครูและนักเรียนชวยกันเฉลยคําตอบ 6. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมที่ 1.1 เปนการบาน
  • 7. แผนการจัดการเรียนรูเสริมคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 7 5.3 ขั้นสรุป ครูและนักเรียนชวยกันสรุปวิธีการหา ห.ร.ม. ขอสังเกตวิธีการหา ห.ร.ม.ในแตละวิธีมีจุดแข็ง จุดออนอยางไรและการนําไปใช 6. สื่อการเรียนรู / แหลงการเรียนรู 6.1 สื่อการเรียนรู 1) งานในชั้นเรียน 2) กิจกรรมที่ 1.1 ในหนังสือเรียนเสริมมาตรฐานแม็ค คณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้น ม.1 6.2 แหลงการเรียนรู 1) หองสมุดโรงเรียน 2) หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 7. กิจกรรมเสนอแนะ 7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห ขั้นรวบรวมขอมูล นักเรียนแตละกลุมกําหนดจํานวนนับ 2 จํานวน และชวยกันหา ห.ร.ม. ของจํานวนนับตามวิธี ที่นักเรียนสนใจ ขั้นวิเคราะห นักเรียนแตละกลุมบอกจุดแข็งและจุดออนของวิธีหา ห.ร.ม. ที่นักเรียนแตละกลุมเลือกทําแลว ใหหวหนาหองรวบรวมและสรุปวาวิธีใดที่นักเรียนสนใจนําไปใชในการ ห.ร.ม. มากที่สุด ั ขั้นสรุป ครูตรวจสอบวิธีการหา ห.ร.ม. และจุดแข็งจุดออนของแตละกลุม พรอมใหขอเสนอแนะ แลวใหหัวหนาหองรวบรวมจุดแข็งจุดออนของทุกกลุม สรุป และทําเปนรูปเลมรายงานสงครู ขั้นประยุกตใช ครูใหนักเรียนเลือกวิธีการหา ห.ร.ม. ที่นักเรียนสนใจไปทํากิจกรรมที่ 1.1 หนา 7 – 12 7.2 กิจกรรมบูรณาการ ครูสามารถนําความรูเรื่องการหา ห.ร.ม. ไปใชในการพัฒนาผูเรียนในเรื่องของการจัดหมู จัด กลุม จัดกองลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด และผูบําเพ็ญประโยชน รวมทั้งการจัดแบงสิ่งของตางๆ เพื่อ ใหนกเรียนไดลงมือปฏิบัติตามกิจกรรมในแตละฐาน เปนตน ั
  • 8. แผนการจัดการเรียนรูเสริมคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 8 8. บันทึกหลังสอน บันทึกหลังสอน (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน) ประเด็นการบันทึก จุดเดน จุดที่ควรปรับปรุง 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู 2. การใชสื่อการเรียนรู 3. การประเมินผลการเรียนรู 4. การบรรลุผลการเรียนรูของนักเรียน บันทึกเพิ่มเติม ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ลงชื่อ ............................................................ผูสอน บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ลงชื่อ ....................................................................... ตําแหนง ..................................................................
  • 9. แผนการจัดการเรียนรูเสริมคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 9 9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร ชื่อนักเรียน ............................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................ ป .................... ครั้งที่ .............................................................. ผูสังเกต ...................................................................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรุง ความสนใจ การตอบคําถาม การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน การใชความรู / ทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร ในการแกปญหาตางๆ ความสามารถในการใช ภาษาและสั ญลั กษณ ท าง คณิตศาสตรในการสื่อสาร สื่อความหมาย แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม วิชาคณิตศาสตร ระดับชั้น ............................. ประจําวันที่ ................................. กลุมที่ .................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี ปานกลาง นอย นอยมาก การวางแผนแบงงาน การมีสวนรวมในการทํางาน ความสามัคคีภายในกลุม ความคิดสรางสรรค ผลการทํางาน
  • 10. แผนการจัดการเรียนรูเสริมคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 10 แผนการจัดการเรียนรูที่ 1/2 เรื่อง ตัวคูณรวมนอยและการนําไปใช เวลา 3 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู สามารถนําความรูและสมบัติเกี่ยวกับจํานวนเต็มไปใชในการแกปญหาได 1.2 จุดประสงคการเรียนรู สามารถนําความรูและสมบัติเกี่ยวกับจํานวนเต็มไปใชในการแกปญหาได 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู ตัวคูณรวมนอยและการนําไปใช 2.2 ทักษะ / กระบวนการ การคิดวิเคราะห การใหเหตุผล การคิดคํานวณ 2.3 ทักษะการคิด ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการใหเหตุผล ทักษะการคิดคํานวณ 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน 1) ผลงานจากการทํางานในชั้นเรียน 1 รายการ 2) ผลงานจากการทํากิจกรรมที่ 1.2 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) จัดกลุม กลุมละไมเกิน 3 คน 2) แบงหนาที่ ไดแก ผูปฏิบัติกิจกรรม ผูบันทึกผลการจัดกิจกรรม เปนตน 3) รวมกันปฏิบัติกิจกรรมและสรุปผล 4) นําเสนอผลงาน 5) สงผลการจัดกิจกรรม 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม 2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
  • 11. แผนการจัดการเรียนรูเสริมคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 11 3.4 ความรูความเขาใจ นักเรียนสามารถหา ค.ร.น. และนําไปใชได 4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล เกณฑขั้นต่ํา 1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป 2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป 3) ทําไดถูกตอง 50% ขึ้นไป การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู 5.1 ขั้นนํา 1) ครูใหนักเรียนหาจํานวนนับที่หารดวยจํานวนนับที่กาหนดใหลงตัว เชน ํ จํานวนนับที่ 3 หารลงตัว ไดแก 3, 6, 9, 12, 15, 18, 21, 24, 27, ... จํานวนนับที่ 4 หารลงตัว ไดแก 4, 8, 12, 16, 20, 24, 28, 32, 36, ... 2) เราเรียก 3, 6, 9, 12, 15, 18, 21, 24, 27, ... ที่ 3 หารลงตัววา พหุคูณของ 3 และ เรียก 4, 8, 12, 16, 20, 24, 28, 32, 36, ... ที่ 4 หารลงตัววา พหุคูณของ 4 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 1. ครูใหนักเรียนเขียนวงกลมจํานวนนับที่ 3 และ 4 หารลงตัวไดแก ทักษะการคิดคํานวณ จํานวนนับที่ 3 หารลงตัว ไดแก 3, 6, 9, 12, 15, 18, 21, 24, 27, ... จํานวนนับที่ 4 หารลงตัว ไดแก 4, 8, 12, 16, 20, 24, 28, 32, 36, ... 2. นักเรียนและครูชวยกันสรุปจํานวนนับที่ 3 และ 4 หารลงตัว ไดดังนี้  ทักษะการคิดวิเคราะห 12, 24, 36, …เปนพหุคูณของ 3 และ 4 ทักษะการใหเหตุผล เรียก 12, 24, 36, …วาเปนพหุคูณรวมของ 3 และ 4 และ 12 เปนพหุคูณรวมนอยที่สุดของ 3 และ 4 ดังนั้น ตัวคูณรวมนอยของ 3 และ 4 คือ 12 หรือ ค.ร.น. ของ 3 และ 4 คือ 12
  • 12. แผนการจัดการเรียนรูเสริมคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 12 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 3. ใหนักเรียนศึกษาตัวอยางที่ 5 ดังนี้ ตัวอยางที่ 5 จงหา ค.ร.น. ของ 12 และ 16 วิธีทํา พหุคูณ ของ 12 ไดแก 12, 24, 36, 48, 60, 72, 84, 96, ... พหุคูณ ของ 16 ไดแก 16, 32, 48, 64, 80, 96, ... 48, 96, …เปนพหุคูณรวมของ 12 และ 16 48 เปนพหุคูณรวมที่นอยที่สุดของ 12 และ 16 ดังนั้น ค.ร.น. ของ 12 และ 16 คือ 48 ตอบ 48 4. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปวิธีหา ค.ร.น.และใหนักเรียนทํากิจกรรมที่ 1.2 ทักษะการคิดวิเคราะห ขอ 1 ขอยอย 1 – 5 ครูตรวจสอบความถูกตอง 5. ครูแนะนําการหา ค.ร.น.วิธท่ี 2 โดยการแยกตัวประกอบ ตามตัวอยางที่ 6 ทักษะการคิดคํานวณ ี ตัวอยางที่ 6 จงหา ค.ร.น. ของ 8, 12 และ 20 วิธีทํา แยกตัวประกอบของ 8, 12 และ 20 ดังนี้ 8= 2 × 2 ×2 12 = 2 × 2 ×3 20 = 2 × 2 ×5 พหุคูณรวมที่นอยที่สุดของ 8, 12 และ 20 คือ 120 2 × 2 × 2 × 3 × 5 = 120 ตอบ 120 6. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปวิธีหา ค.ร.น.ดวยวิธีแยกตัวประกอบ ทักษะการคิดวิเคราะห 7. ครูใหนักเรียนฝกทักษะการหา ค.ร.น. โดยวิธีแยกตัวประกอบ ทักษะการคิดคํานวณ 1. จงหา ค.ร.น. ของ 12 และ 18 2. จงหา ค.ร.น. ของ 36 และ 48 3. จงหา ค.ร.น. ของ 20 และ 25 ครูตรวจสอบความถูกตอง
  • 13. แผนการจัดการเรียนรูเสริมคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 13 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 8. ครูแนะนําวิธีท่ี 3 การหา ค.ร.น. โดยวิธีตั้งหาร ตัวอยางที่ 7 จงหา ค.ร.น. ของ 20, 30 และ 40 วิธีทํา 2) 20 30 40 2) 10 15 20 5) 5 15 10 1 3 2 ค.ร.น. ของ 20, 30 และ 40 คือ (2×2×5) 1×3×2 = 120 ตอบ 120 9. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปวิธหา ค.ร.น.ดวยวิธการตั้งหาร ี ี 10. ครูใหนั กเรียนแบ งกลุม กลุมละ 3 – 4 คน แลวให นักเรียนทํากิจกรรม “งานในชั้ น เรีย น” ข อ 1 โดยให แ ต ล ะกลุ ม เลื อกหั ว หน าเพื่ อ นํ าเสนอ คําตอบหนาชั้นเรียน ครูและนักเรียนชวยกับตรวจสอบความถูกตอง 11. ครูแนะนําจํานวนสองจํานวนซึ่งเปนจํานวนเฉพาะสัมพัทธ ทักษะการคิดวิเคราะห เชน 8 และ 9 เปนจํานวนที่มี ห.ร.ม. เปน 1 เราเรียก 8 และ 9 วาเปนจํานวนเฉพาะสัมพัทธ ดังนั้น ค.ร.น. ของ 8 และ 9 คือ 8 × 9 = 72 ค.ร.น. ของสองจํานวนนั้นคือผลคูณของสองจํานวนนั้น 12. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปจํานวนเฉพาะสัมพัทธ 13. ครูใหนักเรียนแตละกลุมทํากิจกรรมในชั้นเรียน ขอ 2 ครูและนักเรียน ชวยกันตรวจสอบความถูกตอง 14. ครูและนักเรียนชวยกันสรุปการหา ค.ร.น ดวยวิธีตางๆ และเขียนสรุป ทักษะการคิดวิเคราะห จุดเดนและจุดดอยของแตละวิธี อภิปรายรวมกัน ทักษะการใหเหตุผล 15. ครูใหนักเรียนแตละกลุมทํากิจกรรมที่ 1.2 ขอ 2 ครูตรวจสอบความถูก ตองบนกระดาน 16. ครูแนะนําการนําความรูเกี่ยวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ไปใชในชีวิตประจํา วันดวยการอธิบายโจทยปญหา 17. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปการนําความรูเกี่ยวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น.ไป ทักษะการคิดวิเคราะห ใชในชีวิตประจําวัน
  • 14. แผนการจัดการเรียนรูเสริมคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 14 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 18.ใหนักเรียนทํากิจกรรมที่ 1.2 ครูและนักเรียนรวมกันตรวจสอบความถูก ตองบนกระดาน 19.ใหนักเรียนทําแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนประจําหนวย 5.3 ขั้นสรุป ครูและนักเรียนชวยกันสรุปวิธีการหา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. และความสัมพันธของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. 6. สื่อการเรียนรู / แหลงการเรียนรู 6.1 สื่อการเรียนรู 1) งานในชั้นเรียน 2) กิจกรรมที่ 1.2 ในหนังสือเรียนเสริมมาตรฐานแม็ค คณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้น ม.1 6.2 แหลงการเรียนรู 1) หองสมุดโรงเรียน 2) หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 7. กิจกรรมเสนอแนะ 7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห ขั้นรวบรวมขอมูล นักเรียนแตละกลุมกําหนดจํานวนนับ 2 จํานวน และชวยกันหา ค.ร.น. ของจํานวนนับตามวิธี ที่นักเรียนสนใจ ขั้นวิเคราะห นักเรียนแตละกลุมบอกจุดแข็งและจุดออนของวิธีหา ค.ร.น. ที่นักเรียนแตละกลุมเลือกทําแลว ใหหัวหนาหองรวบรวมและสรุปวาวิธใดที่นักเรียนสนใจนําไปใชในการ ค.ร.น. มากที่สุด ี ขั้นสรุป ครูตรวจสอบวิธีการหา ค.ร.น. และจุดแข็งจุดออนของแตละกลุม พรอมใหขอเสนอแนะ แลวใหหวหนาหองรวบรวมจุดแข็งจุดออนของทุกกลุม สรุป และทําเปนรูปเลมรายงานสงครู ั ขั้นประยุกตใช ครูใหนักเรียนเลือกวิธการหา ค.ร.น. ที่นักเรียนสนใจไปทํากิจกรรมที่ 1.2 ี
  • 15. แผนการจัดการเรียนรูเสริมคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 15 7.2 กิจกรรมบูรณาการ ครูสามารถนําความรูเรื่องการหา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ไปใชในเรื่องของการจัดสิ่งของ กําหนด จํานวนนักเรียนไปจัดกิจกรรมนอกเวลาเรียน
  • 16. แผนการจัดการเรียนรูเสริมคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 16 8. บันทึกหลังสอน บันทึกหลังสอน (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน) ประเด็นการบันทึก จุดเดน จุดที่ควรปรับปรุง 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู 2. การใชสื่อการเรียนรู 3. การประเมินผลการเรียนรู 4. การบรรลุผลการเรียนรูของนักเรียน บันทึกเพิ่มเติม ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ลงชื่อ ............................................................ผูสอน บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ลงชื่อ ....................................................................... ตําแหนง ..................................................................
  • 17. แผนการจัดการเรียนรูเสริมคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 17 9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร ชื่อนักเรียน ............................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................ ป .................... ครั้งที่ .............................................................. ผูสังเกต ...................................................................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรุง ความสนใจ การตอบคําถาม การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน การใชความรู / ทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร ในการแกปญหาตางๆ ความสามารถในการใช ภาษาและสั ญลั กษณ ท าง คณิตศาสตรในการสื่อสาร สื่อความหมาย แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม วิชาคณิตศาสตร ระดับชั้น ............................. ประจําวันที่ ................................. กลุมที่ .................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี ปานกลาง นอย นอยมาก การวางแผนแบงงาน การมีสวนรวมในการทํางาน ความสามัคคีภายในกลุม ความคิดสรางสรรค ผลการทํางาน
  • 18. แผนการจัดการเรียนรูเสริมคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 18 การประเมินและสะทอนตนเองหลังเสร็จสิ้นการเรียนในหนวยการเรียนรูที่ 1 (Self Reflection) 1. การประเมินตนเองของนักเรียน ใหดําเนินการดังนี้ 1.1 ครูทบทวนผลการเรียนรูประจําบททุกขอ ใหนักเรียนไดทราบ โดยอาจเขียนไวบนกระดาน พรอมทั้งทบทวนถึงหัวขอกิจกรรมการเรียนวาไดเรียนอะไรบาง 1.2 ใหนักเรียนเขียนบันทึกการประเมินตนเองไวในสมุดงานดานหลังตามหัวขอดังนี้ บันทึกการประเมินและสะทอนตนเองประจําหนวยการเรียนรูที่ 1 วัน/เดือน/ป ที่บันทึก ................ /................ /................ รายการบันทึก 1. จากการเรียนที่ผานมาไดมีความรูอะไรบาง ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................… 2. ปจจุบันนี้มีความสามารถปฏิบัติสิ่งใดไดแลวบาง ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................… 3. สิ่งที่ยังไมรู ไมกระจาง ไมเขาใจ มีอะไรบาง ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................… 4. ผลงานหรือชิ้นงานที่เนนความภาคภูมิใจจากการเรียนในบทนี้คืออะไร ทําไมจึงภาคภูมิใจ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................… 2. การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใชกระบวนการวิจยในชั้นเรียนของครู ั ชื่อเรื่องที่วิจัย ………………………………………………………… 1. ความเปนมาของปญหา สิ่งที่คาดหวัง ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................…
  • 19. แผนการจัดการเรียนรูเสริมคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 19 สิ่งที่เปนจริง ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................… ปญหาที่พบคือ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................… สาเหตุของปญหาคือ ..............................................................................................................................................….......... ..............................................................................................................................................….......... แนวทางการแกไขปญหาคือ ..............................................................................................................................................….......... ..............................................................................................................................................….......... 2. วัตถุประสงคในการแกปญหา 2.1 เพื่อแกปญหาเรื่อง ........................................................................................................…...... ของ นักเรียนชั้น ...................... หอง .................... จํานวน ................. คน โดยใช.............................. ...................................................................................................................................................... 2.2 เพื่อศึกษาผลการแกไขปญหาเกี่ยวกับ............................................................................................ หลังจากที่ไดทดลองใชวิธีแกปญหาโดย........................................................................................ 3. ขอบเขตของการแกปญหา 3.1 กลุมเปาหมายในการแกปญหาคือ นักเรียนชั้น .................หอง ..............จํานวน ................... คน ในภาคเรียนที่ ............. ปการศึกษา ...................... ที่มปญหาเกี่ยวกับ .......................................... ี 3.2 เนื้อหาที่ใชในการศึกษาคือ เรื่อง ........................... หนวยการเรียนรูที่ ........................................ วิชา................................................................................................................................................ 3.3 ระยะเวลาในการศึกษา ประมาณ ....... สัปดาห / เดือน ตั้งแตวันที่ ..... เดือน ............... พ.ศ. ........ ถึงวันที่ ........ เดือน .......................... พ.ศ. .................. 4. วิธีดาเนินการในการแกไขปญหา ํ 4.1 เครื่องมือที่ใชในการแกปญหา คือ.................................................................................................. .......................................................................................................................................................
  • 20. แผนการจัดการเรียนรูเสริมคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 20 ซึ่งมีขั้นตอนในการสรางและพัฒนาดังนี้ ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 4.2 เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลคือ ................................................................................... ...................................................................................................................................................... ซึ่งมีขั้นตอนในการสรางและตรวจสอบคุณภาพดังนี้ ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 4.3 การเก็บรวบรวมขอมูล ไดดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลตามวิธีการดังนี้ 1) นําเครื่องมือที่ใชในการแกปญหาไปทดลองใชกับนักเรียนในเวลา ....................................….. โดย….............................................................................................................................…… ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... 2) นําเครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูลไปเก็บขอมูลเกี่ยวกับ ............................................................ โดย ………............................................................................................................................ ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... 4.4 การวิเคราะหขอมูลและการสรุปผล ไดดําเนินการวิเคราะหขอมูลและสรุปผลดังนี้ ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................
  • 21. แผนการจัดการเรียนรูเสริมคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 21 5. ผลการแกปญหา  ผลการแกปญหาเกี่ยวกับ .................................................................................................................... ของนักเรียนกลุมเปาหมาย ปรากฏผลดังนี้ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ .….......................................................................................................................................................