SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 13
Baixar para ler offline
1
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
2
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
อินเทอร์เน็ต(Internet) คือ เครือข่ายนานาชาติ ที่เกิดจากเครือข่ายขนาดเล็กมากมาย รวมเป็นเครือข่าย
เดียวทั้งโลก หรือเครือข่ายสื่อสาร ซึ่งเชื่อมโยงระหว่างคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ที่ต้องการเข้ามาในเครือข่าย สาหรับคาว่า
internet หากแยกศัพท์จะได้มา 2 คา คือ คาว่า Inter และคาว่า net ซึ่ง Inter หมายถึงระหว่าง หรือท่ามกลาง และคาว่า Net
มาจากคาว่า Network หรือเครือข่าย เมื่อนาความหมายของทั้ง 2 คามารวมกัน จึงแปลว่า การเชื่อมต่อกันระหว่างเครือข่าย
IP (Internet protocal) Address คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อกันในinternet ต้องมี IP ประจาเครื่อง ซึ่ง IP นี้มี
ผู้รับผิดชอบคือ IANA (Internet assigned number authority) ซึ่งเป็นหน่วยงานกลางที่ควบคุมดูแล IPV4 ทั่วโลก เป็น
Public address ที่ไม่ซ้ากันเลยในโลกใบนี้ การดูแลจะแยกออกไปตามภูมิภาคต่าง ๆ สาหรับทวีปเอเชียคือ APNIC
(Asia pacific network information center)
ISP หรือ Internet Service Provider เป็นหน่วยงานที่ให้บริการเชื่อมต่อเข้ากับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
หรือพูดอีกนัยหนึ่งคือ ทาหน้าที่เสมือนเป็นประตูเปิดการเชื่อมต่อให้บุคคลหรือองค์กรสามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตได้
สาหรับในประเทศไทยมีหน่วยงานที่ให้บริการด้านนี้อยู่ 2 ประเภทด้วยกันคือ ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตเชิงพาณิชย์
(Commercial ISP) และผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตสาหรับสถาบันการศึกษา การวิจัยและหน่วยงานของรัฐ (non-commercial
ISP ) ซึ่งปัจจุบันประเทศไทยมีผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตมากกว่า 20 ราย
3
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
อินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นโครงการของ ARPAnet(Advanced Research Projects Agency Network) ซึ่งเป็นหน่วยงานที่สังกัด
กระทรวงกลาโหม ของสหรัฐ (U.S.Department of Defense - DoD) ถูกก่อตั้ง เมื่อประมาณ ปีค.ศ.1960(พ.ศ.2503) และได้ถูก
พัฒนาเรื่อยมา
- ค.ศ.1969(พ.ศ.2512) ARPA ได้รับทุนสนันสนุน จากหลายฝ่าย ซึ่งหนึ่งในผู้สนับสนุนก็คือ Edward Kenedy และเปลี่ยนชื่อจาก
ARPA เป็น DARPA(Defense Advanced Research Projects Agency) พร้อมเปลี่ยนแปลงนโยบายบางอย่าง และในปีค.ศ.
1969(พ.ศ.2512)นี้เองที่ได้ทดลองการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์คนละชนิด จาก 4 แห่ง เข้าหากันเป็นครั้งแรก คือ มหาวิทยาลัย
แคลิฟอร์เนีย สถาบันวิจัยสแตนฟอร์ด มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย และมหาวิทยาลัยยูทาห์ เครือข่ายทดลองประสบความสาเร็จ
อย่างมาก ดังนั้นในปีค.ศ.1975(พ.ศ.2518) จึงได้เปลี่ยนจากเครือข่ายทดลอง เป็นเครือข่ายที่ใช้งานจริง ซึ่ง DARPA ได้โอนหน้าที่
รับผิดชอบ โดยตรง ให้แก่ หน่วยการสื่อสารของกองทัพสหรัฐ (Defense Communications Agency - ปัจจุบันคือ Defense
Informations Systems Agency) แต่ในปัจจุบัน Internet มีคณะทางานที่รับผิดชอบบริหาร เครือข่ายโดยรวม เช่น ISOC (Internet
Society) ดูแลวัตถุประสงค์หลัก, IAB (Internet Architecture Board) พิจารณาอนุมัติมาตรฐานใหม่ในInternet, IETF (Internet
Engineering Task Force) พัฒนามาตรฐานที่ใช้กับ Internet ซึ่งเป็นการทางานโดยอาสาสมัคร ทั้งสิ้น
- ค.ศ.1983(พ.ศ.2526) DARPA ตัดสินใจนา TCP/IP (Transmission Control Protocal/Internet Protocal) มาใช้กับคอมพิวเตอร์ทุก
เครื่องในระบบ ทาให้เป็นมาตรฐานของวิธีการติดต่อ ในระบบเครือข่าย Internet จนกระทั่งปัจจุบัน จึงสังเกตุได้ว่า ในเครื่อง
คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่จะต่อ internet ได้จะต้องเพิ่ม TCP/IP ลงไปเสมอ เพราะ TCP/IP คือข้อกาหนดที่ทาให้คอมพิวเตอร์ทั่ว
โลก ทุก platform คุยกันรู้เรื่อง และสื่อสารกันได้อย่างถูกต้อง
- การกาหนดชื่อโดเมน (Domain Name System) มีขึ้นเมื่อ ค.ศ.1986(พ.ศ.2529) เพื่อสร้างฐานข้อมูล แบบกระจาย (Distribution
database) อยู่ในแต่ละเครือข่าย และให้ ISP(Internet Service Provider) ช่วยจัดทาฐานข้อมูลของตนเอง จึงไม่จาเป็นต้องมี
ฐานข้อมูลแบบรวมศูนย์เหมือนแต่ก่อน เช่น การเรียกเว็บ www.yonok.ac.th จะไปที่ตรวจสอบว่ามีชื่อนี้ หรือไม่ ที่
www.thnic.co.th ซึ่งมีฐานข้อมูล ของเว็บที่ลงท้ายด้วย th ทั้งหมด เป็นต้น
- DARPA ได้ทาหน้าที่รับผิดชอบดูแลระบบ internet เรื่อยมาจนถึง ค.ศ.1980(พ.ศ.2533) และให้ มูลนิธิวิทยาศาสตร์แห่งชาติ
(National Science Foundation - NSF) เข้ามาดูแลแทนร่วม กับอีกหลายหน่วยงาน
- ในความเป็นจริง ไม่มีใครเป็นเจ้าของ internet และไม่มีใครมีสิทธิขาดแต่เพียงผู้เดียว ในการกาหนดมาตรฐานใหม่ต่าง ๆ ผู้ติด
สินว่าสิ่งไหนดี มาตรฐานไหนจะได้รับการยอมรับ คือ ผู้ใช้ ที่กระจายอยู่ทั่วทุกมุมโลก ที่ได้ทดลองใช้มาตรฐานเหล่านั้น และจะ
ใช้ต่อไปหรือไม่เท่านั้น ส่วนมาตรฐานเดิมที่เป็นพื้นฐานของระบบ เช่น TCP/IP หรือ Domain name ก็จะต้องยึดตามนั้นต่อไป
เพราะ Internet เป็นระบบกระจายฐานข้อมูล การจะเปลี่ยนแปลงระบบพื้นฐาน จึงไม่ใช่เรื่องง่ายนัก
ประวัติความเป็นมา
4
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
- ในปัจจุบัน เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) หรือที่เรียกกันสั้นๆ ว่า ไอที (IT) กาลังได้รับ ความสนใจ
เป็นอย่างมาก เพราะเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)จะเป็นตัวที่ทาให้ เกิดความรู้ วิธีการประมวลผล
การจัดเก็บรวบรวมข้อมูล การเรียกใช้ข้อมูล ตลอดจนการเรียกใช้ข้อมูล ด้วยวิธีการทางอิเล็คทรอนิคส์ เมื่อเราให้
ความสาคัญกับเ ทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) ความจาเป็นที่จะต้องมีเครื่องมือในการใช้งานไอที
เครื่องมือนั้นก็คือเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ สื่อสารโทรคมนาคม อินเตอร์เน็ตนับว่าเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งในการ
ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) หรือไอที เพราะเราสามารถที่จะใช้งาน หาข้อมูลข่าวสาร
และเข้าถึงข้อมูล ได้ด้วยเวลาอันรวดเร็ว อินเตอร์เน็ตเปรียบเสมือนห้องสมุดขนาดใหญ่ที่มีข้อมูลเรื่องราวต่างๆ มากมาย
ให้เราค้นหา ข่าวสารที่ทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ ที่เกิดขึ้นทั่วทุกมุมโลกเราสามารถที่จะทราบได้ทันที จึงนับได้ว่า
อินเตอร์เน็ตนั้นเป็นเครื่องมือสาคัญอย่างหนึ่งในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) ทั้งใน
ระดับองค์กรและในระดับบุคคล
อินเตอร์เน็ตเชื่อมต่อกันได้อย่างไร?
เนื่องจากเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเหมือนร่างแหที่แผ่ไปทั่ว จึงมีจุดที่จะเชื่อมต่อเข้ามาได้มากมายโดยผ่านเครื่อง
คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่ออยู่เดิม ซึ่งผู้ที่รับการเชื่อมต่อก็จะต้องลงทุนอุปกรณ์เครื่องมือรวมถึงค่าสัมปทานจากรัฐ (ขึ้นกับ
กฎหมายของแต่ละประเทศ ) จึงต้องคิดค่าบริการจากคนที่มาต่อผ่านตามสมควร ผู้ให้บริการเชื่อมต่อนี้ก็คือ ISP นั่นเอง
ซึ่งแต่ละรายก็เก็บค่าบริการไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับลักษณะการเชื่อมต่อและเงื่อนไขบริการแก่คนอื่นๆ ฯลฯหรือบางรายก็
ให้บริการฟรีแก่ลูกค้า เช่น สถาบันการศึกษาทาตัวเป็น ISP ให้นักศึกษาในสังกัดใช้อินเทอร์เน็ตฟรี หรือบริษัท ทศท
คอร์ปอเรชั่น ให้บริการอินเทอร์เน็ตฟรีแก่ลูกค้าที่ใช้หมายเลขโทรศัพท์ของตน เป็นต้น สาหรับ ISP เองนั้นก็
ต้องเชื่อมต่อกันเป็นทอดๆ เพื่อหาช่องทางที่จะเข้าสู่อินเทอร์เน็ตให้เหมาะกับลักษณะธุรกิจของตน เช่น ISP รายย่อยใน
ต่างจังหวัดต่อเข้ามาผ่านISP รายใหญ่ในกรุงเทพหรือ ISP ในประเทศต่อออกไปที่ ISP ใหญ่ในต่างประเทศ โดยมี
การเก็บค่าบริการกันเป็นทอดๆแล้วแต่ว่าใครจะต่อกับใคร จะต่อหลายทางพร้อมๆกันเพื่อเพิ่มความเร็วและเป็นช่องทาง
สารองก็ได้แต่ก็มีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น ซึ่งการดาเนินงานของ ISP ในต่างประเทศเองก็ไม่ผูกขาด เพราะมีทากันหลายๆราย
และหากมีลูกค้าผู้ใช้งานมากพอก็อาจมีผู้ลงทุนตั้ง ISP รายใหม่ วางสายและสร้างเครือข่ายเพิ่มได้อีก
5
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
เราจะเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตได้อย่างไร
ในฐานะของผู้ใช้ทั่วไปจะเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้โดยผ่านทาง ISP ดังที่กล่าวไปแล้ว แต่เครื่องคอมพิวเตอร์ของเราจะต้องมี
อุปกรณ์ที่เหมาะสมในการแปลงสัญญาณผ่านสื่อที่จะใช้แต่ละประเภท เช่น
• ถ้าต่อผ่านสายโทรศัพท์ธรรมดา ก็ต้องมีโมเด็ม (Modem) ที่ต่อกับคอมพิวเตอร์แล้วเอาสายโทรศัพท์มาต่อเข้าไปอีกที
หนึ่ง หรือถ้าเป็นโทรศัพท์แบบ ISDN (Integrated Services Digital Network) ก็ต้องใช้โมเด็ม ISDN โดยเฉพาะแทน
• ถ้าต่ออินเทอร์เน็ตความเร็วสูงที่เรียกว่า ADSL หรือบรอดแบนด์ (broadband) ก็ต้องมีโมเด็มชนิด ADSL ที่ต่อ
คอมพิวเตอร์เข้ากับสายโทรศัพท์เช่นเดียวกัน แต่รับส่งสัญญาณในสายคนละแบบ คนละความถี่กัน ทาให้ได้ความเร็วสูงขึ้น
กว่าโมเด็มธรรมดา แต่ต้องมีอุปกรณ์พิเศษที่ชุมสายด้วยจึงจะใช้ได้
6
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
เมื่อเชื่อมต่อเข้ากับระบบโทรศัพท์ได้แล้วก็ค่อยหมุนหมายเลขปลายทางไปยัง ISP อีกทอดหนึ่ง การเชื่อมต่อแบบนี้
เรียกว่าแบบ Dial-up คือต้องหมุนโทรศัพท์เพื่อจะเชื่อมต่อแต่ละครั้ง พอเลิกใช้ก็วางสาย ต่างกับเครื่องที่เป็นผู้ให้บริการ ซึ่ง
จะต้องต่อกับ ISP รายใดรายหนึ่งตลอดเวลา ทั้งนี้เพราะไม่รู้วส่าเมื่อไหร่จะมีคนเข้ามาเรียกดูข้อมูลหรือใช้หริการ ซึ่งการ
เชื่อมต่อแบบนี้มักใช้สายความเร็วสูง เช่นสาย LAN เดินตรงถึงกัน เพราะได้ความเร็วสูงแต่ก็ต้องเอาเครื่องของเราไปไว้ใน
สถานที่เดียวกับเครื่องของ ISP หรือเรียกว่าการ “ตั้งเครื่องไว้ที่เดียวกัน” (Co-location) หรือไม่ก็เอาข้อมูลทั้งหมดของเว็บไซต์
นั้นไปไว้บนเครื่องเดียวกับทาง ISP หรือเครื่องที่ทาง ISP จัดให้เลย ที่เรียกว่า “การรับฝากเว็บ” หรือ Web hosting นั่นเอง ซึ่ง
ทั้งสองแบบนี้เป็นการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตตลอดเวลา และมีค่าใช้จ่ายแพงกว่าการต่อเป็นครั้งคราวแบบ Dial-up ของผู้ใช้
ทั่วไป
โปรโตคอล หรือ กติกาของอินเทอร์เน็ต
โปรโตคอล คือ ข้อกาหนดหรือข้อตกลงในการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ หรือภาษาสื่อสารที่ใช้เป็น ภาษากลางในการ
สื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ด้วยกัน การที่เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ถูกเชื่อมโยงกันไว้ในระบบจะสามารถติดต่อสื่อสารกันได้นั้น
จาเป็นจะต้องมีการสื่อสารที่เรียกว่า โปรโตคอล (Protocol) เช่นเดียวกับคนเราที่ต้องมีภาษาพูดเพื่อให้สื่อสารเข้าใจกันได้
โปรโตคอลช่วยให้ระบบคอมพิวเตอร์สองระบบ ที่แตกต่างกันสามารถสื่อสารกันอย่างเข้าใจได้ คือข้อตกลงที่กาหนดเกี่ยว กับ
การสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างๆ ทั้งวิธีการส่งและรับข้อมูล วิธีการตรวจสอบข้อผิดพลาดของการส่งและรับข้อมูล
การแสดงผลข้อมูลเมื่อส่งและรับกันระหว่างเครื่องสองเครื่อง ดังนั้นจะเห็นได้ว่าโปรโตคอลมีความสาคัญมากในการสื่อสาร
บนเครือข่าย หากไม่มีโปรโตคอลแล้ว การสื่อสารบนเครือข่ายจะไม่สามารถเกิดขึ้นได้
ตัวอย่างของโปรโตคอล
1. โปรโตคอล HTTP หรือ Hypertext Transfer Protocol จะใช้เมื่อเรียกโปรแกรมบราวเซอร์ (Browser)
2. โปรโตคอล TCP/IP หรือ Transfer Control Protocol/Internet Protocolคือเครือข่ายโปรโตคอลที่สาคัญมากที่สุด เนื่องจากเป็น
โปรโตคอลที่ใช้ในระบบเครือข่าย Internet รวมทั้ง Intranet ซึ่งประกอบด้วย 2 โปรโตคอลคือ TCP และ IP
3. โปรโตคอล SMTP หรือ Simple Mail Transfer Protocol คือ โปรโตคอล ที่ใช้ในการรับส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์บน
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต
นอกจากโปรโตคอลที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว ยังมีโปรโตคอลต่างๆอีกมากมาย เช่น การโอนย้ายแฟ้มระหว่างกัน ใช้โปรโตคอล
ชื่อ FTP หรือ File Transfer Protocol การโอนย้ายข่าวสารระหว่างกันก็ใช้โปรโตคอลชื่อ NNP หรือ Network News Transfer
Protocol และยังมีโปรโตคอลที่สาคัญสาหรับการสอบถามข้อมูลข่าวสารระหว่างกัน ซึ่งเป็นโปรโตคอลที่มีประโยชน์มาก
โปรโตคอลนี้มีชอว่า ICMP หรือ Internet Control Message Protocolเป็นต้น
7
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
TCP/IP กับ IP address
ในปัจจุบันนี้ ไม่ว่าคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลของผู้ใช้จะเป็นแบบใดก็ตาม เช่น พีซีหรือแมคอินทอช ก็สามารถใช้งาน
โปรโตคอล TCP/IP เพื่อต่อเชื่อมเข้าสู่อินเตอร์เน็ตได้วิธีการก็คือเพียงแต่ติดตั้งใช้งานซอฟต์แวร์โปรโตคอล TCP/IP เท่านั้น
ส่วนวิธีการและโปรแกรมที่ติดตั้ง จะแตกต่างกันขึ้นกับระบบที่ใช้ ซึ่งจะกล่าวต่อไป หมายเลข IP (IP Address) การสื่อสารกัน
ในระบบเครือข่าย อินเตอร์เน็ตที่มีโปรโตคอล TCP/IP เป็นมาตรฐานนี้ เครื่องอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่ จะต้องมี
หมายเลขประจาตัวเอาไว้อ้างอิงให้เครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆ ได้ทราบเหมือนกับคนทุกคนต้องมีชื่อให้คนอื่นเรียก หมายเลข
อ้างอิงดังกล่าวเราเรียกว่า IP Address หรือหมายเลข IP หรือบางทีก็เรียกว่า "แอดเดรส IP" (IP ในที่นี้ก็คือ Internet Protocol ตัว
เดียวกับใน TCP/IP นั่นเอง) ซึ่งถูกจัดเป็นตัวเลขชุดหนึ่งขนาด 32 บิต ใน 1 ชุดนี้จะมีตัวเลขถูกแบ่งออกเป็น 4 ส่วน ส่วนละ 8
บิตเท่าๆ กัน เวลาเขียนก็แปลงให้เป็นเลขฐานสิบ ก่อนเพื่อความง่ายแล้วเขียนโดยคั่นแต่ละส่วนด้วยจุด ดังนั้นในตัวเลขแต่ละ
ส่วนนี้จึงมีค่าได้ตั้งแต่ 0 จนถึง 28 -1 = 255 เท่านั้น เช่น 192.10.1.101 เป็นต้น ตัวเลข IP Address ชุดนี้จะเป็นสิ่งที่สาคัญคล้าย
เบอร์โทรศัพท์ที่เรามีใช้อยู่และไม่ซ้ากัน เพราะสามารถกาหนดเป็นตัวเลขได้รวมทั้งสิ้นกว่า 4 พันล้านเลขหมาย แต่การ
กาหนดให้คอมพิวเตอร์มีเลขหมาย IP Address นี้ไม่ได้เริ่มต้นจากหมายเลข 1 และนับขึ้นไปเรื่อยๆ
8
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
DNS server คืออะไร
DNS server ย่อมาจาก Domain Name System server คือเครื่องบริการแปลงชื่อเว็บเป็นหมายเลข IP ซึ่งการแปลงชื่อนี้
อาจเกิดในเครื่อง local เอง จาก Cache ในเครื่อง local หรือจากเครื่องบริการของผู้ให้บริการเพราะ เบอร์ IP Address เป็นตัว
เลขที่ใช้ไม่ค่อยสะดวกและจายาก ด้วยเหตุนี้จึงมีการคิดระบบตั้งชื่อแบบที่เป็นตัวอักษรให้มีความหมายเพื่อการจดจาได้ง่าย
ขึ้น จึงเป็นที่มาของ DNS server
DNS ทาหน้าที่คล้ายสมุดโทรศัพท์คือ เมื่อมีคนต้องการจะโทรศัพท์หาใคร คนนั้นก็จะเปิดสมุดโทรศัพท์ดู เพื่อค้นหา
หมายเลขโทรศัพท์ของคนที่ต้องการติดต่อ คอมพิวเตอร์ก็เช่นกัน เมื่อต้องการสื่อสารกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น เครื่องนั้นก็
จะทาการสอบถามหมายเลข IP ของเครื่องที่ต้องการสื่อสารด้วยกับ DNS server ซึ่งจะทาการค้นหาหมายเลขดังกล่าวใน
ฐานข้อมูลแล้วแจ้งให้โฮสต์ดังกล่าว ทราบ ระบบ DNS แบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ
1.Name Resolvers : ดังที่ได้กล่าวมาแล้วว่าจุดประสงค์หลักของ DNS คือการแปลงชื่อคอมพิวเตอร์ ให้เป็นหมายเลข IP
ในเทอมของ DNS แล้วเครื่องไคลเอนท์ที่ต้องการสอบถามหมายเลข IP จะเรียกว่า "รีโซล์ฟเวอร์ (resolver)" วอฟแวร์ที่ทา
หน้าที่เป็นรีโซล์ฟเวอร์นั้นจะถูกสร้างมากับแอพพลิเคชันหรืออาจจะเป็นไลบรารีที่มีอยู่ในเครื่องไคลเอนท์
2.Domain Name Space : ฐานข้อมูลระบบ DNS มีโครงสร้างเป็นต้นไม้ซึ่งจะเรียกว่า "โดเมนเนมสเปซ (Domain Name
Space)" แต่ละโดเมนจะมีชื่อและสามารถมีโดเมนย่อยหรือซับโดเมน (Subdomain) การเรียกชื่อจะใช้จุด ( .) เป็นตัว
แบ่งแยกระหว่างโดเมนหลักและโดเมนย่อย
3.Name Servers : เนมเซิร์ฟเวอร์ คือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่รันโปรแกรมที่จัดการฐานข้อมูลบางส่วนของระบบ DNS เนม
เซิร์ฟเวอร์จะตอบกลับการร้องขอทันทีโดยการค้นหาข้อมูลในฐานของมูลตัวเอง หรือจะส่งต่อการร้องขอ ไปยังเนม
เซิร์ฟเวอร์อื่น ถ้าเนมเซิร์ฟเวอร์มีเร็คคอร์ดของส่วนของโดเมน แสดงว่า เนมเซิร์ฟเวอร์นั้นเป็นเจ้าของโดเมนนั้น
(Authoritative) ถ้าไม่มีก็จะเรียกว่า Non-Authoritative
9
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ข้อจากัดของระบบ DNS รับรู้เฉพาะตัวอักษรละติน (ASCII character set) ใน RFC 1035 ระบุว่า
สัญลักษณ์ที่ใช้ได้ในโดเมนเนม คือ
1.ตัวอักษร a ถึง z (case insensitive)
2.เลข 0 ? 9
3.เครื่องหมายยติภังค์ (-)
ปัจจุบัน ประเทศมีการประดิษฐ์คิดค้นเทคโนโลยีชื่อโดเมนภาษาไทยในปี 2542 โดยกลุ่มผู้ประดิษฐ์คิดค้นชาวไทย
ที่เอื้ออานวยให้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตสามารถเรียกดูเว็บไซต์ผ่านทางชื่อโดเมนภาษาไทยเต็มรูปแบบ และเปิดโอกาสให้เจ้าของ
เว็บไซต์ที่ประสบปัญหากับการมีชื่อโดเมนภาษาอังกฤษที่จดจายาก หรือใช้สื่อสารกับกลุ่มเป้ าหมายได้อย่างลาบาก สามารถจด
ทะเบียนชื่อโดเมนภาษาไทยให้กับเว็บไซต์ของตัวเอง โดยใช้ตัวแปลงรหัสภาษาท้องถิ่นเพื่อทางานร่วมกับระบบ DNS
เว็บ (web)
เว็บไซต์ (website, web site, หรือ Web site) หมายถึง หน้าเว็บเพจหลายหน้า ซึ่งเชื่อมโยงกันผ่านทางไฮเปอร์
ลิงก์ ส่วนใหญ่จัดทาขึ้นเพื่อนาเสนอข้อมูลผ่านคอมพิวเตอร์ โดยถูกจัดเก็บไว้ในเวิลด์ไวด์เว็บ หน้าแรกของเว็บไซต์ที่เก็บไว้ที่
ชื่อหลักจะเรียกว่า โฮมเพจ เว็บไซต์โดยทั่วไปจะให้บริการต่อผู้ใช้ฟรี แต่ในขณะเดียวกันบางเว็บไซต์จาเป็นต้องมีการสมัคร
สมาชิกและเสียค่าบริการเพื่อที่จะดูข้อมูล ในเว็บไซต์นั้น ซึ่งได้แก่ข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลตลาดหลักทรัพย์หรือข้อมูลสื่อ
ต่างๆ ผู้ทาเว็บไซต์มีหลากหลายระดับ ตั้งแต่สร้างเว็บไซต์ส่วนตัว จนถึงระดับเว็บไซต์สาหรับธุรกิจหรือองค์กรต่างๆ การ
เรียกดูเว็บไซต์โดยทั่วไปนิยมเรียกดูผ่านซอฟต์แวร์ในลักษณะของ เว็บเบราว์เซอร์
10
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
เว็บไซต์ (อังกฤษ: website, web site, Web site) หมายถึง หน้าเว็บเพจหลายหน้า ซึ่งเชื่อมโยงกันผ่านทางไฮเปอร์ลิงก์
ส่วนใหญ่จัดทาขึ้นเพื่อนาเสนอข้อมูลผ่านคอมพิวเตอร์ โดยถูกจัดเก็บไว้ในเวิลด์ไวด์เว็บ หน้าแรกของเว็บไซต์ที่เก็บไว้ที่ชื่อหลัก
จะเรียกว่า โฮมเพจ เว็บไซต์โดยทั่วไปจะให้บริการต่อผู้ใช้ฟรี แต่ในขณะเดียวกันบางเว็บไซต์จาเป็นต้องมีการสมัครสมาชิกและ
เสียค่าบริการเพื่อที่จะดูข้อมูล ในเว็บไซต์นั้น ซึ่งได้แก่ข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลตลาดหลักทรัพย์หรือข้อมูลสื่อต่างๆ ผู้ทาเว็บไซต์
มีหลากหลายระดับ ตั้งแต่สร้างเว็บไซต์ส่วนตัว จนถึงระดับเว็บไซต์สาหรับธุรกิจหรือองค์กรต่างๆ การเรียกดูเว็บไซต์โดยทั่วไป
นิยมเรียกดูผ่านซอฟต์แวร์ในลักษณะของ เว็บเบราว์เซอร์
เว็บไซต์
HTTP โปรโตคอลของเว็บ
HTTP หรือ Hyper Text Transfer Protocol หมายถึง บริการหรือรูปแบบการเชื่อมต่อประเภทหนึ่งในอินเตอร์เน็ตที่ใช้
สาหรับการรับส่งไฮเปอร์เท็กซ์ไฟล์ (ไฟล์เว็บเพจ) จากคอมพิวเตอร์ต้นทางไปยังคอมพิวเตอร์ปลายทาง คอมพิวเตอร์ต้นทางเรา
เรียกว่า HTTP Server หรือ Web Server คอมพิวเตอร์ปลายทาง เรียกว่า HTTP Client หรือ Web Client
HTML ภาษาของเว็บ
HTML หรือ Hyper Text Mark up Language หมายถึง ภาษาคอมพิวเตอร์ชนิดหนึ่งที่ใช้สาหรับสร้างเว็บเพจ ลักษณะ
เด่นของเอกสาร (หรือเว็บเพจ) ที่เขียนด้วยภาษา HTML คือ สามารถสร้างการเชื่อมโยงหรือลิ้งค์ (link) จากข้อความหรือ
รูปภาพในเอกสารหน้าหนึ่ง ไปยังเอกสารอีกหน้าหนึ่งได้
11
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
URl (Uniform Resource Locator)
ตัวชี้แหล่งในอินเทอร์เน็ต หรือ โปรแกรมชี้แหล่งทรัพยากรสากล (Uniform Resource Locator, Universal
Resource Locator) เรียกโดยย่อว่า ยูอาร์แอล (URL) คือตัวระบุแหล่งทรัพยากรสากล (URl) ประเภทหนึ่ง ซึ่งใช้สาหรับระบุ
แหล่งที่อยู่ของทรัพยากรที่ต้องการ และมีกลไกบางอย่างสาหรับดึงข้อมูลทรัพยากรนั้นมา ในการใช้ในเอกสารทางเทคนิค
และการอภิปรายทั่วไป มักจะใช้ยูอาร์แอลแทนความหมายที่คล้ายกับยูอาร์ไอ ซึ่งไม่ใช่ความหมายที่ถูกต้องและอาจทาให้
เกิดความสับสน ในภาษาพูดทั่วไป ยูอาร์แอลอาจหมายถึง ที่อยู่บนเว็บ หรือ ที่อยู่อินเทอร์เน็ต ก็ได้ซึ่งปกติแล้วเรามักพิมพ์ยู
อาร์แอลในแถบที่อยู่ของเว็บเบราว์เซอร์เพื่อเรียกข้อมูลจากเว็บไซต์
รู้จักกับ E-mail
Electronic mail หรือ E-mail (อีเมล์) เป็นการรับส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ในแบบเดียวกับจดหมายทั่วไปคือส่ง
แล้วข้อมูลที่ส่งนั้นจะไปกองรอไว้เมื่อผู้รับว่างจึงจะเข้ามาเปิดอ่าน โดยไม่จาเป็นต้องมีการโต้ตอนกันทันทีอีเมล์เป็นรูปแบบ
การสื่อสารที่ใช้กันแพร่หลายบนอินเทอร์เน็ตมานานแล้ว (เน็ตเวิร์กในองค์กรก็อาจมีอีเมล์ภายในใช้เช่นกัน) โปรแกรมที่ใช้
รับส่งอีเมล์จะถูกรับส่งผ่านเครื่องที่ให้บริการรับส่งเมล์ ซึ่งเรียกว่า “เมล์เซิร์ฟเวอร์” (mail server)
ในองค์กรที่มีระบบอีเมล์ใช้เป้นของตนเอง ผู้ดูแลระบบจะจัดที่อยู่อีเมล์หรือ E-mail address ให้ใช้เป็นการ
เฉพาะสาหรับหน่วยงานนั้น ๆ นอกจากนั้นเรายังสามารถขออีเมล์แอดเดรสจาก ISP ที่ใช้บริการอยู่ได้เช่นกัน หรือขอจาก
เว็บไซต์ที่ให้บริหารอีเมล์ฟรี เช่น hotmail.com, gmail.com เป็นต้น
12
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
รูปแบบของ E-mail address
ในการส่งอีเมล์นี้ เราจะต้องรู้ที่อยู่ของผู้รับว่าจะส่งไปที่ชื่อไหน ซึ่งเรียกว่า “ตู้จดหมาย” หรือ mailbox และต่างกันไป
ตามแต่ละคน แต่จะอยู่ในรูปแบบใกล้เคียงกันคือ ชื่อผู้ใช้@ชื่อโดเมนหรือชื่อหน่วยงาน ดังตัวอย่างนี้
จะเห็นว่าอีเมล์แอดเดรสนี้จะอ้างถึงเมล์บ็อกซ์บนเครื่องที่เราตั้งไว้โดยเฉพาะ ซึ่งอาจเป็นของ ISP ที่เราใช้หรือของ
หน่วยงาน/สถาบันการศึกษาที่เราสังกัด และจะโหลดมาอ่านที่เครื่องเราได้ เรียกอีกอย่างว่า “ป็อปเมล์” (POP คือ Post
Office Protocol เป็นมาตรฐานของโปรแกรมที่ทาหน้าที่ดาวน์โหลดอีเมล์มาอ่านในเครื่องของเรา)
การรับและส่งอีเมล์
- การส่งอีเมล์ เริ่มจากสร้างไฟล์อีเมล์ขึ้นใหม่ แล้วส่งไฟล์นั้นให้กับเครื่องที่เป็น เมล์เซิร์ฟเวอร์ขาออก ซึ่งจะส่ง
ต่อไปยังผู้รับปลายทางอีกทอดหนึ่ง เราสามารถเขียนข้อความหรือแนบไฟล์เอกสาร รูปภาพ และข้อมูล มัลติมีเดียแบบ
ต่าง ๆ ไปด้วยก็ได้นอกจากนี้บางโปรแกรมยังจัดหน้าตาเมล์ให้สวยงามและน่าอ่าน โดยใช้ภาษา %HTML แบบเดียวกับ
เว็บเพจนั่งเอง ในการส่งอีเมล์นี้ เราอาจส่งไปยังผู้รับคนเดียว หรือจะระบุให้ส่งถึงหลาย ๆ คน โดยเมล์ฉบับเดียวก็ได้
เมล์เซิร์ฟเวอร์ขาออกจะจัดการกระจายให้ทุกคนเอง
- การรับอีเมล์ เริ่มโดยเชื่อมต่อไปที่เครื่อง เมล์เซิร์ฟเวอร์ขาเข้า (อาจเป็นคนละเครื่องหรือเครื่องเดียวกับเมล์
เซิร์ฟเวอร์ขาออกก็ได้) ซึ่งมีเมล์บ็อกซ์ (mailbox) หรือตู้ไปรษณีย์เพื่อดังอีเมล์ที่มีถึงเข้ามายังเครื่องของเราและอาจลบ
ไฟล์ต้นฉบับบนเซิร์ฟเวอร์นั้นทิ้ง หรือจะเก็บไว้ก่อนก็ได้ อีเมล์ที่ดึงมาแล้วนั้นจะเปิดอ่านหรือแยกเอาไฟล์หรือข้อมูลที่
แนบออกมาใช้งานอื่น ๆ ต่อได้เช่นกัน
13
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ที่มา
-http://www.ipesp.ac.th/learning/071001/chapter6/UN6_2.html
-http://www.krujongrak.com/internet/internet.html
-http://www.ipesp.ac.th/learning/071001/chapter6/UN6_4.html
-http://www.ipesp.ac.th/learning/071001/chapter6/UN6_5.html
- http://www.thaigoodview.com/library/contest2553/type2/tech04/25/chapter_3.html
- http://market.mthai.com/uploads/product/351993/original_0.jpg
-http://www.ipesp.ac.th/learning/071001/chapter6/UN6_10.html

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ARAM Narapol
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
guest31bfdc
 
คอมม.4บทที่7
คอมม.4บทที่7 คอมม.4บทที่7
คอมม.4บทที่7
Kru Jhair
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
Ekkaphum Sunggudthong
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
guest31bfdc
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
Ammarirat
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
Suphattra
 
เพาเวอร์พอยต์(พรพร)1
เพาเวอร์พอยต์(พรพร)1เพาเวอร์พอยต์(พรพร)1
เพาเวอร์พอยต์(พรพร)1
pattarapornpiman
 

Mais procurados (14)

Communication Concept
Communication ConceptCommunication Concept
Communication Concept
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
E book1
E book1E book1
E book1
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
สอบปลายภาค
สอบปลายภาคสอบปลายภาค
สอบปลายภาค
 
คอมม.4บทที่7
คอมม.4บทที่7 คอมม.4บทที่7
คอมม.4บทที่7
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
สื่อการสอนอินเตอร์เน็ต
สื่อการสอนอินเตอร์เน็ตสื่อการสอนอินเตอร์เน็ต
สื่อการสอนอินเตอร์เน็ต
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เพาเวอร์พอยต์(พรพร)1
เพาเวอร์พอยต์(พรพร)1เพาเวอร์พอยต์(พรพร)1
เพาเวอร์พอยต์(พรพร)1
 

Semelhante a work3-21

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
Nu Tip SC
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
Nu Tip SC
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
guest31bfdc
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
guest31bfdc
 
ระบบเครือข่าย (network computer)
ระบบเครือข่าย  (network computer)ระบบเครือข่าย  (network computer)
ระบบเครือข่าย (network computer)
Theruangsit
 
Lesson1 2 internet
Lesson1 2 internetLesson1 2 internet
Lesson1 2 internet
Samorn Tara
 
อินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดอินเทอร์เนด
อินเทอร์เนด
noooom
 
วิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวส
วิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวสวิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวส
วิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวส
peter dontoom
 

Semelhante a work3-21 (20)

ประวัติความเป็นมาของ Internet
ประวัติความเป็นมาของ Internetประวัติความเป็นมาของ Internet
ประวัติความเป็นมาของ Internet
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
ระบบเครือข่าย (network computer)
ระบบเครือข่าย  (network computer)ระบบเครือข่าย  (network computer)
ระบบเครือข่าย (network computer)
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทPDF
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทPDFลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทPDF
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทPDF
 
ดัชนีคำศัพท์ เรื่อง มาตรฐานการเชื่อมต่อและสถาปัตยกรรม เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ดัชนีคำศัพท์ เรื่อง มาตรฐานการเชื่อมต่อและสถาปัตยกรรม เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ดัชนีคำศัพท์ เรื่อง มาตรฐานการเชื่อมต่อและสถาปัตยกรรม เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ดัชนีคำศัพท์ เรื่อง มาตรฐานการเชื่อมต่อและสถาปัตยกรรม เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Learning network
Learning networkLearning network
Learning network
 
Lesson1 2 internet
Lesson1 2 internetLesson1 2 internet
Lesson1 2 internet
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
อินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดอินเทอร์เนด
อินเทอร์เนด
 
การเชื่อมต่อ Internet
การเชื่อมต่อ Internetการเชื่อมต่อ Internet
การเชื่อมต่อ Internet
 
การเชื่อมต่อ Internet
การเชื่อมต่อ Internetการเชื่อมต่อ Internet
การเชื่อมต่อ Internet
 
it-10-46
it-10-46it-10-46
it-10-46
 
วิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวส
วิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวสวิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวส
วิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวส
 

work3-21

  • 1. 1 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
  • 2. 2 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved อินเทอร์เน็ต(Internet) คือ เครือข่ายนานาชาติ ที่เกิดจากเครือข่ายขนาดเล็กมากมาย รวมเป็นเครือข่าย เดียวทั้งโลก หรือเครือข่ายสื่อสาร ซึ่งเชื่อมโยงระหว่างคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ที่ต้องการเข้ามาในเครือข่าย สาหรับคาว่า internet หากแยกศัพท์จะได้มา 2 คา คือ คาว่า Inter และคาว่า net ซึ่ง Inter หมายถึงระหว่าง หรือท่ามกลาง และคาว่า Net มาจากคาว่า Network หรือเครือข่าย เมื่อนาความหมายของทั้ง 2 คามารวมกัน จึงแปลว่า การเชื่อมต่อกันระหว่างเครือข่าย IP (Internet protocal) Address คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อกันในinternet ต้องมี IP ประจาเครื่อง ซึ่ง IP นี้มี ผู้รับผิดชอบคือ IANA (Internet assigned number authority) ซึ่งเป็นหน่วยงานกลางที่ควบคุมดูแล IPV4 ทั่วโลก เป็น Public address ที่ไม่ซ้ากันเลยในโลกใบนี้ การดูแลจะแยกออกไปตามภูมิภาคต่าง ๆ สาหรับทวีปเอเชียคือ APNIC (Asia pacific network information center) ISP หรือ Internet Service Provider เป็นหน่วยงานที่ให้บริการเชื่อมต่อเข้ากับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต หรือพูดอีกนัยหนึ่งคือ ทาหน้าที่เสมือนเป็นประตูเปิดการเชื่อมต่อให้บุคคลหรือองค์กรสามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตได้ สาหรับในประเทศไทยมีหน่วยงานที่ให้บริการด้านนี้อยู่ 2 ประเภทด้วยกันคือ ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตเชิงพาณิชย์ (Commercial ISP) และผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตสาหรับสถาบันการศึกษา การวิจัยและหน่วยงานของรัฐ (non-commercial ISP ) ซึ่งปัจจุบันประเทศไทยมีผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตมากกว่า 20 ราย
  • 3. 3 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved อินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นโครงการของ ARPAnet(Advanced Research Projects Agency Network) ซึ่งเป็นหน่วยงานที่สังกัด กระทรวงกลาโหม ของสหรัฐ (U.S.Department of Defense - DoD) ถูกก่อตั้ง เมื่อประมาณ ปีค.ศ.1960(พ.ศ.2503) และได้ถูก พัฒนาเรื่อยมา - ค.ศ.1969(พ.ศ.2512) ARPA ได้รับทุนสนันสนุน จากหลายฝ่าย ซึ่งหนึ่งในผู้สนับสนุนก็คือ Edward Kenedy และเปลี่ยนชื่อจาก ARPA เป็น DARPA(Defense Advanced Research Projects Agency) พร้อมเปลี่ยนแปลงนโยบายบางอย่าง และในปีค.ศ. 1969(พ.ศ.2512)นี้เองที่ได้ทดลองการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์คนละชนิด จาก 4 แห่ง เข้าหากันเป็นครั้งแรก คือ มหาวิทยาลัย แคลิฟอร์เนีย สถาบันวิจัยสแตนฟอร์ด มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย และมหาวิทยาลัยยูทาห์ เครือข่ายทดลองประสบความสาเร็จ อย่างมาก ดังนั้นในปีค.ศ.1975(พ.ศ.2518) จึงได้เปลี่ยนจากเครือข่ายทดลอง เป็นเครือข่ายที่ใช้งานจริง ซึ่ง DARPA ได้โอนหน้าที่ รับผิดชอบ โดยตรง ให้แก่ หน่วยการสื่อสารของกองทัพสหรัฐ (Defense Communications Agency - ปัจจุบันคือ Defense Informations Systems Agency) แต่ในปัจจุบัน Internet มีคณะทางานที่รับผิดชอบบริหาร เครือข่ายโดยรวม เช่น ISOC (Internet Society) ดูแลวัตถุประสงค์หลัก, IAB (Internet Architecture Board) พิจารณาอนุมัติมาตรฐานใหม่ในInternet, IETF (Internet Engineering Task Force) พัฒนามาตรฐานที่ใช้กับ Internet ซึ่งเป็นการทางานโดยอาสาสมัคร ทั้งสิ้น - ค.ศ.1983(พ.ศ.2526) DARPA ตัดสินใจนา TCP/IP (Transmission Control Protocal/Internet Protocal) มาใช้กับคอมพิวเตอร์ทุก เครื่องในระบบ ทาให้เป็นมาตรฐานของวิธีการติดต่อ ในระบบเครือข่าย Internet จนกระทั่งปัจจุบัน จึงสังเกตุได้ว่า ในเครื่อง คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่จะต่อ internet ได้จะต้องเพิ่ม TCP/IP ลงไปเสมอ เพราะ TCP/IP คือข้อกาหนดที่ทาให้คอมพิวเตอร์ทั่ว โลก ทุก platform คุยกันรู้เรื่อง และสื่อสารกันได้อย่างถูกต้อง - การกาหนดชื่อโดเมน (Domain Name System) มีขึ้นเมื่อ ค.ศ.1986(พ.ศ.2529) เพื่อสร้างฐานข้อมูล แบบกระจาย (Distribution database) อยู่ในแต่ละเครือข่าย และให้ ISP(Internet Service Provider) ช่วยจัดทาฐานข้อมูลของตนเอง จึงไม่จาเป็นต้องมี ฐานข้อมูลแบบรวมศูนย์เหมือนแต่ก่อน เช่น การเรียกเว็บ www.yonok.ac.th จะไปที่ตรวจสอบว่ามีชื่อนี้ หรือไม่ ที่ www.thnic.co.th ซึ่งมีฐานข้อมูล ของเว็บที่ลงท้ายด้วย th ทั้งหมด เป็นต้น - DARPA ได้ทาหน้าที่รับผิดชอบดูแลระบบ internet เรื่อยมาจนถึง ค.ศ.1980(พ.ศ.2533) และให้ มูลนิธิวิทยาศาสตร์แห่งชาติ (National Science Foundation - NSF) เข้ามาดูแลแทนร่วม กับอีกหลายหน่วยงาน - ในความเป็นจริง ไม่มีใครเป็นเจ้าของ internet และไม่มีใครมีสิทธิขาดแต่เพียงผู้เดียว ในการกาหนดมาตรฐานใหม่ต่าง ๆ ผู้ติด สินว่าสิ่งไหนดี มาตรฐานไหนจะได้รับการยอมรับ คือ ผู้ใช้ ที่กระจายอยู่ทั่วทุกมุมโลก ที่ได้ทดลองใช้มาตรฐานเหล่านั้น และจะ ใช้ต่อไปหรือไม่เท่านั้น ส่วนมาตรฐานเดิมที่เป็นพื้นฐานของระบบ เช่น TCP/IP หรือ Domain name ก็จะต้องยึดตามนั้นต่อไป เพราะ Internet เป็นระบบกระจายฐานข้อมูล การจะเปลี่ยนแปลงระบบพื้นฐาน จึงไม่ใช่เรื่องง่ายนัก ประวัติความเป็นมา
  • 4. 4 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved - ในปัจจุบัน เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) หรือที่เรียกกันสั้นๆ ว่า ไอที (IT) กาลังได้รับ ความสนใจ เป็นอย่างมาก เพราะเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)จะเป็นตัวที่ทาให้ เกิดความรู้ วิธีการประมวลผล การจัดเก็บรวบรวมข้อมูล การเรียกใช้ข้อมูล ตลอดจนการเรียกใช้ข้อมูล ด้วยวิธีการทางอิเล็คทรอนิคส์ เมื่อเราให้ ความสาคัญกับเ ทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) ความจาเป็นที่จะต้องมีเครื่องมือในการใช้งานไอที เครื่องมือนั้นก็คือเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ สื่อสารโทรคมนาคม อินเตอร์เน็ตนับว่าเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งในการ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) หรือไอที เพราะเราสามารถที่จะใช้งาน หาข้อมูลข่าวสาร และเข้าถึงข้อมูล ได้ด้วยเวลาอันรวดเร็ว อินเตอร์เน็ตเปรียบเสมือนห้องสมุดขนาดใหญ่ที่มีข้อมูลเรื่องราวต่างๆ มากมาย ให้เราค้นหา ข่าวสารที่ทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ ที่เกิดขึ้นทั่วทุกมุมโลกเราสามารถที่จะทราบได้ทันที จึงนับได้ว่า อินเตอร์เน็ตนั้นเป็นเครื่องมือสาคัญอย่างหนึ่งในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) ทั้งใน ระดับองค์กรและในระดับบุคคล อินเตอร์เน็ตเชื่อมต่อกันได้อย่างไร? เนื่องจากเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเหมือนร่างแหที่แผ่ไปทั่ว จึงมีจุดที่จะเชื่อมต่อเข้ามาได้มากมายโดยผ่านเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่ออยู่เดิม ซึ่งผู้ที่รับการเชื่อมต่อก็จะต้องลงทุนอุปกรณ์เครื่องมือรวมถึงค่าสัมปทานจากรัฐ (ขึ้นกับ กฎหมายของแต่ละประเทศ ) จึงต้องคิดค่าบริการจากคนที่มาต่อผ่านตามสมควร ผู้ให้บริการเชื่อมต่อนี้ก็คือ ISP นั่นเอง ซึ่งแต่ละรายก็เก็บค่าบริการไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับลักษณะการเชื่อมต่อและเงื่อนไขบริการแก่คนอื่นๆ ฯลฯหรือบางรายก็ ให้บริการฟรีแก่ลูกค้า เช่น สถาบันการศึกษาทาตัวเป็น ISP ให้นักศึกษาในสังกัดใช้อินเทอร์เน็ตฟรี หรือบริษัท ทศท คอร์ปอเรชั่น ให้บริการอินเทอร์เน็ตฟรีแก่ลูกค้าที่ใช้หมายเลขโทรศัพท์ของตน เป็นต้น สาหรับ ISP เองนั้นก็ ต้องเชื่อมต่อกันเป็นทอดๆ เพื่อหาช่องทางที่จะเข้าสู่อินเทอร์เน็ตให้เหมาะกับลักษณะธุรกิจของตน เช่น ISP รายย่อยใน ต่างจังหวัดต่อเข้ามาผ่านISP รายใหญ่ในกรุงเทพหรือ ISP ในประเทศต่อออกไปที่ ISP ใหญ่ในต่างประเทศ โดยมี การเก็บค่าบริการกันเป็นทอดๆแล้วแต่ว่าใครจะต่อกับใคร จะต่อหลายทางพร้อมๆกันเพื่อเพิ่มความเร็วและเป็นช่องทาง สารองก็ได้แต่ก็มีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น ซึ่งการดาเนินงานของ ISP ในต่างประเทศเองก็ไม่ผูกขาด เพราะมีทากันหลายๆราย และหากมีลูกค้าผู้ใช้งานมากพอก็อาจมีผู้ลงทุนตั้ง ISP รายใหม่ วางสายและสร้างเครือข่ายเพิ่มได้อีก
  • 5. 5 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved เราจะเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตได้อย่างไร ในฐานะของผู้ใช้ทั่วไปจะเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้โดยผ่านทาง ISP ดังที่กล่าวไปแล้ว แต่เครื่องคอมพิวเตอร์ของเราจะต้องมี อุปกรณ์ที่เหมาะสมในการแปลงสัญญาณผ่านสื่อที่จะใช้แต่ละประเภท เช่น • ถ้าต่อผ่านสายโทรศัพท์ธรรมดา ก็ต้องมีโมเด็ม (Modem) ที่ต่อกับคอมพิวเตอร์แล้วเอาสายโทรศัพท์มาต่อเข้าไปอีกที หนึ่ง หรือถ้าเป็นโทรศัพท์แบบ ISDN (Integrated Services Digital Network) ก็ต้องใช้โมเด็ม ISDN โดยเฉพาะแทน • ถ้าต่ออินเทอร์เน็ตความเร็วสูงที่เรียกว่า ADSL หรือบรอดแบนด์ (broadband) ก็ต้องมีโมเด็มชนิด ADSL ที่ต่อ คอมพิวเตอร์เข้ากับสายโทรศัพท์เช่นเดียวกัน แต่รับส่งสัญญาณในสายคนละแบบ คนละความถี่กัน ทาให้ได้ความเร็วสูงขึ้น กว่าโมเด็มธรรมดา แต่ต้องมีอุปกรณ์พิเศษที่ชุมสายด้วยจึงจะใช้ได้
  • 6. 6 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved เมื่อเชื่อมต่อเข้ากับระบบโทรศัพท์ได้แล้วก็ค่อยหมุนหมายเลขปลายทางไปยัง ISP อีกทอดหนึ่ง การเชื่อมต่อแบบนี้ เรียกว่าแบบ Dial-up คือต้องหมุนโทรศัพท์เพื่อจะเชื่อมต่อแต่ละครั้ง พอเลิกใช้ก็วางสาย ต่างกับเครื่องที่เป็นผู้ให้บริการ ซึ่ง จะต้องต่อกับ ISP รายใดรายหนึ่งตลอดเวลา ทั้งนี้เพราะไม่รู้วส่าเมื่อไหร่จะมีคนเข้ามาเรียกดูข้อมูลหรือใช้หริการ ซึ่งการ เชื่อมต่อแบบนี้มักใช้สายความเร็วสูง เช่นสาย LAN เดินตรงถึงกัน เพราะได้ความเร็วสูงแต่ก็ต้องเอาเครื่องของเราไปไว้ใน สถานที่เดียวกับเครื่องของ ISP หรือเรียกว่าการ “ตั้งเครื่องไว้ที่เดียวกัน” (Co-location) หรือไม่ก็เอาข้อมูลทั้งหมดของเว็บไซต์ นั้นไปไว้บนเครื่องเดียวกับทาง ISP หรือเครื่องที่ทาง ISP จัดให้เลย ที่เรียกว่า “การรับฝากเว็บ” หรือ Web hosting นั่นเอง ซึ่ง ทั้งสองแบบนี้เป็นการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตตลอดเวลา และมีค่าใช้จ่ายแพงกว่าการต่อเป็นครั้งคราวแบบ Dial-up ของผู้ใช้ ทั่วไป โปรโตคอล หรือ กติกาของอินเทอร์เน็ต โปรโตคอล คือ ข้อกาหนดหรือข้อตกลงในการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ หรือภาษาสื่อสารที่ใช้เป็น ภาษากลางในการ สื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ด้วยกัน การที่เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ถูกเชื่อมโยงกันไว้ในระบบจะสามารถติดต่อสื่อสารกันได้นั้น จาเป็นจะต้องมีการสื่อสารที่เรียกว่า โปรโตคอล (Protocol) เช่นเดียวกับคนเราที่ต้องมีภาษาพูดเพื่อให้สื่อสารเข้าใจกันได้ โปรโตคอลช่วยให้ระบบคอมพิวเตอร์สองระบบ ที่แตกต่างกันสามารถสื่อสารกันอย่างเข้าใจได้ คือข้อตกลงที่กาหนดเกี่ยว กับ การสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างๆ ทั้งวิธีการส่งและรับข้อมูล วิธีการตรวจสอบข้อผิดพลาดของการส่งและรับข้อมูล การแสดงผลข้อมูลเมื่อส่งและรับกันระหว่างเครื่องสองเครื่อง ดังนั้นจะเห็นได้ว่าโปรโตคอลมีความสาคัญมากในการสื่อสาร บนเครือข่าย หากไม่มีโปรโตคอลแล้ว การสื่อสารบนเครือข่ายจะไม่สามารถเกิดขึ้นได้ ตัวอย่างของโปรโตคอล 1. โปรโตคอล HTTP หรือ Hypertext Transfer Protocol จะใช้เมื่อเรียกโปรแกรมบราวเซอร์ (Browser) 2. โปรโตคอล TCP/IP หรือ Transfer Control Protocol/Internet Protocolคือเครือข่ายโปรโตคอลที่สาคัญมากที่สุด เนื่องจากเป็น โปรโตคอลที่ใช้ในระบบเครือข่าย Internet รวมทั้ง Intranet ซึ่งประกอบด้วย 2 โปรโตคอลคือ TCP และ IP 3. โปรโตคอล SMTP หรือ Simple Mail Transfer Protocol คือ โปรโตคอล ที่ใช้ในการรับส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์บน เครือข่ายอินเทอร์เน็ต นอกจากโปรโตคอลที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว ยังมีโปรโตคอลต่างๆอีกมากมาย เช่น การโอนย้ายแฟ้มระหว่างกัน ใช้โปรโตคอล ชื่อ FTP หรือ File Transfer Protocol การโอนย้ายข่าวสารระหว่างกันก็ใช้โปรโตคอลชื่อ NNP หรือ Network News Transfer Protocol และยังมีโปรโตคอลที่สาคัญสาหรับการสอบถามข้อมูลข่าวสารระหว่างกัน ซึ่งเป็นโปรโตคอลที่มีประโยชน์มาก โปรโตคอลนี้มีชอว่า ICMP หรือ Internet Control Message Protocolเป็นต้น
  • 7. 7 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved TCP/IP กับ IP address ในปัจจุบันนี้ ไม่ว่าคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลของผู้ใช้จะเป็นแบบใดก็ตาม เช่น พีซีหรือแมคอินทอช ก็สามารถใช้งาน โปรโตคอล TCP/IP เพื่อต่อเชื่อมเข้าสู่อินเตอร์เน็ตได้วิธีการก็คือเพียงแต่ติดตั้งใช้งานซอฟต์แวร์โปรโตคอล TCP/IP เท่านั้น ส่วนวิธีการและโปรแกรมที่ติดตั้ง จะแตกต่างกันขึ้นกับระบบที่ใช้ ซึ่งจะกล่าวต่อไป หมายเลข IP (IP Address) การสื่อสารกัน ในระบบเครือข่าย อินเตอร์เน็ตที่มีโปรโตคอล TCP/IP เป็นมาตรฐานนี้ เครื่องอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่ จะต้องมี หมายเลขประจาตัวเอาไว้อ้างอิงให้เครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆ ได้ทราบเหมือนกับคนทุกคนต้องมีชื่อให้คนอื่นเรียก หมายเลข อ้างอิงดังกล่าวเราเรียกว่า IP Address หรือหมายเลข IP หรือบางทีก็เรียกว่า "แอดเดรส IP" (IP ในที่นี้ก็คือ Internet Protocol ตัว เดียวกับใน TCP/IP นั่นเอง) ซึ่งถูกจัดเป็นตัวเลขชุดหนึ่งขนาด 32 บิต ใน 1 ชุดนี้จะมีตัวเลขถูกแบ่งออกเป็น 4 ส่วน ส่วนละ 8 บิตเท่าๆ กัน เวลาเขียนก็แปลงให้เป็นเลขฐานสิบ ก่อนเพื่อความง่ายแล้วเขียนโดยคั่นแต่ละส่วนด้วยจุด ดังนั้นในตัวเลขแต่ละ ส่วนนี้จึงมีค่าได้ตั้งแต่ 0 จนถึง 28 -1 = 255 เท่านั้น เช่น 192.10.1.101 เป็นต้น ตัวเลข IP Address ชุดนี้จะเป็นสิ่งที่สาคัญคล้าย เบอร์โทรศัพท์ที่เรามีใช้อยู่และไม่ซ้ากัน เพราะสามารถกาหนดเป็นตัวเลขได้รวมทั้งสิ้นกว่า 4 พันล้านเลขหมาย แต่การ กาหนดให้คอมพิวเตอร์มีเลขหมาย IP Address นี้ไม่ได้เริ่มต้นจากหมายเลข 1 และนับขึ้นไปเรื่อยๆ
  • 8. 8 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved DNS server คืออะไร DNS server ย่อมาจาก Domain Name System server คือเครื่องบริการแปลงชื่อเว็บเป็นหมายเลข IP ซึ่งการแปลงชื่อนี้ อาจเกิดในเครื่อง local เอง จาก Cache ในเครื่อง local หรือจากเครื่องบริการของผู้ให้บริการเพราะ เบอร์ IP Address เป็นตัว เลขที่ใช้ไม่ค่อยสะดวกและจายาก ด้วยเหตุนี้จึงมีการคิดระบบตั้งชื่อแบบที่เป็นตัวอักษรให้มีความหมายเพื่อการจดจาได้ง่าย ขึ้น จึงเป็นที่มาของ DNS server DNS ทาหน้าที่คล้ายสมุดโทรศัพท์คือ เมื่อมีคนต้องการจะโทรศัพท์หาใคร คนนั้นก็จะเปิดสมุดโทรศัพท์ดู เพื่อค้นหา หมายเลขโทรศัพท์ของคนที่ต้องการติดต่อ คอมพิวเตอร์ก็เช่นกัน เมื่อต้องการสื่อสารกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น เครื่องนั้นก็ จะทาการสอบถามหมายเลข IP ของเครื่องที่ต้องการสื่อสารด้วยกับ DNS server ซึ่งจะทาการค้นหาหมายเลขดังกล่าวใน ฐานข้อมูลแล้วแจ้งให้โฮสต์ดังกล่าว ทราบ ระบบ DNS แบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ 1.Name Resolvers : ดังที่ได้กล่าวมาแล้วว่าจุดประสงค์หลักของ DNS คือการแปลงชื่อคอมพิวเตอร์ ให้เป็นหมายเลข IP ในเทอมของ DNS แล้วเครื่องไคลเอนท์ที่ต้องการสอบถามหมายเลข IP จะเรียกว่า "รีโซล์ฟเวอร์ (resolver)" วอฟแวร์ที่ทา หน้าที่เป็นรีโซล์ฟเวอร์นั้นจะถูกสร้างมากับแอพพลิเคชันหรืออาจจะเป็นไลบรารีที่มีอยู่ในเครื่องไคลเอนท์ 2.Domain Name Space : ฐานข้อมูลระบบ DNS มีโครงสร้างเป็นต้นไม้ซึ่งจะเรียกว่า "โดเมนเนมสเปซ (Domain Name Space)" แต่ละโดเมนจะมีชื่อและสามารถมีโดเมนย่อยหรือซับโดเมน (Subdomain) การเรียกชื่อจะใช้จุด ( .) เป็นตัว แบ่งแยกระหว่างโดเมนหลักและโดเมนย่อย 3.Name Servers : เนมเซิร์ฟเวอร์ คือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่รันโปรแกรมที่จัดการฐานข้อมูลบางส่วนของระบบ DNS เนม เซิร์ฟเวอร์จะตอบกลับการร้องขอทันทีโดยการค้นหาข้อมูลในฐานของมูลตัวเอง หรือจะส่งต่อการร้องขอ ไปยังเนม เซิร์ฟเวอร์อื่น ถ้าเนมเซิร์ฟเวอร์มีเร็คคอร์ดของส่วนของโดเมน แสดงว่า เนมเซิร์ฟเวอร์นั้นเป็นเจ้าของโดเมนนั้น (Authoritative) ถ้าไม่มีก็จะเรียกว่า Non-Authoritative
  • 9. 9 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ข้อจากัดของระบบ DNS รับรู้เฉพาะตัวอักษรละติน (ASCII character set) ใน RFC 1035 ระบุว่า สัญลักษณ์ที่ใช้ได้ในโดเมนเนม คือ 1.ตัวอักษร a ถึง z (case insensitive) 2.เลข 0 ? 9 3.เครื่องหมายยติภังค์ (-) ปัจจุบัน ประเทศมีการประดิษฐ์คิดค้นเทคโนโลยีชื่อโดเมนภาษาไทยในปี 2542 โดยกลุ่มผู้ประดิษฐ์คิดค้นชาวไทย ที่เอื้ออานวยให้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตสามารถเรียกดูเว็บไซต์ผ่านทางชื่อโดเมนภาษาไทยเต็มรูปแบบ และเปิดโอกาสให้เจ้าของ เว็บไซต์ที่ประสบปัญหากับการมีชื่อโดเมนภาษาอังกฤษที่จดจายาก หรือใช้สื่อสารกับกลุ่มเป้ าหมายได้อย่างลาบาก สามารถจด ทะเบียนชื่อโดเมนภาษาไทยให้กับเว็บไซต์ของตัวเอง โดยใช้ตัวแปลงรหัสภาษาท้องถิ่นเพื่อทางานร่วมกับระบบ DNS เว็บ (web) เว็บไซต์ (website, web site, หรือ Web site) หมายถึง หน้าเว็บเพจหลายหน้า ซึ่งเชื่อมโยงกันผ่านทางไฮเปอร์ ลิงก์ ส่วนใหญ่จัดทาขึ้นเพื่อนาเสนอข้อมูลผ่านคอมพิวเตอร์ โดยถูกจัดเก็บไว้ในเวิลด์ไวด์เว็บ หน้าแรกของเว็บไซต์ที่เก็บไว้ที่ ชื่อหลักจะเรียกว่า โฮมเพจ เว็บไซต์โดยทั่วไปจะให้บริการต่อผู้ใช้ฟรี แต่ในขณะเดียวกันบางเว็บไซต์จาเป็นต้องมีการสมัคร สมาชิกและเสียค่าบริการเพื่อที่จะดูข้อมูล ในเว็บไซต์นั้น ซึ่งได้แก่ข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลตลาดหลักทรัพย์หรือข้อมูลสื่อ ต่างๆ ผู้ทาเว็บไซต์มีหลากหลายระดับ ตั้งแต่สร้างเว็บไซต์ส่วนตัว จนถึงระดับเว็บไซต์สาหรับธุรกิจหรือองค์กรต่างๆ การ เรียกดูเว็บไซต์โดยทั่วไปนิยมเรียกดูผ่านซอฟต์แวร์ในลักษณะของ เว็บเบราว์เซอร์
  • 10. 10 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved เว็บไซต์ (อังกฤษ: website, web site, Web site) หมายถึง หน้าเว็บเพจหลายหน้า ซึ่งเชื่อมโยงกันผ่านทางไฮเปอร์ลิงก์ ส่วนใหญ่จัดทาขึ้นเพื่อนาเสนอข้อมูลผ่านคอมพิวเตอร์ โดยถูกจัดเก็บไว้ในเวิลด์ไวด์เว็บ หน้าแรกของเว็บไซต์ที่เก็บไว้ที่ชื่อหลัก จะเรียกว่า โฮมเพจ เว็บไซต์โดยทั่วไปจะให้บริการต่อผู้ใช้ฟรี แต่ในขณะเดียวกันบางเว็บไซต์จาเป็นต้องมีการสมัครสมาชิกและ เสียค่าบริการเพื่อที่จะดูข้อมูล ในเว็บไซต์นั้น ซึ่งได้แก่ข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลตลาดหลักทรัพย์หรือข้อมูลสื่อต่างๆ ผู้ทาเว็บไซต์ มีหลากหลายระดับ ตั้งแต่สร้างเว็บไซต์ส่วนตัว จนถึงระดับเว็บไซต์สาหรับธุรกิจหรือองค์กรต่างๆ การเรียกดูเว็บไซต์โดยทั่วไป นิยมเรียกดูผ่านซอฟต์แวร์ในลักษณะของ เว็บเบราว์เซอร์ เว็บไซต์ HTTP โปรโตคอลของเว็บ HTTP หรือ Hyper Text Transfer Protocol หมายถึง บริการหรือรูปแบบการเชื่อมต่อประเภทหนึ่งในอินเตอร์เน็ตที่ใช้ สาหรับการรับส่งไฮเปอร์เท็กซ์ไฟล์ (ไฟล์เว็บเพจ) จากคอมพิวเตอร์ต้นทางไปยังคอมพิวเตอร์ปลายทาง คอมพิวเตอร์ต้นทางเรา เรียกว่า HTTP Server หรือ Web Server คอมพิวเตอร์ปลายทาง เรียกว่า HTTP Client หรือ Web Client HTML ภาษาของเว็บ HTML หรือ Hyper Text Mark up Language หมายถึง ภาษาคอมพิวเตอร์ชนิดหนึ่งที่ใช้สาหรับสร้างเว็บเพจ ลักษณะ เด่นของเอกสาร (หรือเว็บเพจ) ที่เขียนด้วยภาษา HTML คือ สามารถสร้างการเชื่อมโยงหรือลิ้งค์ (link) จากข้อความหรือ รูปภาพในเอกสารหน้าหนึ่ง ไปยังเอกสารอีกหน้าหนึ่งได้
  • 11. 11 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved URl (Uniform Resource Locator) ตัวชี้แหล่งในอินเทอร์เน็ต หรือ โปรแกรมชี้แหล่งทรัพยากรสากล (Uniform Resource Locator, Universal Resource Locator) เรียกโดยย่อว่า ยูอาร์แอล (URL) คือตัวระบุแหล่งทรัพยากรสากล (URl) ประเภทหนึ่ง ซึ่งใช้สาหรับระบุ แหล่งที่อยู่ของทรัพยากรที่ต้องการ และมีกลไกบางอย่างสาหรับดึงข้อมูลทรัพยากรนั้นมา ในการใช้ในเอกสารทางเทคนิค และการอภิปรายทั่วไป มักจะใช้ยูอาร์แอลแทนความหมายที่คล้ายกับยูอาร์ไอ ซึ่งไม่ใช่ความหมายที่ถูกต้องและอาจทาให้ เกิดความสับสน ในภาษาพูดทั่วไป ยูอาร์แอลอาจหมายถึง ที่อยู่บนเว็บ หรือ ที่อยู่อินเทอร์เน็ต ก็ได้ซึ่งปกติแล้วเรามักพิมพ์ยู อาร์แอลในแถบที่อยู่ของเว็บเบราว์เซอร์เพื่อเรียกข้อมูลจากเว็บไซต์ รู้จักกับ E-mail Electronic mail หรือ E-mail (อีเมล์) เป็นการรับส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ในแบบเดียวกับจดหมายทั่วไปคือส่ง แล้วข้อมูลที่ส่งนั้นจะไปกองรอไว้เมื่อผู้รับว่างจึงจะเข้ามาเปิดอ่าน โดยไม่จาเป็นต้องมีการโต้ตอนกันทันทีอีเมล์เป็นรูปแบบ การสื่อสารที่ใช้กันแพร่หลายบนอินเทอร์เน็ตมานานแล้ว (เน็ตเวิร์กในองค์กรก็อาจมีอีเมล์ภายในใช้เช่นกัน) โปรแกรมที่ใช้ รับส่งอีเมล์จะถูกรับส่งผ่านเครื่องที่ให้บริการรับส่งเมล์ ซึ่งเรียกว่า “เมล์เซิร์ฟเวอร์” (mail server) ในองค์กรที่มีระบบอีเมล์ใช้เป้นของตนเอง ผู้ดูแลระบบจะจัดที่อยู่อีเมล์หรือ E-mail address ให้ใช้เป็นการ เฉพาะสาหรับหน่วยงานนั้น ๆ นอกจากนั้นเรายังสามารถขออีเมล์แอดเดรสจาก ISP ที่ใช้บริการอยู่ได้เช่นกัน หรือขอจาก เว็บไซต์ที่ให้บริหารอีเมล์ฟรี เช่น hotmail.com, gmail.com เป็นต้น
  • 12. 12 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved รูปแบบของ E-mail address ในการส่งอีเมล์นี้ เราจะต้องรู้ที่อยู่ของผู้รับว่าจะส่งไปที่ชื่อไหน ซึ่งเรียกว่า “ตู้จดหมาย” หรือ mailbox และต่างกันไป ตามแต่ละคน แต่จะอยู่ในรูปแบบใกล้เคียงกันคือ ชื่อผู้ใช้@ชื่อโดเมนหรือชื่อหน่วยงาน ดังตัวอย่างนี้ จะเห็นว่าอีเมล์แอดเดรสนี้จะอ้างถึงเมล์บ็อกซ์บนเครื่องที่เราตั้งไว้โดยเฉพาะ ซึ่งอาจเป็นของ ISP ที่เราใช้หรือของ หน่วยงาน/สถาบันการศึกษาที่เราสังกัด และจะโหลดมาอ่านที่เครื่องเราได้ เรียกอีกอย่างว่า “ป็อปเมล์” (POP คือ Post Office Protocol เป็นมาตรฐานของโปรแกรมที่ทาหน้าที่ดาวน์โหลดอีเมล์มาอ่านในเครื่องของเรา) การรับและส่งอีเมล์ - การส่งอีเมล์ เริ่มจากสร้างไฟล์อีเมล์ขึ้นใหม่ แล้วส่งไฟล์นั้นให้กับเครื่องที่เป็น เมล์เซิร์ฟเวอร์ขาออก ซึ่งจะส่ง ต่อไปยังผู้รับปลายทางอีกทอดหนึ่ง เราสามารถเขียนข้อความหรือแนบไฟล์เอกสาร รูปภาพ และข้อมูล มัลติมีเดียแบบ ต่าง ๆ ไปด้วยก็ได้นอกจากนี้บางโปรแกรมยังจัดหน้าตาเมล์ให้สวยงามและน่าอ่าน โดยใช้ภาษา %HTML แบบเดียวกับ เว็บเพจนั่งเอง ในการส่งอีเมล์นี้ เราอาจส่งไปยังผู้รับคนเดียว หรือจะระบุให้ส่งถึงหลาย ๆ คน โดยเมล์ฉบับเดียวก็ได้ เมล์เซิร์ฟเวอร์ขาออกจะจัดการกระจายให้ทุกคนเอง - การรับอีเมล์ เริ่มโดยเชื่อมต่อไปที่เครื่อง เมล์เซิร์ฟเวอร์ขาเข้า (อาจเป็นคนละเครื่องหรือเครื่องเดียวกับเมล์ เซิร์ฟเวอร์ขาออกก็ได้) ซึ่งมีเมล์บ็อกซ์ (mailbox) หรือตู้ไปรษณีย์เพื่อดังอีเมล์ที่มีถึงเข้ามายังเครื่องของเราและอาจลบ ไฟล์ต้นฉบับบนเซิร์ฟเวอร์นั้นทิ้ง หรือจะเก็บไว้ก่อนก็ได้ อีเมล์ที่ดึงมาแล้วนั้นจะเปิดอ่านหรือแยกเอาไฟล์หรือข้อมูลที่ แนบออกมาใช้งานอื่น ๆ ต่อได้เช่นกัน
  • 13. 13 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ที่มา -http://www.ipesp.ac.th/learning/071001/chapter6/UN6_2.html -http://www.krujongrak.com/internet/internet.html -http://www.ipesp.ac.th/learning/071001/chapter6/UN6_4.html -http://www.ipesp.ac.th/learning/071001/chapter6/UN6_5.html - http://www.thaigoodview.com/library/contest2553/type2/tech04/25/chapter_3.html - http://market.mthai.com/uploads/product/351993/original_0.jpg -http://www.ipesp.ac.th/learning/071001/chapter6/UN6_10.html