SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 42
Baixar para ler offline
เศรษฐศาสตรในชีวิตประจําวัน

            สฤณี อาชวานันทกุล
           Fringer | คนชายขอบ
         http://www.fringer.org/
 โรงเรียนวัดสุทธิวราราม, 29 มกราคม 2551
       งานนี้เผยแพรภายใตลิขสิทธิ์ Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial
       Share Alike (by-nc-sa) โดยผูสรางอนุญาตใหทําซ้ํา แจกจาย แสดง และสรางงาน
       ดัดแปลงจากสวนใดสวนหนึ่งของงานนี้ไดโดยเสรี แตเฉพาะในกรณีที่ใหเครดิตผูสราง ไม
       นําไปใชในทางการคา และเผยแพรงานดัดแปลงภายใตลิขสิทธิ์เดียวกันนี้เทานั้น
หัวขอชวนคุย

1.   เศรษฐศาสตรคืออะไร?
2.   กิจกรรมทางเศรษฐกิจ
3.   เรื่องของเงิน
4.   เรื่องของสินคา
5.   วิธีวิทยาของเศรษฐศาสตร
เศรษฐศาสตรคืออะไร?
“โจทยใหญ” ของเศรษฐศาสตร

                • มนุษยมีความตองการไม
                  สิ้นสุด
                • แตทรัพยากรมีจํากัด
                   – ที่ดิน &ทรัพยากรธรรมชาติ
                   – แรงงาน
                   – ทุน
                • ควรใชและจัดสรร
                  ทรัพยากรอยางไร?
                • เรามีทางเลือกอะไรบาง?
สมมุติฐานของเศรษฐศาสตร

• คนเปน “สัตวเศรษฐกิจ” ?
• คน “มีเหตุมีผล”?
• ถาสมมุติฐานเหลานี้ไมเปนจริง
  ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตรกอาจ
                      ็
  อธิบาย “โลกแหงความจริง” ไมได
คําถามใหญของเศรษฐศาสตร
• ระบอบเศรษฐกิจควรผลิตสินคาและบริการประเภท
  ใดบาง? – เนนการผลิตในภาคเกษตร หรืออุตสาหกรรม หรือ
  บริการ? หรือควรเนนกิจกรรมดานกีฬา การพักผอน หรือทีอยู
                                                      ่
  อาศัย?
• ระบอบเศรษฐกิจควรผลิตสินคาและบริการอยางไร? – ใช
  แรงงานเปนหลัก, ที่ดนเปนหลัก, หรือทุนเปนหลัก? ทํา
                      ิ
  อยางไรใหเกิดประสิทธิภาพ?
• ใครควรไดใชสนคาและบริการที่ผลิต? – แบงใหทุกคนได
                  ิ
  เทาๆ กัน? ใหคนรวยไดมากกวา? ใหคนทํางานหนักได
  มากกวา?
Stock vs. Flow
Positive & normative economics
• Positive Statements:
   – สามารถพิสูจนวาเปนจริงหรือเท็จได ดวยการเช็คขอมูลหรือ
     คนควาวิจัยเพิ่มเติม
• Normative Statements:
   – เปน “ความเห็น” หรือ “ความรูสึกสวนตัว” ที่พิสูจนวาเปน
                                                         
     จริงหรือเท็จไมไดดวยการคนควาวิจัย


 ความรูจากงานคนควาวิจัยลาสุดศาสตรอนๆ กําลังชวยขยับขยาย
                                       ื่
  “พรมแดนความรู” ของเศรษฐศาสตร เทากับแปลง Normative
                 
    เปน Positive economics เชน happiness economics,
     behaviorial economics, environmental economics
“นักเศรษฐศาสตรพูดอะไรก็ได”?
      Price
      6



      5


      4



      3


      2


      1


      0
          0   1   2      3       4   5   6
                      Quantity
“นักเศรษฐศาสตรพูดอะไรก็ได”?
      Price
      6                          S0


                                      S1
      5


                                                S2
      4



      3



      2


      1                                    D0


      0
          0   1   2      3        4    5         6
                      Quantity
“นักเศรษฐศาสตรพูดอะไรก็ได”?
      Price
      6

                                      S0

      5


      4



      3


                                            D2
      2


                                       D1
      1

                                 D0
      0
          0   1   2      3       4     5    6
                      Quantity
กิจกรรมทางเศรษฐกิจ
บริโภคหรือลงทุน?
บริโภคหรือลงทุน?
บริโภคหรือลงทุน?
บริโภคหรือลงทุน?
เรื่องของเงิน
ทําไมเวลา = เงิน?
Time Value of Money (TVM)
• เงิน 100 บาทในมือวันนี้ มีคามากกวาเงิน 100 บาทที่
  จะไดในปหนา เพราะเราสามารถนํา 100 บาทวันนี้ไปใช
  จาย (บริโภค) หรือลงทุน เชน ฝากธนาคาร
• ถาดอกเบียเงินฝาก = 5% ตอป เราจะมีเงินในธนาคาร
           ้
  เทาไรในหนึ่งป? สองป?
• เราไมไดเพียงดอกเบี้ยบนเงินตนกอนแรกเทานั้น แตยัง
  ได “ดอกเบี้ยบนดอกเบี้ย” อีกดวย = “ดอกเบียทบตน”
                                            ้
• “กฎ 72” = 72 / ดอกเบียตอป = จํานวนปคราวๆ ทีเงิน
                       ้                         ่
  จะเพิมเปนสองเทา
       ่
• สูตรในการหา “มูลคาอนาคต” :
ทําไมเงินจึงสูญเสียมูลคาตามเวลา?
เงินเฟอ
• เงินเฟอ หมายถึงภาวะทีกําลังซือของผูบริโภคลดลง
                         ่      ้
  จากการที่ผูบริโภคตองการสินคาและบริการในปริมาณ
  มากกวาปริมาณทีผูผลิตจะผลิตมาวางขายทันตอความ
                   ่
  ตองการ (ลักษณะของระบอบเศรษฐกิจที่กาลังเติบโต)
                                           ํ
• ถาเราซื้ออะไรไดดวยเงิน 100 บาทในปนี้ ปหนาเราอาจ
  ตองใชเงินมากกวาเดิมในการซื้อของสิงเดียวกัน
                                      ่
• เงินเฟอทําใหของมีราคาแพงขึนเรื่อยๆ
                              ้
• ดังนัน จะรูวาเรา “รวยขึ้น” หรือ “จนลง” จริง จึงดูแต
       ้
  รายไดในกระเปาที่เพิ่มขึนหรือลดลงไมได ตองเทียบ
                             ้
  กับอัตราเงินเฟอกอน
กฎของเกรแชม (Gresham’s Law)
เรื่องของสินคา
ทําไมกาแฟสตารบัคสถึงมีหลายราคา?...
...และทําไมสตารบัคสถึง “ซอน” สินคา?
                         • ไมมี “SHORT”
                           (ขนาดเล็กสุด) ใน
                           เมนู แตลูกคา
                           สามารถสังได!
                                     ่
                         • สตารบัคสอางวา
                           เมนูไมมีเนือที่พอ
                                       ้
                           ใหใส แตเหตุผลที่
                           แทจริงคืออะไร?
                         • การ “ซอน” สินคา
                           เปนประโยชนตอ
                           ผูบริโภคอยางไร?
เมื่อผูซอรูขอมูลนอยกวาผูขาย
         ื้  
               “Lemon Car”
Price Elasticity of Demand
   ราคา (บาท)




                         จํานวนที่ตองการ
Price Elasticity of Demand
    ราคา (บาท)




     5



          รายได
         ของผูขาย
                             D

                     100
                             จํานวนที่ตองการ
Price Elasticity of Demand
   ราคา (บาท)


     10




     5




                      D
                5 6
                             จํานวนที่ตองการ
Price Elasticity of Demand
 ราคา (บาท)




  10


   7
                                           D




              5                       20
                   จํานวนที่ตองการ
Income Elasticity of Demand
Income Elasticity of Demand
วิธีวิทยาของเศรษฐศาสตร
(economic methodology)
เศรษฐศาสตรเลาเรืองดวยแผนภาพ
                  ่
                                                   สิ่งบันเทิง
คาใชจายในการบริโภค (บาท)


                                                                 อาหาร
       




                             O   รายไดตอเดือน (บาท)
เศรษฐศาสตรเลาเรืองดวย Time Series
                  ่
พันลาน
บาท         ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศและอัตราการสงออกของไทย
8,000                                                                                                                     80%




6,000                                                                                                                     60%




4,000                                                                                                                     40%



2,000                                                                                                                     20%




   0                                                                                                                      0%
         2533   2534   2535   2536   2537   2538   2539   2540   2541   2542   2543   2544   2545    2546   2547   2548

                              GDP ของไทย                          การส ง ออกเป น ร อ ยละของ GDP


        ที่มา: กระทรวงพาณิชย, ธนาคารแหงประเทศไทย
อัตราสวนก็ใช “เลาเรือง” ได
                        ่
                                  อัตราสวนการใชเชื้อเพลิงตอรายไดตอหัว ป 2548
                                     (จํานวนตันหรือเทียบเทา ตอรายได 1 USD)
500
450
400
350
300
250
200
150
100
 50
  0
                                                             อิ น โดนี เ ซี ย




                                                                                                              สิ งคโปร




                                                                                                                                             ฮ อ งกง
                                                                                มาเลเซี ย




                                                                                                                          ไทย




                                                                                                                                                               อิ น เดี ย
                                                ฟ น แลนด




                                                                                            ฟ ลิ ป ป น ส




                                                                                                                                เกาหลี ใต
         สหรั ฐ อเมริ กา


                           ญี่ปุ น




                                                                                                                                                        จี น
                                      อั งกฤษ




      ที่มา: British Petroleum Statistical Review of World Energy 2006, World Bank
ขอมูล cross-section “เลาเรือง” ดีกวา
                             ่
                 สัดสวนหนี้ตอรายไดของครัวเรือนไทย แบงตามชั้นรายได
25.0
20.0
15.0
10.0
 5.0
 0.0
       0       10       20        30          40     50       60     70      80   90   100
                             ชั้นรายไดของครัวเรือน (percentile)

                          2000         2004        Poly. (2000)    Poly. (2004)
       ที่มา: สํานักงานสถิติแหงชาติ
scale ของกราฟ มีผลทางจิตวิทยา
                                100
                                                          การบริโภคอาหารตอป (ตอคน)
ปริมาณที่ซื้อตอป (กิโลกรัม)




                                 75


                                                                   รายไดของ          ปริมาณที่ซื้อ
                                                               ผูบริโภค (บาท)      ตอป (กิโลกรัม)
                                 50
                                                                        0                 10
                                                                    5,000                 25
                                                                   10,000                 45
                                 25                                15,000                 70
                                                                   20,000                100

                                  0
                                      0   10 000     20 000    30 000     40 000      50 000     60 000

                                                   รายไดของผูบfig ภคตอป (บาท)
                                                                ริโ
scale ของกราฟ มีผลทางจิตวิทยา (ตอ)
                                400



                                              รายไดของ       ปริมาณที่ซื้อ
ปริมาณที่ซื้อตอป (กิโลกรัม)




                                300
                                          ผูบริโภค (บาท)   ตอป (กิโลกรัม)
                                                  0               10
                                              5,000               25
                                200          10,000               45
                                             15,000               70              การบริโภคอาหาร
                                             20,000              100               ตอป (ตอคน)
                                100




                                  0
                                      0           5000           10 000        15 000      20 000
                                                  รายไดของผูบริโภคตอป (บาท)
                                                                fig
เมื่อไหรที่ “ขาวดี” เปนขาวดีจริงๆ?
                      12                                                                                    15

                      11
                                                                                                            10
อัตราการวางงาน (%)




                      10

                       9
                                                                                                            5

                       8

                                                                                                            0
                       7

                       6                                                 Unemployment
                                                                                                            -5
                       5

                       4                                                                                    -10
                           Q1   Q2   Q3   Q4   Q1   Q2   Q3         Q4   Q1   Q2   Q3   Q4   Q1   Q2   Q3

                                 1989               1990      fig             1991            1992
เมื่อไหรที่ “ขาวดี” เปนขาวดีจริงๆ? (ตอ)
                      12                                                                                  15




                                                                                                                อัตราการเปลี่ยนแปลงของอัตราการวางงาน (%)
                                                     Rate of change
                      11                            in unemployment
                                                                                                          10
                      10
อัตราการวางงาน (%)




                       9
                                                                                                          5

                       8

                                                                                                          0
                       7

                                                                     Unemployment
                       6
                                                                                                          -5
                       5

                       4                                                                                  -10
                           Q1   Q2   Q3   Q4   Q1    Q2   Q3   Q4    Q1   Q2   Q3   Q4   Q1    Q2    Q3
                                                               fig
                                 1989                 1990                 1991               1992
มูลคา = ปริมาณ x ราคา
•    การ “แยกสวน” ตัวเลขตางๆ ออกเปนองคประกอบ จะทําใหเราเขาใจไดดีขึ้นวา ใคร
     ไดหรือเสียประโยชนจากตัวเลขที่สูงขึ้นหรือลดลง
•    ยกตัวอยางมูลคาการสงออกขาวเปรียบเทียบ 2545 เทียบกับ 2548:
                         มูลคาสงออกขาว              สวนตางมูลคาสงออก
    พันลานบาท                                                   23
      100                                    93                  7%    สวนตางที่เกิดจาก
                                                                       ปริมาณขาว
       80
                       70
       60
                                                                93% สวนตางที่เกิดจาก
       40                                                              ราคาขาว

       20

        0
                      2545                  2548
            ที่มา: กรมสงเสริมการสงออก

•    จะเห็นไดวามูลคาสงออกขาวที่เพิ่มขึนนันเกิดจากราคาขายที่สูงขึ้นเปนสวนใหญ
                                           ้ ้
     (93%) มาจากปริมาณเพิ่มขึนเปนสวนนอย (7%)
                                  ้
•    เมื่อเทียบตัวเลขนี้กับราคาที่รัฐบาลรับซื้อขาวเปลือก จะพบวาคนที่ไดประโยชนสวน
     ใหญจากมาตรการนี้คือพอคาคนกลาง ไมใชเกษตรกร

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Finance Cost Of Capital
Finance Cost Of CapitalFinance Cost Of Capital
Finance Cost Of Capitaltltutortutor
 
Finance Yield Curve & Term Structure Of Interest
Finance Yield Curve & Term Structure Of InterestFinance Yield Curve & Term Structure Of Interest
Finance Yield Curve & Term Structure Of Interesttltutortutor
 
11 การทำงานแบบคนไทยในมุมมองชาวต่างชาติ
11 การทำงานแบบคนไทยในมุมมองชาวต่างชาติ11 การทำงานแบบคนไทยในมุมมองชาวต่างชาติ
11 การทำงานแบบคนไทยในมุมมองชาวต่างชาติguestdf2abc6
 
Citizen Journalism & Internet as Social Media
Citizen Journalism & Internet as Social MediaCitizen Journalism & Internet as Social Media
Citizen Journalism & Internet as Social MediaSarinee Achavanuntakul
 
WHYONLINELEARNERDROPOUT
WHYONLINELEARNERDROPOUTWHYONLINELEARNERDROPOUT
WHYONLINELEARNERDROPOUTphaisack
 
Strategic Management - Starbucks Case
Strategic Management - Starbucks CaseStrategic Management - Starbucks Case
Strategic Management - Starbucks CaseWorawisut Pinyoyang
 
Ru Derivativesand Risk Management Part3
Ru Derivativesand Risk Management Part3Ru Derivativesand Risk Management Part3
Ru Derivativesand Risk Management Part3tltutortutor
 
บ้านไร่กาแฟ
บ้านไร่กาแฟบ้านไร่กาแฟ
บ้านไร่กาแฟglenferry
 
Case Study Ezy Go Channel & Communication
Case Study Ezy Go Channel & CommunicationCase Study Ezy Go Channel & Communication
Case Study Ezy Go Channel & Communicationtltutortutor
 
Self-regulation on Internet and Netiquette
Self-regulation on Internet and NetiquetteSelf-regulation on Internet and Netiquette
Self-regulation on Internet and NetiquetteSarinee Achavanuntakul
 
Ru Derivativesand Risk Management Part2
Ru Derivativesand Risk Management Part2Ru Derivativesand Risk Management Part2
Ru Derivativesand Risk Management Part2tltutortutor
 
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1tltutortutor
 

Mais procurados (16)

Finance Cost Of Capital
Finance Cost Of CapitalFinance Cost Of Capital
Finance Cost Of Capital
 
NECTEC Social Network
NECTEC Social NetworkNECTEC Social Network
NECTEC Social Network
 
MBA- Entrepreneurship
MBA- EntrepreneurshipMBA- Entrepreneurship
MBA- Entrepreneurship
 
Finance Yield Curve & Term Structure Of Interest
Finance Yield Curve & Term Structure Of InterestFinance Yield Curve & Term Structure Of Interest
Finance Yield Curve & Term Structure Of Interest
 
11 การทำงานแบบคนไทยในมุมมองชาวต่างชาติ
11 การทำงานแบบคนไทยในมุมมองชาวต่างชาติ11 การทำงานแบบคนไทยในมุมมองชาวต่างชาติ
11 การทำงานแบบคนไทยในมุมมองชาวต่างชาติ
 
Kai Zen
Kai ZenKai Zen
Kai Zen
 
Citizen Journalism & Internet as Social Media
Citizen Journalism & Internet as Social MediaCitizen Journalism & Internet as Social Media
Citizen Journalism & Internet as Social Media
 
WHYONLINELEARNERDROPOUT
WHYONLINELEARNERDROPOUTWHYONLINELEARNERDROPOUT
WHYONLINELEARNERDROPOUT
 
Strategic Management - Starbucks Case
Strategic Management - Starbucks CaseStrategic Management - Starbucks Case
Strategic Management - Starbucks Case
 
Ru Derivativesand Risk Management Part3
Ru Derivativesand Risk Management Part3Ru Derivativesand Risk Management Part3
Ru Derivativesand Risk Management Part3
 
บ้านไร่กาแฟ
บ้านไร่กาแฟบ้านไร่กาแฟ
บ้านไร่กาแฟ
 
Case Study Ezy Go Channel & Communication
Case Study Ezy Go Channel & CommunicationCase Study Ezy Go Channel & Communication
Case Study Ezy Go Channel & Communication
 
Self-regulation on Internet and Netiquette
Self-regulation on Internet and NetiquetteSelf-regulation on Internet and Netiquette
Self-regulation on Internet and Netiquette
 
Ru Derivativesand Risk Management Part2
Ru Derivativesand Risk Management Part2Ru Derivativesand Risk Management Part2
Ru Derivativesand Risk Management Part2
 
Household Energy Saving
Household Energy SavingHousehold Energy Saving
Household Energy Saving
 
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
 

Destaque

Economics In Everyday LIfe
Economics In Everyday LIfeEconomics In Everyday LIfe
Economics In Everyday LIfeMrRed
 
Economic essay
Economic essayEconomic essay
Economic essayBrayden
 
Economy and Everyday Life of the UK
Economy and Everyday Life of the UKEconomy and Everyday Life of the UK
Economy and Everyday Life of the UKDasha Reznikova
 
LFHW presentation
LFHW presentation LFHW presentation
LFHW presentation RFYC
 
Introduction To Economics
Introduction To EconomicsIntroduction To Economics
Introduction To Economicsdheva B
 
Unit 4: Economics Essay
Unit 4: Economics EssayUnit 4: Economics Essay
Unit 4: Economics Essaymattbentley34
 
Introduction to economics
Introduction to economicsIntroduction to economics
Introduction to economicsMichael Noel
 
British economy presentation
British economy presentationBritish economy presentation
British economy presentationCOLUMDAE
 
Nature and scope of economics
Nature and scope of economicsNature and scope of economics
Nature and scope of economicsArihantJain21
 
Basic Concepts Of Economics
Basic  Concepts Of  EconomicsBasic  Concepts Of  Economics
Basic Concepts Of EconomicsGenny Nazal
 
British at work
British at workBritish at work
British at workHomi Audie
 
Economics and the Understanding of Society's Problems
Economics and the Understanding of Society's ProblemsEconomics and the Understanding of Society's Problems
Economics and the Understanding of Society's ProblemsSarinee Achavanuntakul
 
Pat1 มีค57 type
Pat1 มีค57 typePat1 มีค57 type
Pat1 มีค57 typeTKAomerz
 

Destaque (20)

Economics In Everyday LIfe
Economics In Everyday LIfeEconomics In Everyday LIfe
Economics In Everyday LIfe
 
Economic essay
Economic essayEconomic essay
Economic essay
 
Economy and Everyday Life of the UK
Economy and Everyday Life of the UKEconomy and Everyday Life of the UK
Economy and Everyday Life of the UK
 
LFHW presentation
LFHW presentation LFHW presentation
LFHW presentation
 
Introduction To Economics
Introduction To EconomicsIntroduction To Economics
Introduction To Economics
 
Unit 4: Economics Essay
Unit 4: Economics EssayUnit 4: Economics Essay
Unit 4: Economics Essay
 
Introduction to economics
Introduction to economicsIntroduction to economics
Introduction to economics
 
British economy presentation
British economy presentationBritish economy presentation
British economy presentation
 
What Is Economics?
What Is Economics?What Is Economics?
What Is Economics?
 
Nature and scope of economics
Nature and scope of economicsNature and scope of economics
Nature and scope of economics
 
Basic Concepts Of Economics
Basic  Concepts Of  EconomicsBasic  Concepts Of  Economics
Basic Concepts Of Economics
 
British at work
British at workBritish at work
British at work
 
Economics and the Understanding of Society's Problems
Economics and the Understanding of Society's ProblemsEconomics and the Understanding of Society's Problems
Economics and the Understanding of Society's Problems
 
Pat157
Pat157Pat157
Pat157
 
British Economy
British EconomyBritish Economy
British Economy
 
UK's Economy
UK's EconomyUK's Economy
UK's Economy
 
the economy of UK
the economy of UKthe economy of UK
the economy of UK
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 
Pat1 มีค57 type
Pat1 มีค57 typePat1 มีค57 type
Pat1 มีค57 type
 
PAT1
PAT1PAT1
PAT1
 

Mais de Sarinee Achavanuntakul

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Sarinee Achavanuntakul
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?Sarinee Achavanuntakul
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectSarinee Achavanuntakul
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandSarinee Achavanuntakul
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessSarinee Achavanuntakul
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkSarinee Achavanuntakul
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Sarinee Achavanuntakul
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueSarinee Achavanuntakul
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilitySarinee Achavanuntakul
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์Sarinee Achavanuntakul
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016Sarinee Achavanuntakul
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยSarinee Achavanuntakul
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeSarinee Achavanuntakul
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverSarinee Achavanuntakul
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsSarinee Achavanuntakul
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorSarinee Achavanuntakul
 

Mais de Sarinee Achavanuntakul (20)

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
 
2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View
 
Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in Thailand
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable Business
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibility
 
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
 
Game & Social Problems
Game & Social ProblemsGame & Social Problems
Game & Social Problems
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital Age
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sector
 

Economics in Daily Life

  • 1. เศรษฐศาสตรในชีวิตประจําวัน สฤณี อาชวานันทกุล Fringer | คนชายขอบ http://www.fringer.org/ โรงเรียนวัดสุทธิวราราม, 29 มกราคม 2551 งานนี้เผยแพรภายใตลิขสิทธิ์ Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by-nc-sa) โดยผูสรางอนุญาตใหทําซ้ํา แจกจาย แสดง และสรางงาน ดัดแปลงจากสวนใดสวนหนึ่งของงานนี้ไดโดยเสรี แตเฉพาะในกรณีที่ใหเครดิตผูสราง ไม นําไปใชในทางการคา และเผยแพรงานดัดแปลงภายใตลิขสิทธิ์เดียวกันนี้เทานั้น
  • 2. หัวขอชวนคุย 1. เศรษฐศาสตรคืออะไร? 2. กิจกรรมทางเศรษฐกิจ 3. เรื่องของเงิน 4. เรื่องของสินคา 5. วิธีวิทยาของเศรษฐศาสตร
  • 4. “โจทยใหญ” ของเศรษฐศาสตร • มนุษยมีความตองการไม สิ้นสุด • แตทรัพยากรมีจํากัด – ที่ดิน &ทรัพยากรธรรมชาติ – แรงงาน – ทุน • ควรใชและจัดสรร ทรัพยากรอยางไร? • เรามีทางเลือกอะไรบาง?
  • 5. สมมุติฐานของเศรษฐศาสตร • คนเปน “สัตวเศรษฐกิจ” ? • คน “มีเหตุมีผล”? • ถาสมมุติฐานเหลานี้ไมเปนจริง ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตรกอาจ ็ อธิบาย “โลกแหงความจริง” ไมได
  • 6. คําถามใหญของเศรษฐศาสตร • ระบอบเศรษฐกิจควรผลิตสินคาและบริการประเภท ใดบาง? – เนนการผลิตในภาคเกษตร หรืออุตสาหกรรม หรือ บริการ? หรือควรเนนกิจกรรมดานกีฬา การพักผอน หรือทีอยู ่ อาศัย? • ระบอบเศรษฐกิจควรผลิตสินคาและบริการอยางไร? – ใช แรงงานเปนหลัก, ที่ดนเปนหลัก, หรือทุนเปนหลัก? ทํา ิ อยางไรใหเกิดประสิทธิภาพ? • ใครควรไดใชสนคาและบริการที่ผลิต? – แบงใหทุกคนได ิ เทาๆ กัน? ใหคนรวยไดมากกวา? ใหคนทํางานหนักได มากกวา?
  • 8. Positive & normative economics • Positive Statements: – สามารถพิสูจนวาเปนจริงหรือเท็จได ดวยการเช็คขอมูลหรือ คนควาวิจัยเพิ่มเติม • Normative Statements: – เปน “ความเห็น” หรือ “ความรูสึกสวนตัว” ที่พิสูจนวาเปน  จริงหรือเท็จไมไดดวยการคนควาวิจัย ความรูจากงานคนควาวิจัยลาสุดศาสตรอนๆ กําลังชวยขยับขยาย ื่ “พรมแดนความรู” ของเศรษฐศาสตร เทากับแปลง Normative  เปน Positive economics เชน happiness economics, behaviorial economics, environmental economics
  • 10. “นักเศรษฐศาสตรพูดอะไรก็ได”? Price 6 S0 S1 5 S2 4 3 2 1 D0 0 0 1 2 3 4 5 6 Quantity
  • 11. “นักเศรษฐศาสตรพูดอะไรก็ได”? Price 6 S0 5 4 3 D2 2 D1 1 D0 0 0 1 2 3 4 5 6 Quantity
  • 19. Time Value of Money (TVM) • เงิน 100 บาทในมือวันนี้ มีคามากกวาเงิน 100 บาทที่ จะไดในปหนา เพราะเราสามารถนํา 100 บาทวันนี้ไปใช จาย (บริโภค) หรือลงทุน เชน ฝากธนาคาร • ถาดอกเบียเงินฝาก = 5% ตอป เราจะมีเงินในธนาคาร ้ เทาไรในหนึ่งป? สองป? • เราไมไดเพียงดอกเบี้ยบนเงินตนกอนแรกเทานั้น แตยัง ได “ดอกเบี้ยบนดอกเบี้ย” อีกดวย = “ดอกเบียทบตน” ้ • “กฎ 72” = 72 / ดอกเบียตอป = จํานวนปคราวๆ ทีเงิน ้ ่ จะเพิมเปนสองเทา ่ • สูตรในการหา “มูลคาอนาคต” :
  • 21. เงินเฟอ • เงินเฟอ หมายถึงภาวะทีกําลังซือของผูบริโภคลดลง ่ ้ จากการที่ผูบริโภคตองการสินคาและบริการในปริมาณ มากกวาปริมาณทีผูผลิตจะผลิตมาวางขายทันตอความ ่ ตองการ (ลักษณะของระบอบเศรษฐกิจที่กาลังเติบโต) ํ • ถาเราซื้ออะไรไดดวยเงิน 100 บาทในปนี้ ปหนาเราอาจ ตองใชเงินมากกวาเดิมในการซื้อของสิงเดียวกัน ่ • เงินเฟอทําใหของมีราคาแพงขึนเรื่อยๆ ้ • ดังนัน จะรูวาเรา “รวยขึ้น” หรือ “จนลง” จริง จึงดูแต ้ รายไดในกระเปาที่เพิ่มขึนหรือลดลงไมได ตองเทียบ ้ กับอัตราเงินเฟอกอน
  • 25. ...และทําไมสตารบัคสถึง “ซอน” สินคา? • ไมมี “SHORT” (ขนาดเล็กสุด) ใน เมนู แตลูกคา สามารถสังได! ่ • สตารบัคสอางวา เมนูไมมีเนือที่พอ ้ ใหใส แตเหตุผลที่ แทจริงคืออะไร? • การ “ซอน” สินคา เปนประโยชนตอ ผูบริโภคอยางไร?
  • 27. Price Elasticity of Demand ราคา (บาท) จํานวนที่ตองการ
  • 28. Price Elasticity of Demand ราคา (บาท) 5 รายได ของผูขาย D 100 จํานวนที่ตองการ
  • 29. Price Elasticity of Demand ราคา (บาท) 10 5 D 5 6 จํานวนที่ตองการ
  • 30. Price Elasticity of Demand ราคา (บาท) 10 7 D 5 20 จํานวนที่ตองการ
  • 34. เศรษฐศาสตรเลาเรืองดวยแผนภาพ ่ สิ่งบันเทิง คาใชจายในการบริโภค (บาท) อาหาร  O รายไดตอเดือน (บาท)
  • 35. เศรษฐศาสตรเลาเรืองดวย Time Series ่ พันลาน บาท ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศและอัตราการสงออกของไทย 8,000 80% 6,000 60% 4,000 40% 2,000 20% 0 0% 2533 2534 2535 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 GDP ของไทย การส ง ออกเป น ร อ ยละของ GDP ที่มา: กระทรวงพาณิชย, ธนาคารแหงประเทศไทย
  • 36. อัตราสวนก็ใช “เลาเรือง” ได ่ อัตราสวนการใชเชื้อเพลิงตอรายไดตอหัว ป 2548 (จํานวนตันหรือเทียบเทา ตอรายได 1 USD) 500 450 400 350 300 250 200 150 100 50 0 อิ น โดนี เ ซี ย สิ งคโปร ฮ อ งกง มาเลเซี ย ไทย อิ น เดี ย ฟ น แลนด ฟ ลิ ป ป น ส เกาหลี ใต สหรั ฐ อเมริ กา ญี่ปุ น จี น อั งกฤษ ที่มา: British Petroleum Statistical Review of World Energy 2006, World Bank
  • 37. ขอมูล cross-section “เลาเรือง” ดีกวา ่ สัดสวนหนี้ตอรายไดของครัวเรือนไทย แบงตามชั้นรายได 25.0 20.0 15.0 10.0 5.0 0.0 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ชั้นรายไดของครัวเรือน (percentile) 2000 2004 Poly. (2000) Poly. (2004) ที่มา: สํานักงานสถิติแหงชาติ
  • 38. scale ของกราฟ มีผลทางจิตวิทยา 100 การบริโภคอาหารตอป (ตอคน) ปริมาณที่ซื้อตอป (กิโลกรัม) 75 รายไดของ ปริมาณที่ซื้อ ผูบริโภค (บาท) ตอป (กิโลกรัม) 50 0 10 5,000 25 10,000 45 25 15,000 70 20,000 100 0 0 10 000 20 000 30 000 40 000 50 000 60 000 รายไดของผูบfig ภคตอป (บาท) ริโ
  • 39. scale ของกราฟ มีผลทางจิตวิทยา (ตอ) 400 รายไดของ ปริมาณที่ซื้อ ปริมาณที่ซื้อตอป (กิโลกรัม) 300 ผูบริโภค (บาท) ตอป (กิโลกรัม) 0 10 5,000 25 200 10,000 45 15,000 70 การบริโภคอาหาร 20,000 100 ตอป (ตอคน) 100 0 0 5000 10 000 15 000 20 000 รายไดของผูบริโภคตอป (บาท) fig
  • 40. เมื่อไหรที่ “ขาวดี” เปนขาวดีจริงๆ? 12 15 11 10 อัตราการวางงาน (%) 10 9 5 8 0 7 6 Unemployment -5 5 4 -10 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 1989 1990 fig 1991 1992
  • 41. เมื่อไหรที่ “ขาวดี” เปนขาวดีจริงๆ? (ตอ) 12 15 อัตราการเปลี่ยนแปลงของอัตราการวางงาน (%) Rate of change 11 in unemployment 10 10 อัตราการวางงาน (%) 9 5 8 0 7 Unemployment 6 -5 5 4 -10 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 fig 1989 1990 1991 1992
  • 42. มูลคา = ปริมาณ x ราคา • การ “แยกสวน” ตัวเลขตางๆ ออกเปนองคประกอบ จะทําใหเราเขาใจไดดีขึ้นวา ใคร ไดหรือเสียประโยชนจากตัวเลขที่สูงขึ้นหรือลดลง • ยกตัวอยางมูลคาการสงออกขาวเปรียบเทียบ 2545 เทียบกับ 2548: มูลคาสงออกขาว สวนตางมูลคาสงออก พันลานบาท 23 100 93 7% สวนตางที่เกิดจาก ปริมาณขาว 80 70 60 93% สวนตางที่เกิดจาก 40 ราคาขาว 20 0 2545 2548 ที่มา: กรมสงเสริมการสงออก • จะเห็นไดวามูลคาสงออกขาวที่เพิ่มขึนนันเกิดจากราคาขายที่สูงขึ้นเปนสวนใหญ ้ ้ (93%) มาจากปริมาณเพิ่มขึนเปนสวนนอย (7%) ้ • เมื่อเทียบตัวเลขนี้กับราคาที่รัฐบาลรับซื้อขาวเปลือก จะพบวาคนที่ไดประโยชนสวน ใหญจากมาตรการนี้คือพอคาคนกลาง ไมใชเกษตรกร