SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 10
Baixar para ler offline
ทัศนคติกบพฤติกรรมผู้บริ โภค
                                                            ั                     1



            การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation)
    กลุม 9 ทัศนคติกบพฤติกรรมผู้บริ โภค (Customer Resistance)
      ่            ั



                               เสนอ
                         อาจารย์วจนะ ภูผานี



                          จัดทาโดย
 นายสุจินดา    กุลตังวัฒนา      รหัสนักศึกษา          54010911193
 นายฐิ ศิวฒน์
          ั    ด่านประเสริ ฐ รหัสนักศึกษา             54010911172
 นายศราวุฒิ    ปิ ตะฝ่ าย       รหัสนักศึกษา          54010911139
 นางสาวเกษรานี จรทะผา           รหัสนักศึกษา          54010911006
 นางสาวเบญจมาภรณ์ มาหาร รหัสนักศึกษา                  54010914701




รายงานนี ้เป็ นส่วนหนึ่งของวิชา พฤติกรรมผู้บริ โภค (Consumer Behavior)
                  รหัสวิชา 0902111 ปี การศึกษา 2/2554
               คณะการบัญชีและการจัดการ สาขาการตลาด
                         มหาวิทยาลัย มหาสารคาม
ทัศนคติกบพฤติกรรมผู้บริ โภค
                                                                                    ั                      2



                                                คานา

         รายงานเล่มนี ้เป็ นส่วนหนึงของวิชา พฤติกรรมผู้บริโภค ซึ่งให้ ความรู้เกี่ยวกับ ทัศนคติกบพฤติกรรม
                                   ่                                                           ั
ผู้บริโภค โดยมีจดประสงค์ให้ ความรู้แก่ผ้ อาน ในเนื ้อหารายงานจะให้ ความรู้ในเรื่ อง คาจากัดความของ
                ุ                        ู่
ทัศนคติ , องค์ประกอบของทัศนคติ , ประเภทของทัศนคติ , การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ โดยจะให้ ความรู้แก่
ผู้อานไม่มาก็น้อย ทังหมดนี ้ โดยนาไปใช้ ในชีวิตประจาวัน และนามาปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ในการขาย และการ
    ่               ้
เปลี่ยนทัศนคติของบุคคลใดบุคคลหนึง     ่




                                                                  คณะผู้จัดทา
                                                                 สมาชิกกลุ่ม 9
ทัศนคติกบพฤติกรรมผู้บริ โภค
                                                                                                                 ั                     3



                                                                สารบัญ

เรื่ อง                                                                                                                     หน้ า

คาจากัดความของ ทัศนคติกบพฤติกรรมผู้บริ โภค(Attitude).................................................4
                       ั
องค์ประกอบของทัศนคติ…………………………………………………………………………5
ประเภทของทัศนคติ………………………………………………………………………………7
การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ(Attitude Change)………………………………………………….8
สรุป………………………………………………………………………………………….…….9
บรรณานุกรม......................................................................................................................10
ทัศนคติกบพฤติกรรมผู้บริ โภค
                                                                                         ั                       4



ทัศนคติ (Attitude)
        ทัศนคติ เป็ นแนวความคิดที่มีความสาคัญมากแนวหนึงทาง จิตวิทยาสังคม และ การสื่อสาร และมี
                                                               ่
การใช้ คานี ้กันอย่างแพร่หลาย สาหรับการนิยามคาว่า ทัศนคติ นัน ได้ มีนกวิชาการหลายท่านให้
                                                                 ้        ั
ความหมายไว้ ดงนี ้
                 ั
        โรเจอร์ อ้ างถึงใน สุรพงษ์ โสธนะเสถียร ได้ กล่าวถึง ทัศนคติ ว่า เป็ นดัชนีชี ้ว่า บุคคลนัน คิดและรู้สก
                                                                                                 ้           ึ
อย่างไร กับคนรอบข้ าง วัตถุหรื อสิ่งแวดล้ อมตลอดจนสถานการณ์ ตาง ๆ โดย ทัศนคติ นันมีรากฐานมาจาก
                                                                   ่                         ้
ความเชื่อที่อาจส่งผลถึง พฤติกรรม ในอนาคตได้ ทัศนคติ จึงเป็ นเพียง ความพร้ อม ที่จะตอบสนองต่อสิ่งเร้ า
และเป็ น มิติของ การประเมิน เพื่อแสดงว่า ชอบหรื อไม่ชอบ ต่อประเด็นหนึง ๆ ซึงถือเป็ น การสื่อสารภายใน
                                                                            ่ ่
บุคคล ที่เป็ นผลกระทบมาจาก การรับสาร อันจะมีผลต่อ พฤติกรรม ต่อไป

        ศักดิ์ สุนทรเสณี กล่าวถึง ทัศนคติ ที่เชื่อมโยงไปถึง พฤติกรรมของบุคคล ว่า ทัศนคติ หมายถึง
        1.ความสลับซับซ้ อนของความรู้สก หรื อการมีอคติของบุคคล ในการที่จะ สร้ างความพร้ อม ที่จะ
                                         ึ
กระทาสิ่งใดสิ่งหนึง ตามประสบการณ์ของบุคคลนัน ที่ได้ รับมา
                   ่                                ้
        2.ความโน้ มเอียง ที่จะมีปฏิกิริยาต่อสิ่งใดสิ่งหนึงในทางที่ดีหรื อ ต่อต้ าน สิ่งแวดล้ อม ที่จะมาถึงทาง
                                                         ่
หนึงทางใด
   ่
        3.ในด้ าน พฤติกรรม หมายถึง การเตรี ยมตัว หรื อความพร้ อมที่จะตอบสนอง

        จากคาจากัดความต่าง ๆเหล่านี ้ จะเห็นได้ ว่ามีประเด็นร่วมที่สาคัญดังนี ้คือ
        1. ความรู้สึกภายใน
        2. ความพร้ อม หรื อ แนวโน้ มที่จะมีพฤติกรรมในทางใดทางหนึง   ่
ทัศนคติกบพฤติกรรมผู้บริ โภค
                                                                                         ั                     5



องค์ ประกอบของ ทัศนคติ
         จากความหมายของ ทัศนคติ ดังกล่าว ซิมบาโด และ เอบบีเซน (Zimbardo and Ebbesen , 1970
อ้ างถึงใน พรทิพย์ บุญนิพทธ์ ,2531 : 49) สามารถแยกองค์ประกอบของ ทัศนคติ ได้ 3 ประการคือ
                         ั

           1.องค์ประกอบด้ านความรู้ ( The Cognitive Component) คือ ส่วนที่เป็ นความเชื่อของบุคคล ที่
เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ทัวไปทังที่ชอบ และไม่ชอบ หากบุคคลมีความรู้ หรื อคิดว่าสิ่งใดดี มักจะมี ทัศนคติ ที่ดีตอ
                       ่      ้                                                                          ่
สิ่งนัน แต่หากมีความรู้มาก่อนว่า สิ่งใดไม่ดี ก็จะมี ทัศนคติ ที่ไม่ดีตอสิ่งนัน
       ้                                                             ่      ้
           2.องค์ประกอบด้ านความรู้สึก ( The Affective Component) คือ ส่วนที่เกี่ยวข้ องกับอารมณ์ที่
เกี่ยวเนื่องกับสิ่งต่าง ๆ ซึงมีผลแตกต่างกันไปตาม บุคลิกภาพ ของคนนัน เป็ นลักษณะที่เป็ นค่านิยมของแต่
                            ่                                             ้
ละบุคคล
           3.องค์ประกอบด้ านพฤติกรรม ( The Behavioral Component) คือ การแสดงออกของบุคคลต่อสิ่ง
หนึง หรื อบุคคลหนึง ซึงเป็ นผลมาจาก องค์ประกอบด้ านความรู้ ความคิด และความรู้สก
     ่                ่ ่                                                             ึ

           จะเห็นได้ วา การที่บคคลมี ทัศนคติ ต่อสิ่งหนึงสิ่งใดต่างกัน ก็เนื่องมาจาก บุคคลมีความเข้ าใจ มี
                      ่        ุ                       ่
ความรู้สก หรื อมี แนวความคิด แตกต่างกันนันเอง
         ึ                                    ้
           ดังนัน ส่วนประกอบทาง ด้ านความคิด หรื อ ความรู้ ความเข้ าใจ จึงนับได้ ว่าเป็ นส่วนประกอบ ขัน
                ้                                                                                       ้
พื ้นฐาน ของ ทัศนคติ และส่วนประกอบนี ้ จะเกี่ยวข้ อง สัมพันธ์ กับ ความรู้สึกของบุคคล อาจออกมาใน
รูปแบบแตกต่างกัน ทังในทางบวก และทางลบ ซึงขึ ้นอยูกบ ประสบการณ์ และ การเรี ยนรู้
                         ้                       ่       ่ ั

         การเกิด ทัศนคติ (Attitude Formation)
         กอร์ ดอน อัลพอร์ ท (Gordon Allport , 1975 ) ได้ ให้ ความเห็นเรื่ อง ทัศนคติ ว่าอาจเกิดขึ ้นจากสิ่ง
ต่าง ๆ ดังนี ้
1. เกิดจากการเรี ยนรู้ เด็กเกิดใหม่จะได้ รับการอบรมสังสอนเกี่ยวกับ วัฒนธรรม และประเพณีจากบิดา
                                                     ่
    มารดา ทังโดยทางตรง และทางอ้ อม ตลอดจนได้ เห็นแนวการปฏิบตของพ่อแม่แล้ ว รับมาปฏิบตตาม
               ้                                                      ัิ                            ัิ
    ต่อไป
2. เกิดจากความสามารถในการแยกแยะความแตกต่าง คือ แยกสิ่งใดดี ไม่ดี เช่น ผู้ใหญ่กบเด็กจะมีการ ั
    กระทาที่แตกต่างกัน
3. เกิดจากประสบการณ์ของแต่ละบุคคล ซึงแตกต่างกันออกไป เช่น บางคนมี ทัศนคติ ไม่ดีตอครู เพราะ
                                             ่                                                 ่
    เคยตาหนิตน แต่บางคน มี ทัศนคติ ที่ดีตอครูคนเดียวกันนัน เพราะเคยเชยชมตนเสมอ
                                               ่               ้
4. เกิดจากการเลียนแบบ หรื อ รับเอา ทัศนคติ ของผู้อื่นมาเป็ นของตน เช่น เด็กอาจรับ ทัศนคติ ของบิดา
    มารดา หรื อ ครูที่ตนนิยมชมชอบ มาเป็ น ทัศนคติ ของตนได้
ทัศนคติกบพฤติกรรมผู้บริ โภค
                                                                                    ั                     6




        เครช และ ครัทช์ฟิลด์ (Krech and Crutchfield , 1948) ได้ ให้ ความเห็นว่า ทัศนคติ อาจเกิดขึ ้น
จาก
1. การตอบสนองความต้ องของบุคคล นันคือ สิ่งใดตอบสนองความต้ องการของตนได้ บุคคลนันก็มี
                                         ่                                                 ้
   ทัศนคติ ที่ดีตอสิ่งนัน หากสิ่งใดตอบสนองความต้ องการของตนไม่ได้ บคคลนันก็จะมี ทัศนคติ ไม่ดีตอ
                   ่     ้                                               ุ   ้                   ่
   สิ่งนัน
         ้
2. การได้ เรี ยนรู้ความจริงต่าง ๆ อาจโดยการอ่าน หรื อ จากคาบอกเล่าของผู้อื่นก็ได้ ฉะนัน บางคนจึงอาจ
                                                                                      ้
   เกิด ทัศนคติ ไม่ดีตอผู้อื่น จากการฟั งคาติฉินที่ใคร ๆ มาบอกไว้ ก่อนก็ได้
                       ่
3. การเข้ าไปเป็ นสมาชิก หรื อสังกัดกลุมใดกลุมหนึง คนส่วนมากมักยอมรับเอา ทัศนคติ ของกลุมมาเป็ น
                                       ่      ่ ่                                            ่
   ของตน หาก ทัศนคติ นันไม่ขดแย้ งกับ ทัศนคติ ของตนเกินไป
                             ้ ั
4. . ทัศนคติ ส่วนสาคัญกับบุคลิกภาพของบุคคลนันด้ วย คือ ผู้ที่มีบคลิกภาพสมบูรณ์มกมองผู้อื่นในแง่ดี
                                                    ้               ุ               ั
   ส่วนผู้ปรับตัวยากจะมี ทัศนคติ ในทางตรงข้ าม คือ มักมองว่า มีคนคอยอิจฉาริษยา หรื อคิดร้ ายต่าง ๆ
   ต่อตน
ทัศนคติกบพฤติกรรมผู้บริ โภค
                                                                                       ั                       7



        ประเภทของ ทัศนคติ
            บุคคลสามารถแสดง ทัศนคติ ออกได้ 3 ประเภทด้ วยกัน คือ
            1. ทัศนคติ ทางเชิงบวก เป็ น ทัศนคติ ที่ชกนาให้ บคคลแสดงออก มีความรู้สก หรื อ อารมณ์ จาก
                                                    ั         ุ                         ึ
สภาพจิตใจโต้ ตอบ ในด้ านดีตอบุคคลอื่น หรื อ เรื่ องราวใดเรื่ องราวหนึง รวมทังหน่วยงาน องค์กร สถาบัน
                                 ่                                         ่     ้
และการดาเนิน กิจการของ องค์การ อื่น ๆ เช่น กลุมชาวเกษตรกร ย่อมมี ทัศนคติ ทางบวก หรื อ มี
                                                      ่
ความรู้สกที่ดีตอสหกรณ์การเกษตร และให้ ความสนับสนุนร่วมมือด้ วย การเข้ าเป็ นสมาชิก และร่วมใน
          ึ        ่
กิจกรรมต่าง ๆ อยูเ่ สมอ เป็ นต้ น
            2. ทัศนคติทางลบ หรื อ ไม่ดี คือ ทัศนคติ ที่สร้ างความรู้สึกเป็ นไปในทางเสื่อมเสีย ไม่ได้ รับความ
เชื่อถือ หรื อ ไว้ วางใจ อาจมีความเคลือบแคลงระแวงสงสัย รวมทังเกลียดชังต่อบุคคลใดบุคคลหนึง
                                                                      ้                                 ่
เรื่ องราว หรื อปั ญหาใดปั ญหาหนึง หรื อหน่วยงานองค์การ สถาบัน และการดาเนินกิจการขององค์การ และ
                                     ่
อื่น ๆ เช่น พนักงาน เจ้ าหน้ าที่บางคน อาจมี ทัศนคติ เชิงลบต่อบริ ษัท ก่อให้ เกิดอคติขึ ้น ในจิตใจของเขา จน
พยายาม ประพฤติ และปฏิบตตอต้ าน กฎระเบียบของบริ ษัท อยูเ่ สมอ
                                ัิ ่
            3. ประเภทที่สาม ซึงเป็ นประเภทสุดท้ าย คือ ทัศนคติ ที่บคคลไม่แสดงความคิดเห็นในเรื่ องราวหรื อ
                              ่                                         ุ
ปั ญหาใดปั ญหาหนึง หรื อต่อบุคคล หน่วยงาน สถาบัน องค์การ และอื่น ๆ โดยสิ ้นเชิง เช่น นักศึกษาบางคน
                       ่
อาจมี ทัศนคติ นิ่งเฉยอย่าง ไม่มีความคิดเห็น ต่อปั ญหาโต้ เถียง เรื่ องกฎระเบียบว่า ด้ วยเครื่ องแบบของ
นักศึกษา

       ทัศนคติ ทัง้ 3 ประเภทนี ้ บุคคลอาจจะมีเพียงประการเดียวหรื อหลายประการก็ได้ ขึ ้นอยูกบความ
                                                                                           ่ ั
มันคงในความรู้สกนึกคิด ความเชื่อ หรื อค่านิยมอื่น ๆ ที่มีตอบุคคล สิ่งของ การกระทา หรื อสถานการณ์
  ่            ึ                                          ่
ทัศนคติกบพฤติกรรมผู้บริ โภค
                                                                                         ั                       8




การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ (Attitude Change)
         เฮอร์ เบริท ซี. เคลแมน (Herbert C. Kelman , Compliance , 1967 : 469) ได้ อธิบายถึง การ
เปลี่ยนแปลง ทัศนคติ โดยมีความเชื่อว่า ทัศนคติ อย่างเดียวกัน อาจเกิดในตัวบุคคลด้ วยวิธีที่ตางกัน จาก
                                                                                             ่
ความคิดนี ้ เฮอร์ เบริท ได้ แบ่งกระบวนการ เปลี่ยนแปลง ทัศนคติ ออกเป็ น 3 ประการ คือ
         1. การยินยอม (Compliance)
         การยินยอม จะเกิดได้ เมื่อ บุคคลยอมรับสิ่งที่มีอิทธิพลต่อตัวเขา และมุงหวังจะได้ รับ ความพอใจ
                                                                             ่
จากบุคคล หรื อ กลุมบุคคลที่มีอิทธิพลนัน การที่บคคลยอมกระทาตามสิ่งที่อยากให้ เขากระทานัน ไม่ใช่
                     ่                    ้      ุ                                             ้
เพราะบุคคลเห็นด้ วยกับสิ่งนัน แต่เป็ นเพราะเขาคาดหวังว่า จะได้ รับ รางวัล หรื อการยอมรับจากผู้อื่นในการ
                                ้
เห็นด้ วย และกระทาตาม ดังนัน ความพอใจ ที่ได้ รับจาก การยอมกระทาตาม นัน เป็ นผลมาจาก อิทธิพล
                                  ้                                            ้
ทางสังคม หรื อ อิทธิพลของสิ่งที่ก่อให้ เกิด การยอมรับนัน กล่าวได้ วา การยอมกระทาตามนี ้ เป็ น
                                                        ้          ่
กระบวนการเปลี่ยนแปลง ทัศนคติ ซึงจะมีพลังผลักดัน ให้ บคคลยอม กระทาตามมากหรื อน้ อย ขึ ้นอยูกบ
                                     ่                      ุ                                     ่ ั
จานวนหรื อ ความรุนแรงของรางวัลและ การลงโทษ

           2. การเลียนแบบ (Identification)
           การเลียนแบบ เกิดขึ ้นเมื่อบุคคลยอมรับสิ่งเร้ า หรื อสิ่งกระตุ้น ซึงการยอมรับนี ้เป็ นผลมาจาก การที่
                                                                             ่
บุคคล ต้ องการจะสร้ างความสัมพันธ์ที่ดี หรื อที่พอใจระหว่างตนเองกับผู้อื่น หรื อกลุ่มบุคคลอื่น จากการ
เลียนแบบนี ้ ทัศนคติ ของบุคคลจะเปลี่ยน ไป มากหรื อน้ อย ขึ ้นอยูกบสิ่งเร้ าให้ เกิดการเลียนแบบ กล่าวได้ ว่า
                                                                       ่ ั
การเลียนแบบ เป็ นกระบวน การเปลี่ยนแปลง ทัศนคติ ซึงพลังผลักดัน ให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงนี ้ จะมาก
                                                              ่
หรื อน้ อยขึ ้นอยูกบ ความน่า โน้ มน้ าวใจ ของสิ่งเร้ าที่มีตอบุคคลนัน การเลียนแบบจึงขึ ้นอยูกบพลัง (Power)
                  ่ ั                                       ่        ้                            ่ ั
ของผู้สงสาร บุคคลจะรับเอาบทบาท ทังหมด ของคนอื่น มาเป็ นของตนเอง หรื อแลกเปลี่ยนบทบาทซึงกัน
         ่                                  ้                                                           ่
และกัน บุคคลจะเชื่อในสิ่งที่ตวเอง เลียนแบบ แต่ไม่รวมถึงเนื ้อหาและรายละเอียดในการเลียนแบบ ทัศนคติ
                                ั
ของบุคคล จะเปลี่ยนไปมาก หรื อน้ อยขึ ้นอยูกบ สิ่งเร้ าที่ทาให้ เกิด การเปลี่ยนแปลง
                                               ่ ั
           3. ความต้ องการที่อยากจะเปลี่ยน (Internalization)
           เป็ นกระบวนการ ที่เกิดขึ ้นเมื่อบุคคลยอมรับสิ่งที่มีอิทธิพลเหนือกว่า ซึงตรงกับ ความต้ องการ
                                                                                  ่
ภายใน ค่านิยม ของเขา พฤติกรรมที่เปลี่ยนไป ในลักษณะนี ้จะสอดคล้ องกับ ค่านิยม ที่บคคลมีอยูเ่ ดิม ุ
ความพึงพอใจ ที่ได้ จะขึ ้นอยู่กบ เนื ้อหารายละเอียด ของพฤติกรรมนัน ๆ การเปลี่ยนแปลง ดังกล่าว ถ้ า
                                  ั                                        ้
ความคิด ความรู้สกและพฤติกรรมถูกกระทบไม่วา จะในระดับใดก็ตาม จะมีผลต่อการเปลี่ยน ทัศนคติ
                      ึ                              ่
ทังสิ ้น
  ้
ทัศนคติกบพฤติกรรมผู้บริ โภค
                                                                                   ั                     9




        ทัศนคติ สรุ ปได้ ว่า
        ทัศนคติ เป็ นความสัมพันธ์ที่คาบเกี่ยวกันระหว่างความรู้สก และความเชื่อ หรื อการรู้ของบุคคล กับ
                                                                   ึ
แนวโน้ มที่จะมี พฤติกรรมโต้ ตอบ ในทางใดทางหนึงต่อเปาหมายของ ทัศนคติ นัน
                                                    ่     ้                      ้
        โดยสรุป ทัศนคติ ในงานที่นี ้เป็ นเรื่ องของจิตใจ ท่าที ความรู้สกนึกคิด และความโน้ มเอียงของ
                                                                       ึ
บุคคล ที่มีตอข้ อมูลข่าวสาร และการเปิ ดรับ รายการกรองสถานการณ์ ที่ได้ รับมา ซึงเป็ นไปได้ ทงเชิงบวก
            ่                                                                      ่          ั้
และเชิงลบ ทัศนคติ มีผลให้ มีการแสดง พฤติกรรม ออกมา จะเห็นได้ วา ทัศนคติ ประกอบด้ วย ความคิดที่มี
                                                                         ่
ผลต่ออารมณ์ และความรู้สึกนัน ออกมาโดยทางพฤติกรรม
                              ้
ทัศนคติกบพฤติกรรมผู้บริ โภค
                                                  ั                     10



                             บรรณานุกรม

www.novabizz.com/NovaAce/Attitude.htm

www.novabizz.com/NovaAce/Motives.htm

www.youtube.com

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketinghalato
 
Part 31
Part 31Part 31
Part 31Aaesah
 
การตัดสินใจซื้อ
การตัดสินใจซื้อการตัดสินใจซื้อ
การตัดสินใจซื้อtiffany14021975
 
ความต้องการ
ความต้องการความต้องการ
ความต้องการSusu Zaza
 
เรื่องที่ 7 การเรียนรู้ของผู้บริโภคและ
เรื่องที่ 7 การเรียนรู้ของผู้บริโภคและเรื่องที่ 7 การเรียนรู้ของผู้บริโภคและ
เรื่องที่ 7 การเรียนรู้ของผู้บริโภคและsupatra39
 
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2poms0077
 
7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์Watcharin Chongkonsatit
 

Mais procurados (20)

ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
 
Personality r1
Personality r1Personality r1
Personality r1
 
Perception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior Class
Perception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior ClassPerception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior Class
Perception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior Class
 
Part 31
Part 31Part 31
Part 31
 
งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2
งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2 งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2
งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2
 
การตัดสินใจซื้อ
การตัดสินใจซื้อการตัดสินใจซื้อ
การตัดสินใจซื้อ
 
6
66
6
 
ความต้องการ
ความต้องการความต้องการ
ความต้องการ
 
51105
5110551105
51105
 
การจูงใจผู้เรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
การจูงใจผู้เรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียนการจูงใจผู้เรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
การจูงใจผู้เรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
 
เรื่องที่ 7 การเรียนรู้ของผู้บริโภคและ
เรื่องที่ 7 การเรียนรู้ของผู้บริโภคและเรื่องที่ 7 การเรียนรู้ของผู้บริโภคและ
เรื่องที่ 7 การเรียนรู้ของผู้บริโภคและ
 
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
 
ศศ
 
Culture and Consumer Behavior (Ch.3)
Culture and Consumer Behavior (Ch.3)Culture and Consumer Behavior (Ch.3)
Culture and Consumer Behavior (Ch.3)
 
7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์
 
บทที่ ๒ (จริง)๑
บทที่ ๒ (จริง)๑บทที่ ๒ (จริง)๑
บทที่ ๒ (จริง)๑
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
บทที่ ๔ (จริง)
บทที่ ๔ (จริง)บทที่ ๔ (จริง)
บทที่ ๔ (จริง)
 

Destaque

Adidas global brand
Adidas global brandAdidas global brand
Adidas global brandReal TS
 
Adidas Organizational Analysis
Adidas Organizational AnalysisAdidas Organizational Analysis
Adidas Organizational AnalysisObaid Khan
 
Adidas brand case study
Adidas   brand case studyAdidas   brand case study
Adidas brand case studytomjohnson15
 
Swot adidas
Swot adidasSwot adidas
Swot adidasnishass
 
2 shifts to demand
2   shifts to demand2   shifts to demand
2 shifts to demandTravis Klein
 
Opportunities for students in the New World of Cloud and Big Data
Opportunities for students in the New World of Cloud and Big DataOpportunities for students in the New World of Cloud and Big Data
Opportunities for students in the New World of Cloud and Big DataEMC
 
IT-as-a-Service Solutions for Healthcare Providers
IT-as-a-Service Solutions for Healthcare ProvidersIT-as-a-Service Solutions for Healthcare Providers
IT-as-a-Service Solutions for Healthcare ProvidersEMC
 
White Paper: Next-Generation Genome Sequencing Using EMC Isilon Scale-Out NAS...
White Paper: Next-Generation Genome Sequencing Using EMC Isilon Scale-Out NAS...White Paper: Next-Generation Genome Sequencing Using EMC Isilon Scale-Out NAS...
White Paper: Next-Generation Genome Sequencing Using EMC Isilon Scale-Out NAS...EMC
 
White paper holistic_approach_to_government_continuity_of_operations_apr2014
White paper holistic_approach_to_government_continuity_of_operations_apr2014White paper holistic_approach_to_government_continuity_of_operations_apr2014
White paper holistic_approach_to_government_continuity_of_operations_apr2014EMC
 
MDP on Advance Corporate Finance
MDP on Advance Corporate FinanceMDP on Advance Corporate Finance
MDP on Advance Corporate Financekanagaraj300
 
Visibility & Security for the Virtualized Enterprise
Visibility & Security for the Virtualized EnterpriseVisibility & Security for the Virtualized Enterprise
Visibility & Security for the Virtualized EnterpriseEMC
 
ActionInfo Consulting - SOQ
ActionInfo Consulting - SOQActionInfo Consulting - SOQ
ActionInfo Consulting - SOQspinnerama18
 

Destaque (20)

Adidas global brand
Adidas global brandAdidas global brand
Adidas global brand
 
Adidas Organizational Analysis
Adidas Organizational AnalysisAdidas Organizational Analysis
Adidas Organizational Analysis
 
Adidas
AdidasAdidas
Adidas
 
Adidas brand case study
Adidas   brand case studyAdidas   brand case study
Adidas brand case study
 
Adidas
AdidasAdidas
Adidas
 
Swot adidas
Swot adidasSwot adidas
Swot adidas
 
บรูไน
บรูไนบรูไน
บรูไน
 
Adidas
AdidasAdidas
Adidas
 
Business Plan For Adidas
Business Plan For AdidasBusiness Plan For Adidas
Business Plan For Adidas
 
What's new for Lync 2013 Clients & Devices
What's new for Lync 2013 Clients & DevicesWhat's new for Lync 2013 Clients & Devices
What's new for Lync 2013 Clients & Devices
 
2 shifts to demand
2   shifts to demand2   shifts to demand
2 shifts to demand
 
Opportunities for students in the New World of Cloud and Big Data
Opportunities for students in the New World of Cloud and Big DataOpportunities for students in the New World of Cloud and Big Data
Opportunities for students in the New World of Cloud and Big Data
 
IT-as-a-Service Solutions for Healthcare Providers
IT-as-a-Service Solutions for Healthcare ProvidersIT-as-a-Service Solutions for Healthcare Providers
IT-as-a-Service Solutions for Healthcare Providers
 
White Paper: Next-Generation Genome Sequencing Using EMC Isilon Scale-Out NAS...
White Paper: Next-Generation Genome Sequencing Using EMC Isilon Scale-Out NAS...White Paper: Next-Generation Genome Sequencing Using EMC Isilon Scale-Out NAS...
White Paper: Next-Generation Genome Sequencing Using EMC Isilon Scale-Out NAS...
 
White paper holistic_approach_to_government_continuity_of_operations_apr2014
White paper holistic_approach_to_government_continuity_of_operations_apr2014White paper holistic_approach_to_government_continuity_of_operations_apr2014
White paper holistic_approach_to_government_continuity_of_operations_apr2014
 
Sticky wages
Sticky wagesSticky wages
Sticky wages
 
MDP on Advance Corporate Finance
MDP on Advance Corporate FinanceMDP on Advance Corporate Finance
MDP on Advance Corporate Finance
 
Visibility & Security for the Virtualized Enterprise
Visibility & Security for the Virtualized EnterpriseVisibility & Security for the Virtualized Enterprise
Visibility & Security for the Virtualized Enterprise
 
Law of supply
Law of supplyLaw of supply
Law of supply
 
ActionInfo Consulting - SOQ
ActionInfo Consulting - SOQActionInfo Consulting - SOQ
ActionInfo Consulting - SOQ
 

Semelhante a การแบ่งส่วนตลาด1

อาหารสุขภาพ 4
อาหารสุขภาพ 4อาหารสุขภาพ 4
อาหารสุขภาพ 4Utai Sukviwatsirikul
 
6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพWatcharin Chongkonsatit
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2kungcomedu
 
ความภักดีต่อตราสินค้าในมิติเชิงทัศนคติและมมิติเชิงพฤติกรรม
ความภักดีต่อตราสินค้าในมิติเชิงทัศนคติและมมิติเชิงพฤติกรรมความภักดีต่อตราสินค้าในมิติเชิงทัศนคติและมมิติเชิงพฤติกรรม
ความภักดีต่อตราสินค้าในมิติเชิงทัศนคติและมมิติเชิงพฤติกรรมpattaranunonaron
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1Kiw E D
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่มรายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่มHappy Zaza
 
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00
เรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00เรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00JeenNe915
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process00
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process00เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process00
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process00JeenNe915
 

Semelhante a การแบ่งส่วนตลาด1 (20)

อาหารสุขภาพ 4
อาหารสุขภาพ 4อาหารสุขภาพ 4
อาหารสุขภาพ 4
 
6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
 
Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
ความภักดีต่อตราสินค้าในมิติเชิงทัศนคติและมมิติเชิงพฤติกรรม
ความภักดีต่อตราสินค้าในมิติเชิงทัศนคติและมมิติเชิงพฤติกรรมความภักดีต่อตราสินค้าในมิติเชิงทัศนคติและมมิติเชิงพฤติกรรม
ความภักดีต่อตราสินค้าในมิติเชิงทัศนคติและมมิติเชิงพฤติกรรม
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
หน่วยที่๖
หน่วยที่๖หน่วยที่๖
หน่วยที่๖
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่มรายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00
เรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00เรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process00
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process00เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process00
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process00
 

การแบ่งส่วนตลาด1

  • 1. ทัศนคติกบพฤติกรรมผู้บริ โภค ั 1 การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation) กลุม 9 ทัศนคติกบพฤติกรรมผู้บริ โภค (Customer Resistance) ่ ั เสนอ อาจารย์วจนะ ภูผานี จัดทาโดย นายสุจินดา กุลตังวัฒนา รหัสนักศึกษา 54010911193 นายฐิ ศิวฒน์ ั ด่านประเสริ ฐ รหัสนักศึกษา 54010911172 นายศราวุฒิ ปิ ตะฝ่ าย รหัสนักศึกษา 54010911139 นางสาวเกษรานี จรทะผา รหัสนักศึกษา 54010911006 นางสาวเบญจมาภรณ์ มาหาร รหัสนักศึกษา 54010914701 รายงานนี ้เป็ นส่วนหนึ่งของวิชา พฤติกรรมผู้บริ โภค (Consumer Behavior) รหัสวิชา 0902111 ปี การศึกษา 2/2554 คณะการบัญชีและการจัดการ สาขาการตลาด มหาวิทยาลัย มหาสารคาม
  • 2. ทัศนคติกบพฤติกรรมผู้บริ โภค ั 2 คานา รายงานเล่มนี ้เป็ นส่วนหนึงของวิชา พฤติกรรมผู้บริโภค ซึ่งให้ ความรู้เกี่ยวกับ ทัศนคติกบพฤติกรรม ่ ั ผู้บริโภค โดยมีจดประสงค์ให้ ความรู้แก่ผ้ อาน ในเนื ้อหารายงานจะให้ ความรู้ในเรื่ อง คาจากัดความของ ุ ู่ ทัศนคติ , องค์ประกอบของทัศนคติ , ประเภทของทัศนคติ , การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ โดยจะให้ ความรู้แก่ ผู้อานไม่มาก็น้อย ทังหมดนี ้ โดยนาไปใช้ ในชีวิตประจาวัน และนามาปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ในการขาย และการ ่ ้ เปลี่ยนทัศนคติของบุคคลใดบุคคลหนึง ่ คณะผู้จัดทา สมาชิกกลุ่ม 9
  • 3. ทัศนคติกบพฤติกรรมผู้บริ โภค ั 3 สารบัญ เรื่ อง หน้ า คาจากัดความของ ทัศนคติกบพฤติกรรมผู้บริ โภค(Attitude).................................................4 ั องค์ประกอบของทัศนคติ…………………………………………………………………………5 ประเภทของทัศนคติ………………………………………………………………………………7 การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ(Attitude Change)………………………………………………….8 สรุป………………………………………………………………………………………….…….9 บรรณานุกรม......................................................................................................................10
  • 4. ทัศนคติกบพฤติกรรมผู้บริ โภค ั 4 ทัศนคติ (Attitude) ทัศนคติ เป็ นแนวความคิดที่มีความสาคัญมากแนวหนึงทาง จิตวิทยาสังคม และ การสื่อสาร และมี ่ การใช้ คานี ้กันอย่างแพร่หลาย สาหรับการนิยามคาว่า ทัศนคติ นัน ได้ มีนกวิชาการหลายท่านให้ ้ ั ความหมายไว้ ดงนี ้ ั โรเจอร์ อ้ างถึงใน สุรพงษ์ โสธนะเสถียร ได้ กล่าวถึง ทัศนคติ ว่า เป็ นดัชนีชี ้ว่า บุคคลนัน คิดและรู้สก ้ ึ อย่างไร กับคนรอบข้ าง วัตถุหรื อสิ่งแวดล้ อมตลอดจนสถานการณ์ ตาง ๆ โดย ทัศนคติ นันมีรากฐานมาจาก ่ ้ ความเชื่อที่อาจส่งผลถึง พฤติกรรม ในอนาคตได้ ทัศนคติ จึงเป็ นเพียง ความพร้ อม ที่จะตอบสนองต่อสิ่งเร้ า และเป็ น มิติของ การประเมิน เพื่อแสดงว่า ชอบหรื อไม่ชอบ ต่อประเด็นหนึง ๆ ซึงถือเป็ น การสื่อสารภายใน ่ ่ บุคคล ที่เป็ นผลกระทบมาจาก การรับสาร อันจะมีผลต่อ พฤติกรรม ต่อไป ศักดิ์ สุนทรเสณี กล่าวถึง ทัศนคติ ที่เชื่อมโยงไปถึง พฤติกรรมของบุคคล ว่า ทัศนคติ หมายถึง 1.ความสลับซับซ้ อนของความรู้สก หรื อการมีอคติของบุคคล ในการที่จะ สร้ างความพร้ อม ที่จะ ึ กระทาสิ่งใดสิ่งหนึง ตามประสบการณ์ของบุคคลนัน ที่ได้ รับมา ่ ้ 2.ความโน้ มเอียง ที่จะมีปฏิกิริยาต่อสิ่งใดสิ่งหนึงในทางที่ดีหรื อ ต่อต้ าน สิ่งแวดล้ อม ที่จะมาถึงทาง ่ หนึงทางใด ่ 3.ในด้ าน พฤติกรรม หมายถึง การเตรี ยมตัว หรื อความพร้ อมที่จะตอบสนอง จากคาจากัดความต่าง ๆเหล่านี ้ จะเห็นได้ ว่ามีประเด็นร่วมที่สาคัญดังนี ้คือ 1. ความรู้สึกภายใน 2. ความพร้ อม หรื อ แนวโน้ มที่จะมีพฤติกรรมในทางใดทางหนึง ่
  • 5. ทัศนคติกบพฤติกรรมผู้บริ โภค ั 5 องค์ ประกอบของ ทัศนคติ จากความหมายของ ทัศนคติ ดังกล่าว ซิมบาโด และ เอบบีเซน (Zimbardo and Ebbesen , 1970 อ้ างถึงใน พรทิพย์ บุญนิพทธ์ ,2531 : 49) สามารถแยกองค์ประกอบของ ทัศนคติ ได้ 3 ประการคือ ั 1.องค์ประกอบด้ านความรู้ ( The Cognitive Component) คือ ส่วนที่เป็ นความเชื่อของบุคคล ที่ เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ทัวไปทังที่ชอบ และไม่ชอบ หากบุคคลมีความรู้ หรื อคิดว่าสิ่งใดดี มักจะมี ทัศนคติ ที่ดีตอ ่ ้ ่ สิ่งนัน แต่หากมีความรู้มาก่อนว่า สิ่งใดไม่ดี ก็จะมี ทัศนคติ ที่ไม่ดีตอสิ่งนัน ้ ่ ้ 2.องค์ประกอบด้ านความรู้สึก ( The Affective Component) คือ ส่วนที่เกี่ยวข้ องกับอารมณ์ที่ เกี่ยวเนื่องกับสิ่งต่าง ๆ ซึงมีผลแตกต่างกันไปตาม บุคลิกภาพ ของคนนัน เป็ นลักษณะที่เป็ นค่านิยมของแต่ ่ ้ ละบุคคล 3.องค์ประกอบด้ านพฤติกรรม ( The Behavioral Component) คือ การแสดงออกของบุคคลต่อสิ่ง หนึง หรื อบุคคลหนึง ซึงเป็ นผลมาจาก องค์ประกอบด้ านความรู้ ความคิด และความรู้สก ่ ่ ่ ึ จะเห็นได้ วา การที่บคคลมี ทัศนคติ ต่อสิ่งหนึงสิ่งใดต่างกัน ก็เนื่องมาจาก บุคคลมีความเข้ าใจ มี ่ ุ ่ ความรู้สก หรื อมี แนวความคิด แตกต่างกันนันเอง ึ ้ ดังนัน ส่วนประกอบทาง ด้ านความคิด หรื อ ความรู้ ความเข้ าใจ จึงนับได้ ว่าเป็ นส่วนประกอบ ขัน ้ ้ พื ้นฐาน ของ ทัศนคติ และส่วนประกอบนี ้ จะเกี่ยวข้ อง สัมพันธ์ กับ ความรู้สึกของบุคคล อาจออกมาใน รูปแบบแตกต่างกัน ทังในทางบวก และทางลบ ซึงขึ ้นอยูกบ ประสบการณ์ และ การเรี ยนรู้ ้ ่ ่ ั การเกิด ทัศนคติ (Attitude Formation) กอร์ ดอน อัลพอร์ ท (Gordon Allport , 1975 ) ได้ ให้ ความเห็นเรื่ อง ทัศนคติ ว่าอาจเกิดขึ ้นจากสิ่ง ต่าง ๆ ดังนี ้ 1. เกิดจากการเรี ยนรู้ เด็กเกิดใหม่จะได้ รับการอบรมสังสอนเกี่ยวกับ วัฒนธรรม และประเพณีจากบิดา ่ มารดา ทังโดยทางตรง และทางอ้ อม ตลอดจนได้ เห็นแนวการปฏิบตของพ่อแม่แล้ ว รับมาปฏิบตตาม ้ ัิ ัิ ต่อไป 2. เกิดจากความสามารถในการแยกแยะความแตกต่าง คือ แยกสิ่งใดดี ไม่ดี เช่น ผู้ใหญ่กบเด็กจะมีการ ั กระทาที่แตกต่างกัน 3. เกิดจากประสบการณ์ของแต่ละบุคคล ซึงแตกต่างกันออกไป เช่น บางคนมี ทัศนคติ ไม่ดีตอครู เพราะ ่ ่ เคยตาหนิตน แต่บางคน มี ทัศนคติ ที่ดีตอครูคนเดียวกันนัน เพราะเคยเชยชมตนเสมอ ่ ้ 4. เกิดจากการเลียนแบบ หรื อ รับเอา ทัศนคติ ของผู้อื่นมาเป็ นของตน เช่น เด็กอาจรับ ทัศนคติ ของบิดา มารดา หรื อ ครูที่ตนนิยมชมชอบ มาเป็ น ทัศนคติ ของตนได้
  • 6. ทัศนคติกบพฤติกรรมผู้บริ โภค ั 6 เครช และ ครัทช์ฟิลด์ (Krech and Crutchfield , 1948) ได้ ให้ ความเห็นว่า ทัศนคติ อาจเกิดขึ ้น จาก 1. การตอบสนองความต้ องของบุคคล นันคือ สิ่งใดตอบสนองความต้ องการของตนได้ บุคคลนันก็มี ่ ้ ทัศนคติ ที่ดีตอสิ่งนัน หากสิ่งใดตอบสนองความต้ องการของตนไม่ได้ บคคลนันก็จะมี ทัศนคติ ไม่ดีตอ ่ ้ ุ ้ ่ สิ่งนัน ้ 2. การได้ เรี ยนรู้ความจริงต่าง ๆ อาจโดยการอ่าน หรื อ จากคาบอกเล่าของผู้อื่นก็ได้ ฉะนัน บางคนจึงอาจ ้ เกิด ทัศนคติ ไม่ดีตอผู้อื่น จากการฟั งคาติฉินที่ใคร ๆ มาบอกไว้ ก่อนก็ได้ ่ 3. การเข้ าไปเป็ นสมาชิก หรื อสังกัดกลุมใดกลุมหนึง คนส่วนมากมักยอมรับเอา ทัศนคติ ของกลุมมาเป็ น ่ ่ ่ ่ ของตน หาก ทัศนคติ นันไม่ขดแย้ งกับ ทัศนคติ ของตนเกินไป ้ ั 4. . ทัศนคติ ส่วนสาคัญกับบุคลิกภาพของบุคคลนันด้ วย คือ ผู้ที่มีบคลิกภาพสมบูรณ์มกมองผู้อื่นในแง่ดี ้ ุ ั ส่วนผู้ปรับตัวยากจะมี ทัศนคติ ในทางตรงข้ าม คือ มักมองว่า มีคนคอยอิจฉาริษยา หรื อคิดร้ ายต่าง ๆ ต่อตน
  • 7. ทัศนคติกบพฤติกรรมผู้บริ โภค ั 7 ประเภทของ ทัศนคติ บุคคลสามารถแสดง ทัศนคติ ออกได้ 3 ประเภทด้ วยกัน คือ 1. ทัศนคติ ทางเชิงบวก เป็ น ทัศนคติ ที่ชกนาให้ บคคลแสดงออก มีความรู้สก หรื อ อารมณ์ จาก ั ุ ึ สภาพจิตใจโต้ ตอบ ในด้ านดีตอบุคคลอื่น หรื อ เรื่ องราวใดเรื่ องราวหนึง รวมทังหน่วยงาน องค์กร สถาบัน ่ ่ ้ และการดาเนิน กิจการของ องค์การ อื่น ๆ เช่น กลุมชาวเกษตรกร ย่อมมี ทัศนคติ ทางบวก หรื อ มี ่ ความรู้สกที่ดีตอสหกรณ์การเกษตร และให้ ความสนับสนุนร่วมมือด้ วย การเข้ าเป็ นสมาชิก และร่วมใน ึ ่ กิจกรรมต่าง ๆ อยูเ่ สมอ เป็ นต้ น 2. ทัศนคติทางลบ หรื อ ไม่ดี คือ ทัศนคติ ที่สร้ างความรู้สึกเป็ นไปในทางเสื่อมเสีย ไม่ได้ รับความ เชื่อถือ หรื อ ไว้ วางใจ อาจมีความเคลือบแคลงระแวงสงสัย รวมทังเกลียดชังต่อบุคคลใดบุคคลหนึง ้ ่ เรื่ องราว หรื อปั ญหาใดปั ญหาหนึง หรื อหน่วยงานองค์การ สถาบัน และการดาเนินกิจการขององค์การ และ ่ อื่น ๆ เช่น พนักงาน เจ้ าหน้ าที่บางคน อาจมี ทัศนคติ เชิงลบต่อบริ ษัท ก่อให้ เกิดอคติขึ ้น ในจิตใจของเขา จน พยายาม ประพฤติ และปฏิบตตอต้ าน กฎระเบียบของบริ ษัท อยูเ่ สมอ ัิ ่ 3. ประเภทที่สาม ซึงเป็ นประเภทสุดท้ าย คือ ทัศนคติ ที่บคคลไม่แสดงความคิดเห็นในเรื่ องราวหรื อ ่ ุ ปั ญหาใดปั ญหาหนึง หรื อต่อบุคคล หน่วยงาน สถาบัน องค์การ และอื่น ๆ โดยสิ ้นเชิง เช่น นักศึกษาบางคน ่ อาจมี ทัศนคติ นิ่งเฉยอย่าง ไม่มีความคิดเห็น ต่อปั ญหาโต้ เถียง เรื่ องกฎระเบียบว่า ด้ วยเครื่ องแบบของ นักศึกษา ทัศนคติ ทัง้ 3 ประเภทนี ้ บุคคลอาจจะมีเพียงประการเดียวหรื อหลายประการก็ได้ ขึ ้นอยูกบความ ่ ั มันคงในความรู้สกนึกคิด ความเชื่อ หรื อค่านิยมอื่น ๆ ที่มีตอบุคคล สิ่งของ การกระทา หรื อสถานการณ์ ่ ึ ่
  • 8. ทัศนคติกบพฤติกรรมผู้บริ โภค ั 8 การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ (Attitude Change) เฮอร์ เบริท ซี. เคลแมน (Herbert C. Kelman , Compliance , 1967 : 469) ได้ อธิบายถึง การ เปลี่ยนแปลง ทัศนคติ โดยมีความเชื่อว่า ทัศนคติ อย่างเดียวกัน อาจเกิดในตัวบุคคลด้ วยวิธีที่ตางกัน จาก ่ ความคิดนี ้ เฮอร์ เบริท ได้ แบ่งกระบวนการ เปลี่ยนแปลง ทัศนคติ ออกเป็ น 3 ประการ คือ 1. การยินยอม (Compliance) การยินยอม จะเกิดได้ เมื่อ บุคคลยอมรับสิ่งที่มีอิทธิพลต่อตัวเขา และมุงหวังจะได้ รับ ความพอใจ ่ จากบุคคล หรื อ กลุมบุคคลที่มีอิทธิพลนัน การที่บคคลยอมกระทาตามสิ่งที่อยากให้ เขากระทานัน ไม่ใช่ ่ ้ ุ ้ เพราะบุคคลเห็นด้ วยกับสิ่งนัน แต่เป็ นเพราะเขาคาดหวังว่า จะได้ รับ รางวัล หรื อการยอมรับจากผู้อื่นในการ ้ เห็นด้ วย และกระทาตาม ดังนัน ความพอใจ ที่ได้ รับจาก การยอมกระทาตาม นัน เป็ นผลมาจาก อิทธิพล ้ ้ ทางสังคม หรื อ อิทธิพลของสิ่งที่ก่อให้ เกิด การยอมรับนัน กล่าวได้ วา การยอมกระทาตามนี ้ เป็ น ้ ่ กระบวนการเปลี่ยนแปลง ทัศนคติ ซึงจะมีพลังผลักดัน ให้ บคคลยอม กระทาตามมากหรื อน้ อย ขึ ้นอยูกบ ่ ุ ่ ั จานวนหรื อ ความรุนแรงของรางวัลและ การลงโทษ 2. การเลียนแบบ (Identification) การเลียนแบบ เกิดขึ ้นเมื่อบุคคลยอมรับสิ่งเร้ า หรื อสิ่งกระตุ้น ซึงการยอมรับนี ้เป็ นผลมาจาก การที่ ่ บุคคล ต้ องการจะสร้ างความสัมพันธ์ที่ดี หรื อที่พอใจระหว่างตนเองกับผู้อื่น หรื อกลุ่มบุคคลอื่น จากการ เลียนแบบนี ้ ทัศนคติ ของบุคคลจะเปลี่ยน ไป มากหรื อน้ อย ขึ ้นอยูกบสิ่งเร้ าให้ เกิดการเลียนแบบ กล่าวได้ ว่า ่ ั การเลียนแบบ เป็ นกระบวน การเปลี่ยนแปลง ทัศนคติ ซึงพลังผลักดัน ให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงนี ้ จะมาก ่ หรื อน้ อยขึ ้นอยูกบ ความน่า โน้ มน้ าวใจ ของสิ่งเร้ าที่มีตอบุคคลนัน การเลียนแบบจึงขึ ้นอยูกบพลัง (Power) ่ ั ่ ้ ่ ั ของผู้สงสาร บุคคลจะรับเอาบทบาท ทังหมด ของคนอื่น มาเป็ นของตนเอง หรื อแลกเปลี่ยนบทบาทซึงกัน ่ ้ ่ และกัน บุคคลจะเชื่อในสิ่งที่ตวเอง เลียนแบบ แต่ไม่รวมถึงเนื ้อหาและรายละเอียดในการเลียนแบบ ทัศนคติ ั ของบุคคล จะเปลี่ยนไปมาก หรื อน้ อยขึ ้นอยูกบ สิ่งเร้ าที่ทาให้ เกิด การเปลี่ยนแปลง ่ ั 3. ความต้ องการที่อยากจะเปลี่ยน (Internalization) เป็ นกระบวนการ ที่เกิดขึ ้นเมื่อบุคคลยอมรับสิ่งที่มีอิทธิพลเหนือกว่า ซึงตรงกับ ความต้ องการ ่ ภายใน ค่านิยม ของเขา พฤติกรรมที่เปลี่ยนไป ในลักษณะนี ้จะสอดคล้ องกับ ค่านิยม ที่บคคลมีอยูเ่ ดิม ุ ความพึงพอใจ ที่ได้ จะขึ ้นอยู่กบ เนื ้อหารายละเอียด ของพฤติกรรมนัน ๆ การเปลี่ยนแปลง ดังกล่าว ถ้ า ั ้ ความคิด ความรู้สกและพฤติกรรมถูกกระทบไม่วา จะในระดับใดก็ตาม จะมีผลต่อการเปลี่ยน ทัศนคติ ึ ่ ทังสิ ้น ้
  • 9. ทัศนคติกบพฤติกรรมผู้บริ โภค ั 9 ทัศนคติ สรุ ปได้ ว่า ทัศนคติ เป็ นความสัมพันธ์ที่คาบเกี่ยวกันระหว่างความรู้สก และความเชื่อ หรื อการรู้ของบุคคล กับ ึ แนวโน้ มที่จะมี พฤติกรรมโต้ ตอบ ในทางใดทางหนึงต่อเปาหมายของ ทัศนคติ นัน ่ ้ ้ โดยสรุป ทัศนคติ ในงานที่นี ้เป็ นเรื่ องของจิตใจ ท่าที ความรู้สกนึกคิด และความโน้ มเอียงของ ึ บุคคล ที่มีตอข้ อมูลข่าวสาร และการเปิ ดรับ รายการกรองสถานการณ์ ที่ได้ รับมา ซึงเป็ นไปได้ ทงเชิงบวก ่ ่ ั้ และเชิงลบ ทัศนคติ มีผลให้ มีการแสดง พฤติกรรม ออกมา จะเห็นได้ วา ทัศนคติ ประกอบด้ วย ความคิดที่มี ่ ผลต่ออารมณ์ และความรู้สึกนัน ออกมาโดยทางพฤติกรรม ้
  • 10. ทัศนคติกบพฤติกรรมผู้บริ โภค ั 10 บรรณานุกรม www.novabizz.com/NovaAce/Attitude.htm www.novabizz.com/NovaAce/Motives.htm www.youtube.com