SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 2
Baixar para ler offline
ใบงานที่ 1.1
                                เรื่อง ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

                 ชื่อ.- สกุล.............................................ชั้น...................เลขที.่ ..............

คำชี้แจง ให้นักเรียนอ่านข้อความข้างล่างแล้วใช้ดินสอสี ขีดเส้นใต้คาอธิบายดังนี้
           1. ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาด้วยดินสอสีดา
           2. ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยด้วยดินสอสีแดง
           3. ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาขณะใดขณะหนึ่งด้วยดินสอสีเขียว
           4. ความหมายของหน่วยอัตรา ด้วยดินสอสีเหลือง
           โดยนักเรียนมีเวลาในการทากิจกรรมนี้ 5 นาที
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี หมายถึง ค่าที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงปริมาณของสาร                                                ต่อ
ระยะเวลาที่ใช้ในการเกิด
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเฉลี่ย หมายถึง ค่าที่แสดงถึงปริมาณสารตั้งต้นที่ลดลงหรือปริมาณ
สารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงที่สุดปฏิกิริยาต่อระยะเวลาที่เกิดขึ้น
ส่วนอัตราปฏิกิริยา              ณ ขณะใดขณะหนึ่ง เป็นค่าที่แสดงปริมาณสารตั้งต้นที่ลดลงหรือ
สารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้น ณ เวลาใดเวลาหนึ่งขณะที่ปฏิกิริยาดาเนินอยู่ ในการเกิดปฏิกิริยาเคมีนั้น
มีหลายปฏิกิริยาที่สังเกตได้ว่ามีการเปลี่ยนแปลงเร็วหรือช้าแตกต่างกันอย่างชัดเจน
แต่บางปฏิกิริยาไม่สามารถสังเกตได้ การที่จะแสดงว่าปฏิกิริยาเคมีเกิดเร็วหรือช้าเพียงใด จึงต้อง
บอกด้วยอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยการวัดปริมาณสารตั้งต้นที่ลดลงหรือปริมาณของ
สารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นในหนึ่งหน่วยเวลา ดังนั้นหน่วยของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี จึงได้จาก
ปริมาณสารที่เปลี่ยนแปลงไปต่อหนึ่งหน่วยเวลา หน่วยของปริมาณสารอาจใช้หน่วยมวล ถ้าสารนั้น
เป็นของแข็ง หรือเป็นปริมาตร ถ้าสถานะของสารนั้นเป็นแก๊ส เป็นต้น ในส่วนของหน่วยเวลานั้น
จะใช้หน่วยใดขึ้นอยู่กับว่าปฏิกิริยาเกิดช้าหรือเร็วเพียงใด ถ้าเกิดเร็วจะใช้เวลาเป็นหน่วยย่อยๆ แต่ถ้าเกิดช้า
ก็ควรใช้เวลาเป็นหน่วยใหญ่ า หน่วยของอัตราการเกิดปฏิกิริยาที่ใช้มาก คือ โมล/ลิตร-วินาที
                       กว่
                                                             เฉลยใบงานที่ 1.1
เฉลยใบงานที่ 1.1

Mais conteúdo relacionado

Destaque

O-net math'49
O-net math'49O-net math'49
O-net math'49
msntomon2
 
10ประกาศใช้มาตรฐานปฐมวัย
10ประกาศใช้มาตรฐานปฐมวัย10ประกาศใช้มาตรฐานปฐมวัย
10ประกาศใช้มาตรฐานปฐมวัย
Pochchara Tiamwong
 
ใบงานท 13-16
ใบงานท  13-16ใบงานท  13-16
ใบงานท 13-16
Theyok Tanya
 
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงานใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
Theyok Tanya
 
Chapter 3 the structure of management information systems
Chapter 3 the structure of management information systemsChapter 3 the structure of management information systems
Chapter 3 the structure of management information systems
Pa'rig Prig
 
รายงานผลการประเมินตนเอง
รายงานผลการประเมินตนเองรายงานผลการประเมินตนเอง
รายงานผลการประเมินตนเอง
Vijidtra Dongjaisak
 
ไอทีกับแนวโน้มโลก
ไอทีกับแนวโน้มโลกไอทีกับแนวโน้มโลก
ไอทีกับแนวโน้มโลก
Pangpond
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
woottipol2
 
ประวัติโรงเรียนบ้านหนองใยบัว
ประวัติโรงเรียนบ้านหนองใยบัวประวัติโรงเรียนบ้านหนองใยบัว
ประวัติโรงเรียนบ้านหนองใยบัว
thekop2528
 
ข่าว Ict
ข่าว Ictข่าว Ict
ข่าว Ict
Biw Nipawan
 

Destaque (19)

K13
K13K13
K13
 
O-net math'49
O-net math'49O-net math'49
O-net math'49
 
Planos
PlanosPlanos
Planos
 
Work1 603 35
Work1 603 35Work1 603 35
Work1 603 35
 
10ประกาศใช้มาตรฐานปฐมวัย
10ประกาศใช้มาตรฐานปฐมวัย10ประกาศใช้มาตรฐานปฐมวัย
10ประกาศใช้มาตรฐานปฐมวัย
 
ใบงานท 13-16
ใบงานท  13-16ใบงานท  13-16
ใบงานท 13-16
 
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงานใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
 
Chapter 3 the structure of management information systems
Chapter 3 the structure of management information systemsChapter 3 the structure of management information systems
Chapter 3 the structure of management information systems
 
รายงานผลการประเมินตนเอง
รายงานผลการประเมินตนเองรายงานผลการประเมินตนเอง
รายงานผลการประเมินตนเอง
 
ไอทีกับแนวโน้มโลก
ไอทีกับแนวโน้มโลกไอทีกับแนวโน้มโลก
ไอทีกับแนวโน้มโลก
 
แคตตาล็อคเหล็ก
แคตตาล็อคเหล็กแคตตาล็อคเหล็ก
แคตตาล็อคเหล็ก
 
Happy New Year : Calendar 2015
Happy New Year : Calendar 2015 Happy New Year : Calendar 2015
Happy New Year : Calendar 2015
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
 
04 e
04 e04 e
04 e
 
ประวัติโรงเรียนบ้านหนองใยบัว
ประวัติโรงเรียนบ้านหนองใยบัวประวัติโรงเรียนบ้านหนองใยบัว
ประวัติโรงเรียนบ้านหนองใยบัว
 
Muhammad news release bio
Muhammad news release bioMuhammad news release bio
Muhammad news release bio
 
ข่าว Ict
ข่าว Ictข่าว Ict
ข่าว Ict
 
Chemมข2551
Chemมข2551Chemมข2551
Chemมข2551
 
Pat7.6
Pat7.6Pat7.6
Pat7.6
 

Semelhante a 2

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
chemnpk
 
3210000000000000000
32100000000000000003210000000000000000
3210000000000000000
Awirut619
 
Rate มหิดลนุสรณ์
Rate มหิดลนุสรณ์Rate มหิดลนุสรณ์
Rate มหิดลนุสรณ์
neena988
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดลอัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
buabun
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนก
Blovely123
 
สุปราณี ม.5
สุปราณี  ม.5สุปราณี  ม.5
สุปราณี ม.5
bee255taiy
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนก
kamon369
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์
adiak11
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์
adiak11
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
Jariya Jaiyot
 

Semelhante a 2 (20)

Rate3
Rate3Rate3
Rate3
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยา
บทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยาบทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยา
บทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยา
 
3210000000000000000
32100000000000000003210000000000000000
3210000000000000000
 
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
 
Rate มหิดลนุสรณ์
Rate มหิดลนุสรณ์Rate มหิดลนุสรณ์
Rate มหิดลนุสรณ์
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดลอัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
 
Sheet rate
Sheet rateSheet rate
Sheet rate
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนก
 
สุปราณี ม.5
สุปราณี  ม.5สุปราณี  ม.5
สุปราณี ม.5
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนก
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์
 
16442806.ppt
16442806.ppt16442806.ppt
16442806.ppt
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (Rate of reaction
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (Rate of reactionอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (Rate of reaction
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (Rate of reaction
 
Gass คอม
Gass คอมGass คอม
Gass คอม
 
Gass คอม
Gass คอมGass คอม
Gass คอม
 
Gass คอม
Gass คอมGass คอม
Gass คอม
 

Mais de Sutisa Tantikulwijit

เรื่อง แอลกอฮอล์
เรื่อง แอลกอฮอล์เรื่อง แอลกอฮอล์
เรื่อง แอลกอฮอล์
Sutisa Tantikulwijit
 
แบบทดสอบก่อนปิโตรเคมี
แบบทดสอบก่อนปิโตรเคมีแบบทดสอบก่อนปิโตรเคมี
แบบทดสอบก่อนปิโตรเคมี
Sutisa Tantikulwijit
 
แบบทดสอบไฮโดรคาร์บอนแบบวง
แบบทดสอบไฮโดรคาร์บอนแบบวงแบบทดสอบไฮโดรคาร์บอนแบบวง
แบบทดสอบไฮโดรคาร์บอนแบบวง
Sutisa Tantikulwijit
 
แบบทดสอบไฮโดรคาร์บอนแบบวง
แบบทดสอบไฮโดรคาร์บอนแบบวงแบบทดสอบไฮโดรคาร์บอนแบบวง
แบบทดสอบไฮโดรคาร์บอนแบบวง
Sutisa Tantikulwijit
 
แบบทดสอบไฮโดรคาร์บอนแบบวง
แบบทดสอบไฮโดรคาร์บอนแบบวงแบบทดสอบไฮโดรคาร์บอนแบบวง
แบบทดสอบไฮโดรคาร์บอนแบบวง
Sutisa Tantikulwijit
 
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนแบบวง
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนแบบวงสารประกอบไฮโดรคาร์บอนแบบวง
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนแบบวง
Sutisa Tantikulwijit
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
Sutisa Tantikulwijit
 
การสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมการสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียม
Sutisa Tantikulwijit
 

Mais de Sutisa Tantikulwijit (13)

เรื่อง แอลกอฮอล์
เรื่อง แอลกอฮอล์เรื่อง แอลกอฮอล์
เรื่อง แอลกอฮอล์
 
แบบทดสอบก่อนปิโตรเคมี
แบบทดสอบก่อนปิโตรเคมีแบบทดสอบก่อนปิโตรเคมี
แบบทดสอบก่อนปิโตรเคมี
 
แบบทดสอบไฮโดรคาร์บอนแบบวง
แบบทดสอบไฮโดรคาร์บอนแบบวงแบบทดสอบไฮโดรคาร์บอนแบบวง
แบบทดสอบไฮโดรคาร์บอนแบบวง
 
แบบทดสอบไฮโดรคาร์บอนแบบวง
แบบทดสอบไฮโดรคาร์บอนแบบวงแบบทดสอบไฮโดรคาร์บอนแบบวง
แบบทดสอบไฮโดรคาร์บอนแบบวง
 
แบบทดสอบไฮโดรคาร์บอนแบบวง
แบบทดสอบไฮโดรคาร์บอนแบบวงแบบทดสอบไฮโดรคาร์บอนแบบวง
แบบทดสอบไฮโดรคาร์บอนแบบวง
 
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนแบบวง
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนแบบวงสารประกอบไฮโดรคาร์บอนแบบวง
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนแบบวง
 
อันแรก
อันแรกอันแรก
อันแรก
 
Rate
RateRate
Rate
 
เคมี1
เคมี1เคมี1
เคมี1
 
Rate
RateRate
Rate
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
 
การสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมการสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียม
 
พ+อ+ลิ+เ+ม+อ+ร์
พ+อ+ลิ+เ+ม+อ+ร์พ+อ+ลิ+เ+ม+อ+ร์
พ+อ+ลิ+เ+ม+อ+ร์
 

2

  • 1. ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ชื่อ.- สกุล.............................................ชั้น...................เลขที.่ .............. คำชี้แจง ให้นักเรียนอ่านข้อความข้างล่างแล้วใช้ดินสอสี ขีดเส้นใต้คาอธิบายดังนี้ 1. ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาด้วยดินสอสีดา 2. ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยด้วยดินสอสีแดง 3. ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาขณะใดขณะหนึ่งด้วยดินสอสีเขียว 4. ความหมายของหน่วยอัตรา ด้วยดินสอสีเหลือง โดยนักเรียนมีเวลาในการทากิจกรรมนี้ 5 นาที อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี หมายถึง ค่าที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงปริมาณของสาร ต่อ ระยะเวลาที่ใช้ในการเกิด อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเฉลี่ย หมายถึง ค่าที่แสดงถึงปริมาณสารตั้งต้นที่ลดลงหรือปริมาณ สารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงที่สุดปฏิกิริยาต่อระยะเวลาที่เกิดขึ้น ส่วนอัตราปฏิกิริยา ณ ขณะใดขณะหนึ่ง เป็นค่าที่แสดงปริมาณสารตั้งต้นที่ลดลงหรือ สารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้น ณ เวลาใดเวลาหนึ่งขณะที่ปฏิกิริยาดาเนินอยู่ ในการเกิดปฏิกิริยาเคมีนั้น มีหลายปฏิกิริยาที่สังเกตได้ว่ามีการเปลี่ยนแปลงเร็วหรือช้าแตกต่างกันอย่างชัดเจน แต่บางปฏิกิริยาไม่สามารถสังเกตได้ การที่จะแสดงว่าปฏิกิริยาเคมีเกิดเร็วหรือช้าเพียงใด จึงต้อง บอกด้วยอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยการวัดปริมาณสารตั้งต้นที่ลดลงหรือปริมาณของ สารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นในหนึ่งหน่วยเวลา ดังนั้นหน่วยของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี จึงได้จาก ปริมาณสารที่เปลี่ยนแปลงไปต่อหนึ่งหน่วยเวลา หน่วยของปริมาณสารอาจใช้หน่วยมวล ถ้าสารนั้น เป็นของแข็ง หรือเป็นปริมาตร ถ้าสถานะของสารนั้นเป็นแก๊ส เป็นต้น ในส่วนของหน่วยเวลานั้น จะใช้หน่วยใดขึ้นอยู่กับว่าปฏิกิริยาเกิดช้าหรือเร็วเพียงใด ถ้าเกิดเร็วจะใช้เวลาเป็นหน่วยย่อยๆ แต่ถ้าเกิดช้า ก็ควรใช้เวลาเป็นหน่วยใหญ่ า หน่วยของอัตราการเกิดปฏิกิริยาที่ใช้มาก คือ โมล/ลิตร-วินาที กว่ เฉลยใบงานที่ 1.1