SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 48
Baixar para ler offline
บทที  

บทนํา

.   ความเป็ นมาและความสําคัญของปัญหา

                ในยุคสมัยหนึง  อารยธรรม"ขอม"  ถือว่าทรงอิทธิพลมากทีสุดในดินแดนเอเชียตะวันออก
เฉี ย งใต้   สํา หรับประวัติศ าสตร์ขอม  เริมตังแต่ พุ ทธศตวรรษที     ผ่ านการเปลียนแปลงจาก
อาณาจักรฟูนัน  อาณาจักรเจนละ  เจนละบกและเจนละนํ า  มาสู่ยุคเมืองพระนครอันลือลัน  โดย
อายธรรมขอมแบ่งออกเป็นยุคใหญ่     ยุค  คือ  ยุคก่อนเมืองพระนคร(พุทธศตวรรษที   - )  ยุค
เมืองพระนคร(พุทธศตวรรษที   -   )  และยุคหลังเมืองพระนคร(หลังพุทธศตวรรษที     จนสิน
อาณาจักรขอม)  จากการทีขอมได้รบวัฒนธรรมและความเชือในศาสนาฮินดูมากจากอินเดีย  ผ่าน
ั
เข้ามาทางการเดินเรือค้าขายสินค้า  ทําให้ศิลปะของขอมได้รบการพัฒนามาจากพืนฐานทาง
ั
ศาสนาฮินดู  แม้ว่าต่อมาในบางสมัย  ขอมจะเปลียนไปนับถือศาสนาพุท ธมหายาน  ซึงทังสอง
ศาสนาจะเจริญรุ่งเรืองตามแต่กษัตริย์ทนับถือแต่ละศาสนา  ประวัติศาสตร์ทยาวนานของขอม  
ี
ี
นอกจากจะทําให้มการพัฒนาด้านงานศิลปกรรมทีเป็ นเอกลักษณ์ เป็ นของตัว เอง  แล้วยังแผ่
ี
อิทธิพลไปในอาณาจักรใกล้เคียงในละแวกอินโดจีน  รวมไปถึงอาณาจักรสยามด้วย  อารยธรรม
ขอมเข้ามาสู่ดนแดนประเทศไทย  ในราวๆ  พุทธศตวรรษที     ในสมัยอาณาจักรเจนละ  ซึงตรง
ิ
กับยุคทวารวดีของไทย  โดยเข้ามาทางภาคอีสานเป็ นแห่งแรก  ซึงเข้ามาโดยผ่านทางศาสนา  ทัง
ศาสนาฮินดู  และศาสนาพุทธมหายาน  โดยภาคอีสานแบ่งเป็ น     พืนทีใหญ่ๆได้แก่อสานเหนือ
ี
หรือแอ่งสกลนคร  และอีสานใต้หรือแอ่งโคราชมีเทือกเขาภูพานกันตรงกลาง  ทําให้อารยธรรมใน
ภาคอีสานมีความแตกต่างกันทางด้านอีสานเหนือนันมักจะพบวัฒนธรรมในรูปแบบอาณาจักร
ล้านช้าง  ส่วนทางอีสานใต้นนเราจะพบอารยธรรมในแบบเขมรทังนีเนืองจากอีสานเหนือมีความ
ั
3

ห่างไกลจากเมืองหลวงของเขมรในอดีตหรือทีถูกเรียกว่า  อังกอร์    ส่วนทางอีสานใต้นนนับได้ว่า
ั
เมืองพิมายเป็ นเมืองทีมีความสําคัญอย่างยิง  เห็นได้จากการทีมีถนนหลวงตัดมายังเมืองพิมาย
ปรากฏเป็นศาสนสถานปราสาทหิน  ทําให้ประเทศไทยมีศาสนสถานของขอมอยู่เป็ นจํานวนมาก  
ซึงแต่ละแห่งจะมีความแตกต่างกันในด้า นรูปแบบศิลปกรรมเนืองจากขอมมีรูปแบบศิลปะอยู่
ค่อนข้างมากในแต่ละสมัย  และจะมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทีโดดเด่นแตกต่างกันออกไป  ในทีนี
บริเวณพืนทีจังหวัดศรีสะเกษก็มศาสนสถานของขอมอยู่จานวนมากในบริเวณใกล้เคียงกัน  แต่ม ี
ี
ํ
ความแตกต่างกันทางด้านรูปแบบศิลปะอย่างชัดเจนเนืองจากช่วงเวลาในการสร้างทีไม่ใกล้เคียง
กันทําให้เกิดความหลากหลายทางด้านศิลปะขึน

.   วตถุประสงค์ของการวิ จย
ั
ั

                 .  เพือศึกษาพัฒนาการด้านศิลปะของขอมในโบราณสถานทีสร้างต่างยุคว่ามีเปลียนแปลง
ไปอย่างไร
                 .  เพือเป็ นตัวอย่างสําหรับการสืบค้น  เรืองพัฒนาการของศิลปะแบบขอมในจังหวัดศรีสะ
เกษ      

.   ประโยชน์ ทีคาดว่าจะได้รบ
ั

                 .  ทําให้ได้รบรู้ถึงพัฒนาการของศิลปะขอมในยุคต่ างๆ  ในช่วงพุทธศตวรรษที   -     
ั
บริเ วณ  ปราสาทสระกํ าแพงใหญ่    ปราสาทสระกําแพงน้ อ ย  ปราสาทปรางค์กู่    ปราสาทบ้า น
ปราสาท

                 .  ทําให้ได้เห็นถึงวิศวกรรมและความรูความสามารถในการก่อสร้างของคนในยุคนันๆ
้
                 .  งานวิจยนีสามารถนําไปประยุกต์ในการวางแผนการท่องเทียวเชิงประวัตศาสตร์ได้
ั
ิ
4

.   ขอบเขตการวิ จย
ั

                 .  งานวิจยชินนีทําการศึกษาเฉพาะพืนทีของจังหวัดศรีสะเกษ
ั
                 .  งานวิจยชินนีทําขึนเพือศึกษาเวลาในการสร้างศาสนสถานของ     สถานที  คือ  ปราสาท
ั
หินวัดสระกําแพงใหญ่  ปราสาทหินวัดสระกําแพงน้อย  ปราสาทปรางค์กู่  ปราสาทบ้านปราสาท
บทที  

พืนทีทีทําการศึกษา

                จังหวัดศรีส ะเกษ  ลักษณะภูมประเทศทางตอนใต้เป็ นทีสูง  และค่อย  ๆ  ลาดตําไปทาง
ิ
ั ั
เหนือลงสู่ลุ่มแม่นํามูลซึงอยู่ทางตอนเหนื อของจังหวัด  ปจจุบนมีเนือที   ,   ตารางกิโลเมตร  
ประกอบด้วยอําเภอ     อําเภอ มีประชากรราว   .   ล้านคน  ประกอบด้วยกลุ่มชาติพนธุ์
ั
หลากหลาย  ซึงพูดภาษาถินต่าง  ๆ  กัน  อาทิ  ภาษาถินอีสาน, ภาษากูย, ภาษาเยอ  และภาษา
เขมร  ส่วนใหญ่เป็ นพุทธศาสนิกชนและนับถือผีมาแต่เดิมมีการตังถินฐานในจังหวัดศรีสะเกษมา
แต่สมัยก่อนประวัตศาสตร์จนเกิดพัฒนาการทีเข้มข้นในสมัยอาณาจักรขอมซึ งได้ทงมรดกทาง
ิ
ิ
วัฒนธรรมหลายประการไว้  เช่น  ปราสาทหินและปรางค์กู่ศลปะขอมตังกระจัดกระจายอยู่หลาย
ิ
แห่ง  ครันในสมัยอาณาจักรอยุธยา  มีการยกบ้านปราสาทสีเหลียมดงลําดวน  (ตําบลลําดวนใหญ่  
ั ั
อําเภอวังหิน  ในปจจุบน)  เป็ นเมืองศรีนครลําดวน  ต่ อมาโยกย้ายลงทางใต้และได้ชอใหม่เป็ น
ื
เมืองขุขนธ์และในสมัยรัชกาลที     แห่งอาณาจักรรัตนโกสินทร์ได้ยายเมืองไปยังบริเวณตําบล
ั
้
ั ั
เมืองเก่า  (ตําบลเมืองเหนือ  อําเภอเมืองศรีสะเกษ  ในปจจุบน)  แต่เรียกชือเมืองขุขนธ์  ตามเดิม  
ั
กระทังยกฐานะเป็ น  จังหวัดขุขนธ์  เมือ  พ.ศ.
ั
แล้วเปลียนชือเป็ น  จังหวัดศรีสะเกษ  เมือ  
พ.ศ.
ั
                การศึกษาครังนีได้กําหนดพืนทีศึกษาใน  บริเวณจังหวัดศรีสะเกษฝงตะวันตก  ภายใน  
อําเภอ  คือ  อําเภออุทุมพรพิสย  อําเภอปรางค์กู่  อําเภอห้วยทับทัน  ซึงมีรปแบบศิลปะของศาสน
ั
ู
สถานของขอมปรากฎอยู่จํานวนมาก  และหลากหลายรูปแบบ  ในช่วงตั งแต่สมัยพุทธศตวรรษที  
  โดยเริมศึกษาในพืนทีทีค่อนข้างแน่ ชดแล้วว่าเป็ นสถานทีทีเป็ นโบราณสถานของขอม  โดย
ั
เริมจากปราสาทสระกําแพงใหญ่  ซึงเป็ นศิลปะแบบคลัง  แบบบาปวน  และแบบนครวัด  ปราสาท
6

บ้านปราสาท  ซึงมีรปแบบศิลปะแบบบาปวน  ต่อมาปราสาทปรางค์กู่  ซึงมีรปแบบศิลปะแบบนคร
ู
ู
วัด  และสุดท้ายในพืนทีปราสาทสระกําแพงน้อย  ซึงมีรปแบบศิลปะแบบบายน  
ู
บทที  

รายละเอียดของสถานทีทีทําการศึกษา

.   ปราสาทสระกําแพงใหญ่  อาเภออุทมพรพิ สย  จงหวัดศรีสะเกษ
ํ
ุ
ั ั

ภาพที   - -     ปราสาทสระกําแพงใหญ่
ทีมา  : http://freedom4yous-travel.blogspot.com
        
                ทีตังและลักษณะ
                ปราสาทสระกําแพงใหญ่ต งอยู่ส ายถนนอุ ทุมพรพิสย -ห้วยทับทัน  เขตบ้านกําแพงใหญ่  
ั
ั
อําเภออุทุมพรพิสย  อยู่ห่างจากตัวจังหวัดศรีสะเกษไปทางทิศตะวันตกประมาณ     กิโลเมตร
ั
และห่างจากตลาดอําเภออุทุมพรพิสยประมาณ     กิโลเมตร
ั
                ปราสาทสระกําแพงใหญ่แห่งนีจัดว่าเป็นปราสาทขอมขนาดใหญ่ทสุด  ในจังหวัดศรีสะเกษ  
ี
ลักษณะของปราสาทประกอบด้วย
8

                ระเบียงคดรูปสีเหลียมผืนผ้าก่อด้วยหินทรายและแลงขนาด   *   เมตร  ทางเดินภายใน
ระเบีย งกว้า ง   เมตรประตู ท งสีทิศ มีมุ ข   ช่ อ งหน้ า ต่ า งและช่ อ งลมติด ลู ก กลมหิน กลึง ประตู
ั
ด้านหน้าอยู่ทางทิศตะวันออก  มีซุ้มประตูเป็ นรูปกากะบาดและทีเสากรอบประตูมจารึกอักษร
ี
ขอมนับได้     บรรทัด
                วิหารคู่ห่างจากซุมประตูหน้าเข้าไปประมาณ     เมตรมีวหารคู่หนึงก่อด้วยอิฐ  มีมุขประตู
้
ิ
สําหรับเข้าทางทิศตะวันตก  เสาและกรอบประตูทาด้วยหินทราย  ทับหลังของประตูวหาร  ด้านทิศ
ํ
ิ
เหนือสลักเป็นรูปพระนารายณ์บรรทมสินธุ  ส่วนทับหลังของประตูดานทิศใต้สลักเป็ นรูปพระศิวะ
์
้
อุมนางปารพตี(พระอุทาชายา)ประทับเหนือโคอุศุภราช(โคนนทิ)มีเทพบริวารถือเครืองสูงแลพัด
้
โบกประกอบ
                ปรางค์     องค์  ถัดจากวิหารคู่เข้าไปเป็ นปรางค์     องค์  ก่อด้วยอิฐ  เรียงแถวจากเหนือไป
ใต้  แต่โครงร่างส่วนสําคัญ  เช่น  เสาและกรอบประตูทําด้วยหินทราย  ปรางค์องค์กลางซึงเป็ น
ปรางค์องค์ประธานนัน  มีขนาดใหญ่กว่าอีก     องค์  นับว่ามีรูปทรงค่อนข้างสมบูรณ์ทสุดและ
ี
สวยงามทีสุดในบริเวณปราสาทสระกําแพงใหญ่แห่งนี  ประตูของปรางค์ประธานหันหน้าไปทาง
ทิศตะวันออก  ทับหลังประตูมขตอนในซึงยังติดอยู่กบทีจําหลักเป็ นรูปพระอินทร์ทรงช้างยืนแท่น  
ุ
ั
เหนือเศียรเกียรติมุข  มีรปเทวดา  รูปสิงห์และลายก้านขดประกอบ  เสาหินข้างกอบประตูดานใน
ู
้
สลักเป็ นลวดลายคล้ายกรีบดอกไม้(คล้ายดอกลําดวน)เป็ นชันๆไป  สําหรับกรอบประตูดานนอก
้
สลักเป็นลวดลายรูปสิงห์ประกอบลายก้านขด  ผนังด้านข้างทิศเหนือและใต้มประตูหลอกทําด้วย
ี
ศิลาซึงปรักหักพังไปมาก  รอบๆบริเวณปรางค์ประธานพบหินสลักลวดลายต่างๆเช่น  รูปโคกับ
มนุ ษย์หรือเทวดา  รูปเหราจับนาค  รูปพญานาค  รูปพญาครุฑจับนาคเป็ นต้น  รูปจําหลักเหล่านี
ตกกองอยูกบพืนดินทัวไป
่ ั
                ปรางค์เดียว  ข้างหลังปรางค์แถว     องค์  ห่างออกไปประมาณ   .   เมตร  มีปรางค์เดียว
ก่ อ ด้ว ยอิฐ อยู่อ งค์ห นึ งค่ อ นข้า งใกล้ม าข้า งระเบีย งคดด้า นทิศ ใต้   ลักษณะของปรางค์อ งค์นี
คล้ายคลึงกับปรางค์องค์หน้าทุกประการ  ไม่ว่าจะเป็ นกรอบประตูททําด้วยศิลาหรือประตูหลอก
ี
ด้วยอิฐด้านข้างทีทําด้วยอิฐก็ตามอันทีจริงตําแหน่ งทีตังปรางค์เดียวองค์นีทําให้คดว่าน่ าจะมี
ิ
ปรางค์อกองค์หนึงอยู่ทางด้านข้างระเบียงคดด้านทิศเหนือ  จึงจะดูสมบูรณ์แบบและสวยงามแต่
ี
อาจเป็ นไปได้ว่าปรางค์ด้านทิศเหนืออาจจะยังไม่ทนได้ก่อสร้าง  หรืออาจจะก่อสร้างแล้วถูกรือ  
ั
หรือสูญหายไปแล้วก็ได้
ั ั
                ปจจุบนทีในบริเวณปราสาทสระกําแพงใหญ่ แ ห่ง นี  มีวห ารของใหม่ห ลัง หนึงสร้างเพือ
ิ
ประดิษฐานพระพุทธรูปศิลาทรายนาคปรกปรางขัดสมาธิ  หน้าตักกว้าง     นิว  สูง     นิว  ซึงขุด
พบในบริเวณปรางค์ประธาน  พระภิกษุเครือง  สุภทฺโท  เจ้าอาวาสได้เล่าว่า
9

                ก่อน  พ.ศ.
  โบสถ์หลังนียังไม่สร้าง  ต่อมาเมือปี พ.ศ.
  ได้นิมตเห็นพระทองคํา
ิ
ขนาดใหญ่อยูตรงหน้าปราสาทหลังที     ส่งรัศมีไปทัวบริเวณสว่างไสวไปหมด  พระภิกษุเครืองจึง
่
ได้ช วนสามเณรมาขุด ด้ว ยกัน      รูป  ครันขุดลึก ประมาณคืบ เดีย วเสีย มก็ส ับถู ก พระกรของ
พระพุทธรูป  และพบว่าเป็ นพระพุทธรูปนาคปรกปรางขัดสมาธิทําด้วยศิลาทราย  จึงได้นําไปไว้
หน้าปราสาทหลังที     ทีขุดพบนันเอง  ด้วยเห็นว่าเป็ นพระพุทธรูปธรรมดาไม่ใช่ทองคํา  ต่อมามี
นักเรียนโรงเรียนกําแพงมาขีดเขียนเล่นบนพระพุทธรูป  พอตกกลางคืนเด็กก็ไม่สบาย  หมอมา
นังทางในดูก็พ บว่า เด็ก ไปขีด เขีย นพระพุ ทธรูป นาคปรกเล่ น   พระภิกษุ เ ครืองจึง ปรึก ษากับ
ชาวบ้านเห็นว่าพระพุทธรูปองค์นีศักดิสิทธิสมควรสร้างโบสถ์ไว้ประดิษฐานในบริเวณใกล้ๆทีพบ
ั ั
เดิม  เมือ  พ.ศ.   จึงได้สร้างโบสถ์ไว้ดงทีเห็นในปจจุบน
ั
                อัน ทีจริง ภายในโบสถ์ ห รือ วิห ารทีประดิษ ฐานพระพุ ท ธรูป นาคปรกนี   ยัง เป็ น ทีเก็บ
โบราณวัตถุมค่าอืนๆอีก  เช่น  ศิลาทับหลังสลักเป็ นลวดลายเทพเจ้าของพราหมณ์ทรงสัตว์เป็ น
ี
ั
พาหนะชนิดต่างๆโปงไม้โบราณขนาดใหญ่  กลองโบราณ  เครืองปนดินเผาโบราณจําพวกโอ่ง  ไห  
ตู้เก็บพระธรรมลวดลายพืนเมืองและทีสําคัญทีสุดก็คอ  มีรูปจําลองของปรางค์ประธานเป็ นรูป
ื
ปรางค์ยอดแหลมสูงมีลกษณะเหมือนปรางค์องค์จริงทุกประการ
ั
                สระกําแพง  เมือข้ามทางรถไฟไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของบริเวณสระกําแพงใหญ่จะ
พบสระใหญ่โบราณขนาด   *   เมตร  ลึกประมาณ     เมตร  มีนําขังตลอดปี  เข้าใจว่าคงจะขุด
ขึนพร้อมๆกับการสร้างปราสาท  เพือใช้เป็นแหล่งกักเก็บนําไว้บริโภคสําหรับชุมชน

                ประวัติความเป็ นมา
                  แม้ว่าเรืองราวความเป็ นมาของปราสาทสระกําแพงใหญ่จะยังไม่อาจหาข้อยุตได้ว่าสร้าง
ิ
ขึนในสมัยใดแน่ กตาม  แต่กมผรสนนิษฐานไว้ว่า  คงจะได้สร้างขึนราว  พ.ศ.
็
็ ี ู้ ู้ ั
-   และเป็ น
ศิลปะแบบคลังแบบบาปวนและแบบนครวัด  การก่อสร้างนันคงจะไม่แล้วเสร็จในรัชกาลเดียว  
หากแต่มการก่อสร้างเพิมเติมหลายยุคหลายสมัย  ลักษณะวัสดุทใช้ในการก่อสร้างก็เป็ นวัสดุต่าง
ี
ี
ชนิดกันคือ ปราสาททีสร้างด้วยอิฐ  หิน  และแลง  สังเกตเห็นได้ว่ามีการก่ อสร้างเพิมเติมหรือ
ซ่อมแซมอย่างเห็นได้ชด  นอกจากนียังอาจสันนิษฐานเพิมเติมได้ว่า  ปราสาทแห่งนีคงจะเป็ น        
ั
เทวสถานทีค่อนข้างสมบูรณ์แบบและเป็ นปราสาทสําคัญทีพระมหากษัตริย  หรือผูมอํานาจสูงสุด
์
้ ี
ในขณะนัน  น่าจะมีส่วนร่วมในการก่อสร้างด้วย
                ปราสาทหินทีมีระเบียงคดล้อมรอบ  จัดเป็ นศาสนาสถานทีมีว ิวฒนาการถึงขันสมบูรณ์
ั
แบบตามคติของขอม  มักประกอบด้วยคูนําล้อมรอบเป็ นรูปสีเหลียมผืนผ้า  มีตําแหน่ งศิลาแลง
หรือหินล้อมรอบกําแพงนีอาจจะอยู่นอกคูนําหรือด้านในของคูนําก็ได้  มักมีโคปุระหรือซุมประตู  
้
10

  ทิศ   ถัดกํ าแพงแลคูนําไปเป็ นระเบียงคด  มีโคปุระหรือ ซุ้มประตู     ทิศ   และมีทางเดินรอบ  
ส่วนมากก่อสร้างด้วยหินทรายและศิลาแลง  ภายในระบียงคดจึงจะถึงของอาคารปราสาทซึงจะ
ประกอบด้วยวิหารเล็ก  หอสมุด  และเทวาลัย  ซึงมีมุขยืนออกมาทางทิศตะวันออก  หรืออาจมี
ปราสาทอืนซึงเป็ นของคนรุ่นเก่ า  หรือ รุ่นหลังมาสร้างรวมอยู่ด้วย  มีหลายแห่งทีเดียวทีไม่ม ี
กํ า แพงล้อ ม  แต่ ม ีเ พีย งระเบีย งคดล้อ มรอบส่ ว นมากปราสาทนี มัก เป็ น ปราสาท ทีสํ า คัญ ที
พระมหากษัต ริย์ทรงมีส่ว นร่ว มในการสร้างมีศิล าจารึกระบุการก่ อ สร้างและการอุ ทศ ข้าทาส
ิ
เครืองใช้และทีดินไว้  การก่อสร้างไม่แล้วเสร็จในรัชกาลเดียว  มีการก่อสร้างต่อเติมกันหลายยุค
หลายสมัย  ยกตัวอย่างเช่นในสมัยแรกๆ  สร้างเป็ นปราสาทอิฐก่อน  เมือพังลงมามีการสร้างเป็ น
ปราสาทหิน  ในสมัยต่อมาระเบียงคด  และโคปุระก็มาสร้างขึนในสมัยหลังต่อเติมกันจนสมบูรณ์
แบบ  เช่น  ปราสาทพนมรุง  ปราสาทเมืองตํา  จังหวัดบุรรมย์  ปราสาทหินพิมาย  ปราสาทพนมวัน  
้
ีั
จังหวัดนครราชสีมา  ปราสาทสระกําแพงใหญ่  และปราสาทพระวิหารในเขตจังหวัดศรีสะเกษ  
เป็นต้น
                ตามทีได้สงเกตดูลวดลายของศิลาทับหลังของปราสาทกําแพงใหญ่นี  ซึงปรากฎว่าเป็ น
ั
ลวดลายสลักเกียวเนืองในศาสนาพราหมณ์หรือฮินดูเกือบทังสิน  ไม่ว่าจะเป็ นรูปสลักพระอิศวร
ทรงโคอุศุภราช(โคนนทิ)ก็ด  รูปพระนารายณ์บรรทมสินธุ์ก็ด  หรือแม้แต่รูปพระอิศวรทรงช้าง
ี
ี
เอราวัณ  ซึงมีส่วนเกียวข้องกับศาสนาพุทธอยู่บางก็ตาม  รวมทังได้มการขุดพบพระพุทธรูปศิลา
้
ี
นาคปรกแบบลพบุรในบริเวณปราสาทหินแห่งนี  ก็น่าเชือว่าปราสาทหินสระกําแพงใหญ่คงจะ
ี
สร้างไว้เป็นศาสนสถานทีเกียวเนืองในศาสนาฮินดู  หรือศาสนาพราหมณ์  และได้เปลียนแปลงมา
เป็ นพุทธสถานในเวลาต่อมา  ปราสาทสระกําแพงใหญ่  จัดเป็ นปราสาทขอมรุ่นเก่าแก่ทมีขนาด
ี
ใหญ่  และมีความสําคัญมากแห่งหนึงจึงชวนให้น่าสันนิษฐานในบริเวณแห่งนี  คงจะเป็ นชุมชน
ขนาดใหญ่  ทีเคยมีความเจริญรุงเรืองเป็ นระยะเวลานาน  การก่อสร้างเทวาลัย  คงจะเป็ นลักษณะ
่
ของการเกณฑ์แรงงาน  ซึงแบ่งออกเป็น     ประเภทคือ  การเกณฑ์แรงงานจากราษฎรธรรมดามา
เคลือนย้ายวัสดุก่ อสร้าง  อันได้แ ก่  อิฐ  หิน  แลง  และอีกประเภทหนึงก็ค ือการใช้ช่างฝี มอ   ซึง
ื
กษัตริยหรือเจ้านายเป็ นผู้ชุบเลียง  คนกลุ่มหลังนีจะทําหน้าทีแกะสลักลวดลายต่างๆจนถึงการ
์
ั
ออกแบบสถาปตยกรรม
                ดัง นันประวัติค วามเป็ น มาของปราสาทสระกํ าแพงใหญ่    หรือ วัด กํา แพงนันยังไม่อ าจ
สามารถหาหลักฐานมายืนยันยุตได้แน่ ชดว่า  สร้างในรัชกาลใดของขอม  แต่คงจะอยู่ในราวพุทธ
ิ
ั
ศตวรรษที   และเก่าแก่กว่าปราสาทหินกําแพงน้อย  จัดได้ว่าเป็ นเทวสถานทีสําคัญขนาดใหญ่
แห่งหนึงในบริเวณทีราบสูงภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยซึงคงจะได้เปลียนแปลงมา
ใช้เป็นพุทธสถานในระยะหลังต่อมา  กษัตริยหรือผูมอํานาจสูงสุดในบริเวณชุมชนแห่งนี  คงจะได้
์
้ ี
มีส่วนร่วมในการก่อสร้างหรือซ่อมแซม  การก่อสร้างไม่แล้วเสร็จในรัชกาลเดียวแต่น่าจะได้มการ
ี
11

เพิมเติมเสริมแต่งและซ่อมแซมมาโดยตลอด  อย่างไรก็ตามเป็ นทีแน่ ชดว่าเทวสถานแห่งนี  คงจะ
ั
ได้เป็นศูนย์กลางชุมชนขนาดใหญ่ในบริเวณนีสืบมาเป็นเวลาช้านาน

                  ลกษณะรูปแบบศิ ลปะภายในปราสาท
ั

                                                      
                                                          
ภาพที - -     ปราสาทประธานของปราสาทสระกําแพงใหญ่
ทีมา  : http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand
                ปราสาทประธานของปราสาทสระกําแพงใหญ่  แม้ว่าลวดลายได้มอทธิพลของศิลปะนคร
ีิ
ั
วัดเข้ามาปะปนแล้ว  แต่สําหรับแผนผังและองค์ประกอบทางสถาปตยกรรมนันยังคงแสดงความ
เกียวข้องกับปราสาทรุนเก่าอยู   เช่น  การไม่มมณฑปยาว  มีแต่เพียงมุขสันๆ  เป็นต้น
่
่
ี
การใช้อิฐกับหินทรายผสมกันนัน  ถือเป็ นลักษณะพืนเมือง  ไม่ปรากฏลักษณะเช่นนีใน
ศิลปะขอมทีเมืองพระนคร
12

ภาพที   - -     หน้าบันด้านตะวันออกของปราสาทหลังกลาง
ทีมา  : http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand
                หน้าบันด้านตะวันออกของปราสาทหลังกลาง  เป็นภาพศิวนาฏราชแวดล้อมไปด้วยบริวาร  
ซึงพระศิวะทีอยู่ตรงกลางของหน้าบันนัน  แสดงการเต้นโดยไม่ยกพระบาทจากพืน  มีพระหัตถ์
จํานวนมากเช่นเดียวกับศิวนาฏราชในศิลปะขอมแห่งอืนๆ
ภาพบุคคลบนหน้าบัน  ยังคงมีขนาดใหญ่  และมีการปล่อยพืนทีว่างด้านหลัง  ซึงทังหมดนี
แสดงถึงศิลปะบาปวน  อนึง  การประดับลายก้านต่อดอกทีกรอบหน้าบันและใบระกาก็แสดงถึง
ศิลปะบาปวนเช่นกัน

                                                                                  
ภาพที - -     เสากรอบประตูทางด้านตะวันออกของปราสาทประธาน
ทีมา  : http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand
ในศิลปะบาปวน  เสากรอบประตูมกสลักด้วยลายก้านต่อดอกทีมีขด     เส้นทีก้านดอก  โดย
ั
ี
ทีโคนเสามักปรากฏลายรูปสัตว์  เช่นเสาต้นนีซึงมีรปลิงกําลังคายลายก้านต่อดอก  เสาติดผนังต้น
ู
13

นียังคงสลัก ไม่เ สร็จ  จึงแสดงให้เ ห็นถึงเทคนิค การสลักได้   เช่น  การสลักโกลน  และการเก็ บ
รายละเอียดโดยยังคงเหลือ  “หินยึด”  ระหว่างลายกนกกับกรอบ

                                                                          

ภาพที   - -     ทับหลังทางด้านตะวันออก  ภายในปราสาทประธาน
ทีมา  : http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand
                เป็ นทับหลังทีแสดงถึงหัวเลียวหัวต่อระหว่างศิลปะบาปวนตอนปลายและนครวัดตอนต้น  
โดยองค์ประกอบสําคัญยังคงแสดงให้เห็นถึงศิลปะบาปวน  เช่น  มีหน้ากาลอยู่ดานล่างสุดของทับ
้
หลัง  และมีท่อนพวงมาลัยทีม้วนจากด้านล่างขึนมาตรงกลางทับหลังก่อนทีจะม้วนลงไปด้านล่าง
อีกครังทีปลายสุดของทับหลัง  อย่างไรก็ตาม  การทีปรากฏเสียวซึงมีรูปครุฑอยู่ด้านบนนัน  มี
รูปแบบคล้ายคลึงกับทับหลังทีปราสาทศรีขรภูมซงมีรูปสัตว์อยู่ด้านบนเสียวเช่นกัน  ทําให้ท ั บ
ิ ึ
หลังชินนีอาจมีอายุอยูในสมัยบาปวนตอนปลายต่อต้นนครวัดได้
่

                                                                                        
ภาพที   - -     ทับหลังทางด้านทิศเหนือของปราสาทประธาน
ทีมา  : http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand
14

                เป็ นทับหลังทีแสดงถึงหัวเลียวหัวต่อระหว่างศิลปะบาปวนตอนปลายและนครวัดตอนต้น
เช่นกัน  ทับหลังนียังเป็นตัวอย่างของทับหลังทีสลักไม่เสร็จ  โดยยังเห็นส่วนทีเป็ นโกลน  และส่วน
ทีลงรายละเอียดแล้วแต่ยงคงหินเชือมทีร่องระหว่างกนก
ั

ภาพที   - -     เสากรอบประตูทางด้านเหนือของปราสาทประธาน
ทีมา  : http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand
                นอกจากลายก้านต่อดอกแล้ว  ในศิลปะบาปวน  ยังปรากฏเสากรอบประตูลายก้านขดที
ออกรูปสัตว์    โดยทีโคนเสามักปรากฏลายรูปสัตว์  เช่นเสาต้นนีซึงมีรปลิงกําลังคายลายก้านขด  
ู
โดยแต่ละวงของก้านขดปรากฏรูปหงส์
                เสาติดผนังต้นนียังคงสลักไม่เสร็จ  จึงแสดงให้เห็นถึงเทคนิคการสลักได้  เช่น  การสลัก
โกลน  และการเก็บรายละเอียด  เป็นต้น

                                                              
ภาพที   - -     นาคปลายกรอบซุมหน้าบันทางด้านทิศเหนือของปราสาทหลังกลาง
้
ทีมา  : http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand
15

                กรอบหน้าบันของปราสาทหลังกลาง  มีลกษณะเป็นรูป  “หน้ากาล”  หรือหน้าสิงห์ซงหันข้าง
ั
ึ
และกําลังคายนาค  ซึงแตกต่างไปจากปราสาทในศิลปะนครวัดโดยทัวไปทีนาคมักคายออกจาก
ปาก  “มกร”  หรือ  “เหรา”  
                หน้ากาลคายนาคปลายกรอบซุม  ถือเป็นลักษณะเก่าของศิลปะคลังหรือบาปวนตอนต้น  ที
้
ยังคงตกค้างอยู่ทปราสาทสระกําแพงใหญ่นี  อย่างไรก็ ตาม  นาคทีมีกระบังหน้า  แสดงแนวโน้ม
ี
ไปสู่ศลปะนครวัดแล้ว  โดยอาจเปรียบเทียบได้กบนาคของปราสาทพิมาย
ิ
ั

ภาพที   - -     หน้าบันทางด้านทิศเหนือของปราสาทประธาน
ทีมา  : http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand
                รูปแบบของหน้าบันดังกล่าวยังคงแสดงลักษณะสําคัญของศิลปะบาปวน  เช่น  การบรรจุ
ลายก้านต่อดอกทีกรอบหน้าบันและใบระกา  รวมถึงการปรากฏใบไม่มวนภายในหน้าบัน  การที
้
ประติมากรรมบุคคลภาพเล่าเรืองมีขนาดใหญ่นัน  ทําให้หน้าบันชินนีมีความใกล้เคียงกับศิลปะ
นครวัดมากขึน

ภาพที   - -     มุขด้านหน้าปราสาทประธาน
ทีมา  : http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand
16

                ปราสาทประธาน  ปราสาทสระกํ า แพงใหญ่    ยัง คงปรากฏมุข สันๆด้า นหน้ า   แสดงถึง
ลักษณะเก่าซึงแตกต่างไปจากปราสาทในศิลปะนครวัดอย่างแท้จริงทีนิยมมณฑปทียืดยาวและมี
อันตราละเชือม
                วัสดุการสร้างปราสาทแห่งนี  มีการปะปนกันทังการใช้หนทรายและอิฐ  โดยอิฐมักใช้ก่อ
ิ
เป็นผนัง  ส่วนหินทรายมักใช้ก่อในส่วนทีมีลวดลายสลัก

ภาพที   - -     ทับหลังทางด้านทิศใต้ของปราสาทประธาน
ทีมา  : http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand
                ทับหลังทางด้านทิศใต้ของปราสาทประธาน  ปราสาทสระกําแพงใหญ่   มีเค้าโครงตามแบบ
บาปวนโดยทัวไป  คือหน้ากาลอยู่ดานล่างของทับหลัง    มีภาพบุคคลอยู่ดานบนหน้ากาล  มีท่อน
้
้
พวงมาลัยออกมาจากปากหน้ากาล  วกขึนด้นบนและม้วนตกลงด้านล่าง  ด้านบนมีใบไม้ตงขึน  
ั
ด้านล่างมีใบไม้หอยตกลง  ทับหลังนียังเป็ นตัวอย่างของทับหลังทีสลักไม่เสร็จ  โดยยังเห็นส่วนที
้
เป็นโกลน  และส่วนทีลงรายละเอียดแล้วแต่ยงคงหินเชือมทีร่องระหว่างกนก
ั

                                                                      
ภาพที   - -     หน้าบันรูปอุมามเหศวร  ทางด้านทิศใต้ของปราสาทประธาน
ทีมา  : http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand  
17

ประติมากรรมบุคคลทีปรากฏอยู่บนหน้าบันนี  ล้วนแต่ทรงเครืองแบบบาปวน  คือ  ทรงผม
แบบบาปวน  ทรงผ้านุ่งทีเว้าลงด้านหน้าอุทรมาก  ผ้านุ่ งสัน  มีพลีต  และมีขมวดชายพกขนาดเล็ก
ทางด้านหน้า  ซึงทังหมดถือเป็นตัวอย่างการแต่งกายแบบบาปวนอย่างแท้จริง

                                                                                        
ภาพที   - -     เสาประดับกรอบประตูของปราสาทประธาน
ทีมา  : http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand
                เสาประดับกรอบประตูของปราสาทสระกําแพงใหญ่  มีเค้าโครงคล้ายคลึงกับเสาประดับ
กรอบประตูแบบบาปวน-นครวัดโดยทัวไป  คือ  มีวงแหวนจํานวนมากทีประดับด้วยใบไม้ขนาด
ั
เล็กคล้ายฟนปลา

ภาพที   - -     ทับหลังทางด้านทิศตะวันตกของปราสาทประธาน
ทีมา  : http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand
                เป็ นทับหลังทีแสดงถึงหัวเลียวหัวต่อระหว่างศิลปะบาปวนตอนปลายและนครวัดตอนต้น  
จากภาพเล่าเรืองทีประกอบไปด้วยลิงจํานวนมาก  จึงน่ าจะเป็ นภาพเล่าเรืองในมหากาพย์รา
มายณะ  โดยทีลิงสองตัวทีกําลังต่อตู่อยู่เหนือหน้ากาลนัน  น่ าจะได้แก่พาลีรบสุครีพ  ส่วนลิงตัว
18

อืนๆทีกําลังเหาะอยู่ส่วนบนของทับหลังนัน  ไม่แน่ ชดว่าจะเกียวข้องกับตอนหนุ มานเหาะเพื อไป
ั
ถวายแหวนให้กบนางสีดาทีเกาะลังกาหรือไม่
ั

                                                                          
ภาพที   - -     ทับหลังรูปพระกฤษณะปราบม้าเกษี  บรรณาลัยด้านทิศเหนือ
ทีมา  : http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand
                ทับหลังมีองค์ประกอบแบบบาปวนโดยทัวไป  คือ  มีหน้ากาลอยู่ด้านล่างของทับหลัง    มี
ภาพบุคคลอยู่ดานบนหน้ากาล  มีท่อนพวงมาลัยออกมาจากปากหน้ากาล  วกขึนด้นบนและม้วน
้
ตกลงด้านล่าง  ด้านบนมีใบไม้ตงขึน  ด้านล่างมีใบไม้ห้อยตกลง    ทีน่ าสนใจคือการจัดภาพเล่า
ั
เรือง   กลุ่มไว้ทด้านบนของหน้ากาลและส่วนปลายของท่อนพวงมาลัยซึงไม่พบในทับหลังแบบ
ี
ปกติของบาปวน

ภาพที   - -     ทับหลังรูปนารายณ์บรรทมสินธุ  บรรณาลัยด้านทิศเหนือ
์
ทีมา  : http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand
ทับหลังซึงมีภาพเล่าเรืองขนาดใหญ่เต็มพืนทีของทับหลัง  โดยภาพบุคคลมีขนาดใหญ่นน  
ั
ถือเป็ นรูปแบบอีกบบหนึงของทับหลังแบบบาปวน  แตกต่างไปจากศิลปะนครวัดทีทับหลังมักมี
ภาพเล่าเรืองเต็มไปด้วยบุคคลขนาดเล็ก
19

ภาพที   - -     ทับหลังรูปคชลักษมี  บรรณาลัยทางด้านทิศใต้
ทีมา  : http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand
ทับหลังชินนีมีลกษณะแบบบาปวนทัวไป  อย่างไรก็ตาม  ได้ปรากฏเสียวทีด้านข้างของทับ
ั
หลัง  ด้นบนเสียวปรากฏบุค คลเต้นรํา  ซึงลักษณะเช่นนีสามารถเปรียบเทียบได้กับทับหลังที
ปราสาทศรีขรภูมในศิลปะนครวัด
ิ

ภาพที   - -     นาคปลายกรอบซุมหน้าบัน  บรรณาลัยทางด้านทิศใต้
้
ทีมา  : http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand
                กรอบหน้าบันของบรรณาลัย  มีลกษณะเป็ นรูป  “หน้ากาล”   หรือหน้าสิงห์ซงหันข้างและ
ั
ึ
กําลังคายนาค  ซึงแตกต่างไปจากปราสาทในศิลปะนครวัดโดยทัวไปทีนาคมักคายออกจากปาก  
“มกร”  หรือ  “เหรา”  หน้ากาลคายนาคปลายกรอบซุม  ถือเป็ น ลักษณะเก่าของศิลปะคลังหรือบาป
้
วนตอนต้น  ทียังคงตกค้างอยูทปราสาทสระกําแพงใหญ่นี
่ ี
20

                                                                                        

ภาพที   - -     ทับหลังรูปอุมามเหศวร  บรรณาลัยด้านทิศใต้
ทีมา  : http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand
ทับหลังซึงมีภาพเล่าเรืองขนาดใหญ่เต็มพืนทีของทับหลัง  โดยภาพบุคคลมีขนาดใหญ่นน  
ั
ถือเป็นรูปแบบอีกแบบหนึงของทับหลังแบบบาปวน  แตกต่างไปจากศิลปะนครวัดทีทับหลังมักมี
ภาพเล่าเรืองเต็มไปด้วยบุคคลขนาดเล็ก

ภาพที   - -     ปราสาทด้านหลังปราสาทประธาน
ทีมา  : http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand
                เป็ นปราสาททีตังอยู่นอกแผนผังทีสมมาตร  กล่าวคือ  เป็ นปราสาทเพียงหลังเดียวทีตังอยู่
ด้านหลังปราสาท     องค์ด้นหน้า  และตังเยืองไปทางทิศใต้  ยังไม่ทราบแน่ ชดว่าปราสาทหลังนี
ั
สร้างขึนเนืองด้ว ยคติใ ดและอุทศให้กบเทพหรือเทพีองค์ใ ด  อย่างไรก็ตาม  ย่อมแสดงให้เห็น
ิ
ั
ความเป็นพืนเมืองของปราสาทขอมในดินแดนไทยทีอาจสร้างปราสาทแบบไม่สมมาตรได้
21

ภาพที   - -     กลีบขนุน
ทีมา  : http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand
                การประดับยอดวิมานด้วยกลีบขนุ น  เริมต้นในศิลปะนครวัด  โดยนักวิชาการหลายท่าน
เชือว่าเริมต้นทีปราสาทพิมายในประเทศไทยก่อ นทีจะแพร่หลายไปยังประเทศกัมพูชา  การ
ปรากฏกลีบขนุ นทีปราสาทสระกําแพงใหญ่พร้อมกับการใช้ปราสาทจําลอง  ย่อมแสดงให้เห็นว่า
ปราสาทแห่งนีมีอายุอยูในระยะหัวเลียวหัวต่อระหว่างศิลปะบาปวนกับนครวัด
่

.   ปราสาทบ้านปราสาท  อาเภอห้วยทับทัน  จงหวัดศรีสะเกษ
ํ
ั

ภาพที   - -     ปราสาทบ้านปราสาท
ทีมา  : http://www.thaipackagetour.com
                ตังอยู่ภายในวัดบ้านปราสาท  ตําบลปราสาท  อําเภอห้วยทับทัน  จังหวัดศรีสะเกษ  เป็ น
ปราสาท     หลัง  ทีสร้างขึนในศิลปะเขมรราวพุทธศตวรรษที   -   บริเวณทีตังปราสาทเป็ นเนิน
22

สูงบ่งบอกถึงลักษณะของการเป็ นชุมชนโบราณอย่างเห็นได้ชดสร้างขึนเพือเป็ นศูนย์กลางของ
ั
ชุมชนตามแบบแผนของวัฒนธรรมขอม  ได้รบการดัดแปลงบูรณะ  ปฏิสงขรณ์ในภายหลัง  เห็นได้
ั
ั
ชัดจากส่วนยอดของปราสาททีมีรปแบบต่างไปจากส่วนยอดของปราสาทในศิลปะเขมร  ปราสาท
ู
ทังสามหลังก่อด้วยอิฐบนฐานศิลาแลงเดียวกัน  มีประตูทางเข้าทิศตะวันออก  เรียงกันในแนว
เหนือใต้
เมือซ่อมเสริมเสร็จแล้วยอดปราสาทองค์กลางทีองค์สําคัญกลับมียอดตํากว่ายอดปราสาท
สองหลังทีขนาบอยูขางๆการซ่อมแซมทีเกิดขึนนันควบคู่ไปกับการฟืนฟูศาสนสถาน                      
่ ้
                ทีปราสาทประธานบนกรอบประตูด้านหน้า  ยังคงมีทบหลังแสดงภาพหน้ากาลคายท่อน
ั
พวงมาลัย  ทีบริเวณเสียวของท่อนพวงมาลัยมีภาพบุคคลยืนอยู่ในซุ้ม  ภาพสลักบนเหนือหน้ า
กาลลบเลือนไปหมดแล้วทําให้ไม่สามารถดูได้ว่าเป็นรูปอะไร  มีทบหลังซึงเหลือเพียงครึงแผ่นชิน
ั
หนึงตกอยูทพืน  จากภาพแกะสลักทีปรากฏเป็นเรืองราวกวนเกษียรสมุทร
่ ี
                ปราสาทอีก     หลังได้รบการดัดแปลงเช่นเดียวกัน  โดยการก่ออิฐปิ ดช่องประตูกลายเป็ น
ั
ผนังทึบทังสีด้าน  ส่วนยอดของปราสาทดัดแปลงเช่นเดียวกัน  
                ปราสาททังสามหลังล้อมรอบด้วยกําแพงแก้วก่อด้วยศิลาแลง  มีซุมประตูทางเข้า(โคปุระ)
้
ด้านทิศตะวันออกและทิศใต้  
                ปราสาทแต่เดิมทีเคยเป็ นเทวาลัย  ได้ถูกเปลียนให้เป็ นสถูปเจดีย์ในทางพุทธศาสนาที
ั ั
เรียกว่าธาตุไป  คือปจจุบนชาวบ้านเรียกว่าธาตุปราสาท  มีการนํ าพระพุทธรูปมาประดิษฐานให้
เป็นทีกราบไหว้บชา
ู

ลักษณะรูปแบบศิ ลปะภายในปราสาท

ภาพที   - -     ทับหลังบนกรอบประตูดานหน้าปราสาทประธาน
้
ทีมา  : http://www.mapculture.org/
23

                ทับหลังแสดงภาพหน้ากาลคายท่อนพวงมาลัย   ทีบริเวณเสียวของท่อนพวงมาลัยมีภาพ
บุคคลยืนอยูในซุม  ภาพสลักบนเหนือหน้ากาลลบเลือนไปหมดแล้ว
่ ้

ภาพที   - -     ทับหลังกวนเกษียรสมุทร
ทีมา  : https://commons.wikimedia.org
                ทับหลังซึงเหลือเพียงครึงแผ่นชินหนึงตกอยูทพืน  จากภาพแกะสลักทีปรากฏเป็ นเรืองราว
่ ี
กวนเกษียรสมุทร

.   ปราสาทปรางค์ก่  ู อาเภอปรางค์ก่  ู จงหวัดศรีสะเกษ
ํ
ั

ภาพที   - -     ปราสาทปรางค์กู่
ทีมา  : http://travel.sanook.com
24

                ทีตังและลักษะ
ปราสาทปรางค์กู่ตงอยูทบ้านกู่  ตําบลกู่  อําเภอปรางค์กู่  อยูห่างจากอําเภอปรางค์กู่
ั ่ ี
่
ประมาณ     กิโลเมตร
ลักษณะของโบราณสถานแห่งนีเป็นปรางค์     องค์  สร้างเป็นแนวจากเหนือจากใต้  อยูบน
่
ฐานเนินดินขนาดใหญ่มแลงประกอบเป็นเขือนกันดินพังทลาย  ปรางค์ทง     องค์ก่ อด้วยอิฐและ
ี
ั
อิฐปนแลง  ขนาดของอิฐมีตงแต่   . × . × .   เมตร  ปรางค์แต่ละองค์มประตูเข้าได้เฉพาะ
ั
ี
ทิศตะวันออก  อีก     ทิศ  เป็นประตูหลอก  ทับหลังและกรอบประตูทาด้วยหินทราย    จําหลักเป็ น
ํ
ั ั
ลวดลายต่างๆ  งดงาม  ปจจุบนเป็ นปรางค์เก่าชํารุดมาก
                กรมศิลปกรเคยสํารวจว่า
ปรางค์องค์ท  ี (ปรางค์ทศใต้)  สร้างเป็ นรูป     เหลียม  กว้าง     วา       ศอก  สูง     วา     
ิ
ศอก  ทับหลังของปรางค์สลักเป็นรูปพระนารายณ์     กร  ทรงครุฑเหยียบหลังสิงห์     ตัว  สิงห์คาบ
พวงมาลัยทําหน้าเป็ นเหราคาบนาคราช  ตามฝาผนังประตูจําหลักเป็ นพระพุทธรูป  และคน     
คน
ปรางค์องค์ท  ี (องค์กลาง)  ทําด้วยอิฐกว้าง     วา     ศอก  รูปกลม     เหลียม  สูง     วา     
ศอก  กรอบประตูทําด้วยหินทราย  ทับหลังสลักเป็ นรูปพระอินทร์ทรงช้างยืนอยู่บนแท่นเหนือ
เศียรเกียรติมข  มีรปพวงมาลัยก้านขด  และรูปเทพรําประกอบ
ุ ู
                ปรางค์องค์ท  ี (ปรางค์ทศเหนือ)  สร้างเป็นรูป     เหลียม  กว้าง     วา       ศอก  สูง     วา     
ิ
ศอก  ทําด้วยศิลาแลงแทบทังองค์ประกอบด้วยอิฐเสริมเฉพาะตอนบนๆ  กรอบประตูทําด้วยหิน
ทราย  ศิลาทับหลังจําหลักเป็ นรูปพระลักษณ์  ถูกศรนาคบาศ  เสาริมกรอบประตูสลักเป็ นพระปติ
มายืน(นางอัปสร)  เสาหน้ าประตูทางเข้าทัง     ข้างมีฐานบัวรองรับจําหลักเป็ นลวดลายประจํา
ยาม  บัวลอย  บัวหงายและบัวแก้ว
                บริเวณหน้าปราสาทยังมีศลาจารึกจําหลักสวดลายต่างๆ  ตกลงมากองอยู่ทเชิงฐานหลาย
ิ
ี
ชิน  เช่น  บัวหัวเสา  คานรับซุมประตู  และบัวยอดปรางค์  เป็นต้น
้
ั ั
                ทีจริงปราสาทปรางค์กู่ทปรากฏในสายตาปจจุบน    นอกจากจะอยู่ในสภาพทีชํารุดมาก
ี
แล้ว  ศิลาทับหลังตลอดจนลวดลายสลักเสาต่างๆ  ได้สญหายไปเกือบหมด  บางส่วนกรมศิลปากร
ู
25

ได้นําไปเก็บรักษาไว้  เช่น  ศิลาทับหลังของปรางค์องค์ทศใต้จาหลักเป็ นรูปพระนารายณ์ทรงครุฑ  
ิ ํ
กรมศิลปากรได้นําไปรักษาไว้ทหน่ วยศิลปากรพิมาย  จังหวัดนครราชสีมา  บางส่วนถูกลักหรือมี
ี
การตกหล่นสูญหายจมดินบ้างก็ม ี
                บริเวณรอบๆปราสาท     องค์  มีสระนําขนาดเล็กขุดเป็นคูรอบทัง     ด้าน  ตรงกลางกันเป็ น
ดินทางเดินทัง     ทิศ  แบ่งคูนําออกเป็ นระเล็กๆทัง     สาย  หน้าปราสาทมีสระนํ าโบราณขนาด
ใหญ่กว้างประมาณ     กิโลเมตร  เป็ นทําเลทีพักหากินของนกพันธุต่างๆ  โดยเฉพาะนกเป็ ดนํา  ที
์
จะมาหากินสวนนีเป็นประจํา

                ประวัติความเป็ นมา
    ครูอน  อดีตครูโรงเรียนบ้านกู่  ได้เล่าว่าการสร้างปราสาทบ้านกู่  หรือปราสาทกู่    ได้อ้างอิง
ิ
หนังสือเล่ มหนึงเขียนเป็ นภาษขอมโบราณ  ได้จากนายแมว  อินนุ ช  อยู่อําเภอสังขะ  จังหวัด
สุรนทร์  ว่าได้อ่านแล้วแปลคําในหนังสือได้ใจความว่า
ิ
เป็ นเรืองราวเกียวกับปราสาทเขาพระวิหาร  ปราสาทบ้านระแงง  อําเภอศรีขรภูม  และ
ิ
ปราสาทบ้านกู่  ปราสาททัง     แห่ง  สร้างเวลาไล่เลียกัน  โดยเริมสร้างปราสาทเขาพระวิหารและ
ปราสาทบ้านระแงงก่อน  แล้วจึงเริมสร้างปราสาทบ้านกู่  ปราสาททัง     แห่ง  สร้างในสมัยขอม
เรืองอํานาจ  เมือพันปีเศษ  ทังนีเพือใช้ประกอบศาสนกิจทางศาสนาพราหมณ์  โดยผูเป็ นประธาน
้
อยู่หลังกลาง  รองประธาน  คนที     อยู่ขวามือ  คนที     อยู่ซายมือ  สระล้อมปราสาท  ลึก     ศอก  
้
ขูด เพือนํ า นํ าในสระมาประกอบศาสนกิจ   พิธ ีก ารประกอบศาสนกิจ จัดขึนทุ กปี    เวลา     วัน    
หนังสือยังกล่าวว่า  บ้านกู่เดิมแห้งแล้งจึงได้ขดสระขยายให้กว้างเพือกักเก็บนําไว้ใช้
ุ
จากคํากล่าวของครูอน  เมือมีการตรวจค้ นหลักฐาน  พบว่า  ในบรรดาปราสาททัง     แห่ง  
ิ
ปราสาทหินพระวิหารเก่าแก่ทสุด  
ี
ปราสาทหินพระวิหารสร้างราวพุทธศตวรรษที     สมัยพระเจ้าสุรยวรมันที     ได้เสด็จ
ิ
ครองราชสมบัตทเมืองเขมร  ตังแต่  พ.ศ.  
ิ ี
  -  
  แม้พระองค์จะนับถือศาสนาฮินดู    ลักธิ
ั
ไสวนิกาย  แต่กมนําพระทัยฝกใฝ่ในพระพุทธสาสนา  ดังทีจารึกส่วนหนึงของพระองค์เอยถึงพระ
็ ี
ศิวะ  และพระพุทธเจ้า  แต่หากดูตามฝี มอการก่อสร้าง  ปราสาทหินพระวิหารก็อยู่ในราวกึงกลาง
ื
26

ระหว่างศิลปะแบบปราสาทเกลียงและปราสาทบาปวน  แน่นอนว่าสร้างขึนก่อนปราสาทหินพิมาย  
และปราสาทนครวัด
ปราสาทศรีขรภูมจากทีผู้รศึกษาลวดลายศิลาทับหลังของปราสาทองค์กลางทีมีรูปหน้ า
ิ
ู้
เกียรติมข  พอจะบอกไดว้าเป็นฝีมอของช่างรุนหลังชัยวรมันที     ลงมา  รัชกาลนีได้นําหน้าเกียรติ
ุ
ื
่
มุขหรือหน้ากาละแบบนีมาจากชาวบ้าน  แต่เมือพิจารณาทังหมดแล้วประกอบกับรูปนางอัปสร
เห็นได้ชดว่าเป็นศิลปะรุนเดียวกับนครวัดสมัยสุรยวรมันที  
ั
่
ิ
จากการสังเกตลวดลายของศิลาทับหลังบริเวณปราสาทปรางค์กู่  พบว่า  มีการสลักลาย  
เกียรติมุขหรือหน้ากาละ  ปละนางอัปสร  เช่นเดียวกับทีได้พบบริเวณปราสาทศรีขรภูมทําให้คด
ิ
ิ
ว่าปราสาททัง     คงสร้างขึงในเวลาใกล้เลียกันจริง  ข้อสังเกตอีกประการสําหรับลวดลายศิลาทับ
หลังทีได้พบบริเวณปราสาทกู่  คือ  การทีศิลาทับหลังของปรางค์องค์กลาง  สลักรูปพระอินทร์ทรง
ช้างยืนอยู่บนแท่นเหนือเศียรเกียรติมุข  เป็ นลวดลายเกียวกับทีพบทีศิลาทับหลังของปรางค์
ประธาน  บริเวณปราสาทหินวัดสระกําแพง  อําเภออุทุมพรพิสย  ตามประวัตศาสตร์ปราสาทหิน
ั
ิ
วัดสระกําแพง  อาจจะสร้างขึนราว  พ.ศ.
-  
  น่ าจะเข้าใจว่าปราสาทกู่  ได้สร้างขึนใน
เวลาใกล้เคียงกับปราสาทหินเขาพระวิหาร  ปราสาทศรีขรภูม  และปราสาทหินวัดสระกําแพง  
ิ
ตามทีครูอนได้อางอิงตามหนังสือขอม
ิ
้
ั
                สําหรับปญหาทีว่าสร้างขึนเพืออะไร  น่ าจะสันนิษฐานได้ว่าเพือใช้เป็ นเทวสถานในลัทธิ
ศาสนาพราหมณ์  พร้อมๆกับใช้เป็นพุทธศาสนสถาน  เพราะมีการพบลวดลายสลักต่างๆ  
                แม้ว่าการพบรูปพระอินทร์ทรงช้าง  น่ าจะเป็ นเรืองศาสนาพุ ทธ  แต่มการค้นคว้าอย่าง
ี
ละเอียดพบว่าพระอินทร์ก็มส่ วนเกียวข้องกับศาสนาพราหมณ์อยู่มาก  และมีเรืองเล่าก็มากว่า  
ี
พระอินทร์เป็ นเทพพระเจ้าทีสําคัญองค์หนึงในยุคไตรเทพ  มีกายสีแดงหรือทองแดง  ต่อมาชัน
หลังกลายเป็ นสีเขียว  อาวุธประจําคือ  วัชระ  ศร  และขอยานพาหนะทีโปรดคือรถทรงเทียนด้วย
ม้าคู่สแดง  โปรดเสวยนําโสม  พระอินทร์ตามศาสนาของพราหมณ์เป็ นใหญ่ในดินฟ้าและอากาศ  
ี
กํากับฤดูกาล  เป็นหัวหน้าเทวดามีอํานาจและกล้าหาญ  เคยรบชนะพฤตาสูรย์ผบนดาลความแล้ง
ู้ ั
อาจกล่าวถึงประวัตปราสาทปรางค์กู่ว่า  คงจะสร้างในราวพุทธศตวรรษที   –   ในเวลาไล่เลีย
ิ
กับปราสาทหินเขาพระวิหาร  ปราสาทศรีขรภูม  ิ และปราสาทวัดสระกําแพงใหญ่  เพือไว้เทวสถาน
ในลัทธิศาสนาพราหมณ์  พร้อมๆกับใช้เป็นพุทธศาสนสถานในเวลาเดียวกัน
27

ลักษณะรูปแบบศิ ลปะภายในปราสาท

                                                                                          
ภาพที   - -     ทับหลังของปรางค์สลักเป็นรูปพระนารายณ์
ทีมา  : http://commons.wikimedia.org
ทับหลังของปรางค์สลักเป็ นรูปพระนารายณ์     กร  ทรงครุฑเหยียบหลังสิงห์     ตัว  สิงห์
คาบพวงมาลัยทําหน้าเป็นเหราคาบนาคราช

ภาพที   - -     ทับหลังของปราสาทสลักเป็นรูปวานร
ทีมา  : http://commons.wikimedia.org
ทับหลังของปรางค์สลักเป็นรูปวานรกําลังจับพระนารายณ์  ตามเนือเรืองของมหากาพย์  รา
มายณะ
28

.   ปราสาทสระกําแพงน้ อย  อาเภออุทมพรพิ สย  จงหวัดศรีสะเกษ
ํ
ุ
ั ั

                                                                                                          
ภาพที   - -     ปราสาทสระกําแพงน้อย
ทีมา  : http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand

                ทีตังและลักษณะ
ปราสาทกําแพงน้อย  ตังอยูทริมถนนสายศรีสะเกษ  – อุทุมพรพิสย  ในเขตบ้านหนองหญ้า
่ ี
ั
ปล้อง  ตําบลหนองหญ้าปล้อง  อําเภอเมืองศรีสะเกษ  อยู่ห่างจากตัวจังหวัดศรีสะเกษไปทางทิศ
ตะวันตกประมาณ     กิโลเมตร
                บริเวณปราสาทแต่เดิมเป็ นปราสาทรกทึกมีเถาวัลย์และต้นไม้ปกคลุมอยู่ทวไป  เป็ นที
ั
ั ั
อาศัยของลิงและชะนีเป็ นจํานวนมาก  ปจจุบนค่อนข้างจะโล่งเตียน  แต่มต้นไม้ใหญ่หลงเหลืออยู่
ี
บ้าง  มีวดและพระภิกษุจําพรรษาอยู่โดยมีพระคุณเจ้าทองสด  อตฺ ถภาโม  บ้านเดิมอยู่ทบ้านข่า  
ั
ี
อําเภอวารินชําราบ  จังหวัดอุบลราชธานี  ธุดงค์มาจําพรรษาอยู่ก่อนเดือนสิงหาคม  พ.ศ.  
  
ในการมาจําพรรษาอยู่ทวัดสระกําแพงน้อยแห่งนี  พระคุณเจ้าได้เล่าให้คณะค้นคว้าและศึกษา
ี
ั
โบราณคดีฟงว่า  ท่านได้นิมตเห็นพระภูมเจ้าทีทีรักษาปราสาทเป็ นชายรูปร่างสูงดําใหญ่ มาก
ิ
ิ
กล่าวว่าหากจะอยู่บูรณะปราสาทนีจริง  ก็ขอให้อธิษฐานจิตให้แน่ วแน่ และให้รบปากว่าจะมาอยู่
ั
บูรณะด้วยความจริงใจ  และยังขอให้ท่านบอกผู้ทจะเข้าชมปราสาทให้แสดงความคารวะ  โดย
ี
ขอให้บอกกล่าวให้ทราบเสียก่อนทีจะเข้าไปในบริเวณปราสาท  ความจริงทางจังหวัดศรีสะเกษ
เคยคิดและพยายามจะบูรณะปราสาทแห่งนีมาครังหนึงแล้วในปี  พ.ศ.     แต่ยงไม่สามารถที
ั
จะดําเนินการได้  บริเวณปราสาทแห่งนีจึงยังคงเป็ นทีรกทึกเต็มไปด้วยเถาวัลย์พนธุไม้ต่างๆ  จน
ั ์
29

กระทัง  พ.ศ.  
  หลังจากทีพระภิกษุ ทองสด  อตฺ ถ ภาโม  มาจําพรรษาอยู่ไม่นาน  บริเ วณ
ั ั
ปราสาทก็สะอาดสะอ้าน  โล้งเตียนขึนมากดังปรากฏแก่สายตาในปจจุบน
ลักษณะของปราสาทสระกําแพงน้อย  ประกอบด้วยกําแพงรู ปสีเหลียมผืนผ้าก่อด้วนศิลา
แลงขนาด   . * .   เมตร  สูง   .   เมตร  ทางด้านทิศตะวันออกมีซุ้มประตูทางเข้า  กรอบ
ประตูทาด้วยหินทรายตัวซุมประตูทาด้วยแลงวางซ้อนกันเป็ นชันๆขึนไปเป็ นรูปหน้าจัว  ด้านข้าง
ํ
้
ํ
มีหน้ าต่างเตียๆ  กรอบหน้ าต่างและลูกกรงหน้าต่างทําด้วยหินทรายลูกกรงมีลวดลายราวกับ
ได้ร ับ การกลึง เกลามาอย่ า งดี   ซุ้ม ประตู ท างเข้า ทีข นาด   . * .   เมตร  ทางด้า นทิศ
ตะวันออกเฉียงใต้นอกบริเวณประตูทางเข้าปรากฏว่ามีศลาทับหลังแผ่นหนึงตกลงมากองอยู่กบ
ิ
ั
พืนหรืออาจจะถูกคนร้ายเคลือนย้ายมาวางไว้ทพืนนอกบริเวณปราสาทก็เป็ นได้  ศิล าทับหลังนี
ี
สลักเป็ นลวดลายพญานาคกําลังแผ่พงพาน  พญานาคตรงกลางเป็ นรูปสลักใหญ่กว่าด้านข้างทัง
ั
ั ั
สองด้วย  กําแพงทีล้อมรอบตัวปราสาทปจจุบนสลักหักพังเป็ นตอนๆ  แต่ยงคงเหลือร่องรอยให้
ั
เห็นอย่างชัดเจน  ส่วนซุมประตูทางเข้าทิศตะวันออกก็สลักหักพังเกือบหมดเช่นกัน
้
                ถัดจากซุ้มประตูเข้าไปทางทิศ ตะวันตกมีปรางค์ประธานรูปสีเหลียมย่อมุมกว้าง   .   
เมตร  สูงประมาณ     เมตร  มีประตูเข้าหันหน้าไปทางทิศตะวันออก  กรอบประตูและเสาทําด้วย
หินทราย  เสาประตูสลักเป็ นลวดลายและมีลกษณะเป็ นเสารูปแปดเหลียม  ข้างในเป็ นห้องแคบๆ
ั
ั ั
มืดทึบ  เดิมทีหน้ าประตูเ ป็ นมุขยืนออกมายาว   .   เมตร  ปจจุบนมุขทียืนออกมานันได้ถู ก
คนร้ายทําลายจนหมดสิน  ยังคงเหลือแต่แนวแลงทีปูพนยืนยาวออกมาเท่านัน  ส่วนทางด้านทิศ
ื
ตะวันตกของปรางค์ป ระธานมีร่อ งรอยว่ า เป็ น ประตูห ลอก  ซึงแนวของประตูนันได้เ อีย งไป
เนืองจากปรางค์ทรุดตัวและเอียงเอนมาทางทิศเหนือ
ด้า นทิศ ใต้เ ป็ นวิห ารหน้ า ก่ อ ศิล าแลงขนาด   . * .   เมตร  มีประตู เ ข้า ออกทางทิศ
ั ั
ตะวันตก  ศิลาจําหลัก เป็ นรูปพระวรุณเทพนังแท่นมีห งส์แ บก     ตัว   แต่ ปจจุบนนี วิหารได้ถู ก
ทําลายลงอย่างสินเชิงรวมทังศิลาทับหลังดังกล่าวด้วย  เดิมทีซากวิหารหน้านี มีแท่นฐานศิวลึงค์  
ั ั
จึง ถู ก นํ าไปทิงไว้ใ กล้ๆ   กํ าแพงนอกปราสาท  แต่ ปจจุบน นี ไม่เ หลือ ร่อ งรายของแท่ น ศิว ลึง ค์
ดังกล่าว
ตรงปลายสุดของแท่นศิลาแลงทีปูพนยืนยาวออกจากปรางค์ประธานด้านทิศตะวันออก
ื
ปรากฏว่ามีแผ่นแลงวางกองกันขึนเป็นแนว  (เข้าใจว่าเป็ นแนวของใหม่)  เดิมเคยมีแท่นยกสูงขึน
เป็ นชันๆ  กว้า งยาวประมาณด้า นละ     เมตร  ตรงกลางแท่ นมีเ สาหินทรายตังอยู่     ต้น   สูง
30

ประมาณ     เซนติเมตร  แท่นนีมีพระพุทธรูปหินองค์ใหม่มาตังไว้แทน  และสร้างศาลเพียงตา
ั ั
ครอบไว้  มีผูนําดอกไม้ธูปเทียนไปสักการะเป็ นประจํา  ปจจุบนนีไม่มศาลเพียงตา  หากมีการก่อ
้
ี
เสาปูนขึน     ด้าน  และมีหลังคาทรงตัดตรงทําด้วยปูนซีเมนต์  คงจะเพือประโยชน์ในการคุมแดด
้
คุมฝนแก่พระพุทธรูปทีเอามาตังไว้ใหม่เหล่านัน
้
เยืองบริเวณปราสาทไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือมีสระโบราณขนาดกว้าง     เมตร  ยาว  
  เมตร  อยู่     สระ  ขอบสระทําด้วยแลงวางเป็ นชันๆลึกลงไปนอกจากสระเล็กแห่งนีแล้ว  ห่าง
จากปราสาทไปทางทิศตะวันออกประมาณ     เมตร  มีสระขนาดใหญ่อกสระหนึง  ซึงคงจะสร้าง
ี
พร้อมๆ  กับปราสาท  สระเป็นรูปสีเหลียมผืนผ้า  กว้างประมาณ     เมตร  ยาว     เมตร  มีนําขัง
ตลอดทังปีสองสระ  รอบๆสระใหญ่มต้นไม้ขนปกคลุมอยู่ทวไปทําให้รอบๆบริเวณมีอากาศทีร่ม
ี
ึ
ั
รืน  เป็ น ทีสัง เกตว่ า มีล ก ษณะของสระใหญ่ นี มีค วามโค้ง จากทิศ ตะวัน ออกเฉี ย งใต้ไ ปยัง ทิศ
ั
ตะวันออกเฉียงเหนือ  มีสภาพคล้ายๆกับคูเมืองโบราณทําให้น่าทีจะสันนิษฐานได้ว่าบริเวณ
ปราสาทสระกําแพงน้อยแห่งนี  คงจะเป็ นชุมชนชายแดนโบราณแห่ งหนึงทีตกอยู่ภายใต้อทธิพล
ิ
ของขอม  และเป็นชุมชนทีมีอายุยนยาวมานานพอสมควรทีเดียว
ื

                ประวัติความเป็ นมา
สันนิษฐานว่าปราสาทสระกําแพงน้อยคงจะสร้างในราวพุทธศตวรรษที     ในรัชสมัยของ
พระเจ้าชัยวรมันที     แห่งอาณาจักรนครหลวง  (นครธม)  และเป็นศิลปะแบบบายน
ตามพงศาวดารเขรมกล่ า วว่ า   พระชัย วรมัน ที     ทรงเป็ น พระราชโอรสของพระเจ้า
ธรณินวรมันที   ครองราชย์อยู่ระหว่าง  พ.ศ.
  ทรงได้รบการยกย่องว่าเป็ นกษัตริย์
ั
นักธรรมและนักสร้าง
ในสมัยของพระเจ้าสุรยวรมันที     ผูทรงสร้างปราสาทนครวัด  พระองค์ได้ เคยแผ่พระราช
ิ
้
อํานาจและอาณาเขตไปยังอาณาจัก รจํา ปา  จนในทีสุ ด อาณาจักรจําปาได้ถู กผนวกเข้าเป็ น
ดินแดนส่วนหนึงของขอมเมือปี  พ.ศ.     นอกจากนียังมีหลักฐานแสดงว่าพระองค์ได้แผ่อาณา
เขตและบุญญาบารมีมาทางตะวันตกถึงลํานํ ามูลและละโว้  แล้วข้ามไปจรดเขตของอาณาจักร
พุกามในพม่า  ส่วนทางทิศใต้จดไชยา  แต่ครันเมือกษัตริย์องค์นีสวรรณคตไปแล้ว  อํานาจของ
ขอมครองอาณาจักรขอมก็เริมเสือมลงจนกระทังล่วงมาอีกหนึงรัชกาล  พวกจามก็ยดเขรมได้  
ึ
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม

Semelhante a รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม (8)

โครงานสิมศรีสะเกษ.pdf
โครงานสิมศรีสะเกษ.pdfโครงานสิมศรีสะเกษ.pdf
โครงานสิมศรีสะเกษ.pdf
 
ศ ลปะอ นเด_ย
ศ ลปะอ นเด_ยศ ลปะอ นเด_ย
ศ ลปะอ นเด_ย
 
A2 thai-history
A2 thai-historyA2 thai-history
A2 thai-history
 
9789740331155
97897403311559789740331155
9789740331155
 
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาคสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
 
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาคสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
 
วิชาการท่องเที่ยว(ต่างประเทศ)
วิชาการท่องเที่ยว(ต่างประเทศ)วิชาการท่องเที่ยว(ต่างประเทศ)
วิชาการท่องเที่ยว(ต่างประเทศ)
 
การสถาปนา..
การสถาปนา..การสถาปนา..
การสถาปนา..
 

Mais de rubtumproject.com

ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพาปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพาrubtumproject.com
 
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)rubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชายตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชายrubtumproject.com
 
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Accessตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Accessrubtumproject.com
 
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53rubtumproject.com
 
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์rubtumproject.com
 
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์rubtumproject.com
 
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์rubtumproject.com
 
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรมบททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรมrubtumproject.com
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพrubtumproject.com
 
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพrubtumproject.com
 
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยววิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยวrubtumproject.com
 
บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr rubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรมตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรมrubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshoprubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshoprubtumproject.com
 
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา Cตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา Crubtumproject.com
 
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้าบัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้าrubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
ตัวอย่างบทที่ 3  ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้งตัวอย่างบทที่ 3  ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้งrubtumproject.com
 
ตัวอย่าง DFD level 1
ตัวอย่าง DFD level 1ตัวอย่าง DFD level 1
ตัวอย่าง DFD level 1rubtumproject.com
 

Mais de rubtumproject.com (20)

ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพาปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
 
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)
 
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชายตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
 
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Accessตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
 
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
 
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
 
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
 
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
 
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรมบททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
 
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
 
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยววิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
 
บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr
 
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรมตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
 
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
 
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
 
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา Cตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
 
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้าบัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
 
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
ตัวอย่างบทที่ 3  ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้งตัวอย่างบทที่ 3  ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
 
ตัวอย่าง DFD level 1
ตัวอย่าง DFD level 1ตัวอย่าง DFD level 1
ตัวอย่าง DFD level 1
 

รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม

  • 1. บทที   บทนํา .  ความเป็ นมาและความสําคัญของปัญหา                ในยุคสมัยหนึง  อารยธรรม"ขอม"  ถือว่าทรงอิทธิพลมากทีสุดในดินแดนเอเชียตะวันออก เฉี ย งใต้   สํา หรับประวัติศ าสตร์ขอม  เริมตังแต่ พุ ทธศตวรรษที    ผ่ านการเปลียนแปลงจาก อาณาจักรฟูนัน  อาณาจักรเจนละ  เจนละบกและเจนละนํ า  มาสู่ยุคเมืองพระนครอันลือลัน  โดย อายธรรมขอมแบ่งออกเป็นยุคใหญ่    ยุค  คือ  ยุคก่อนเมืองพระนคร(พุทธศตวรรษที   - )  ยุค เมืองพระนคร(พุทธศตวรรษที   -  )  และยุคหลังเมืองพระนคร(หลังพุทธศตวรรษที    จนสิน อาณาจักรขอม)  จากการทีขอมได้รบวัฒนธรรมและความเชือในศาสนาฮินดูมากจากอินเดีย  ผ่าน ั เข้ามาทางการเดินเรือค้าขายสินค้า  ทําให้ศิลปะของขอมได้รบการพัฒนามาจากพืนฐานทาง ั ศาสนาฮินดู  แม้ว่าต่อมาในบางสมัย  ขอมจะเปลียนไปนับถือศาสนาพุท ธมหายาน  ซึงทังสอง ศาสนาจะเจริญรุ่งเรืองตามแต่กษัตริย์ทนับถือแต่ละศาสนา  ประวัติศาสตร์ทยาวนานของขอม   ี ี นอกจากจะทําให้มการพัฒนาด้านงานศิลปกรรมทีเป็ นเอกลักษณ์ เป็ นของตัว เอง  แล้วยังแผ่ ี อิทธิพลไปในอาณาจักรใกล้เคียงในละแวกอินโดจีน  รวมไปถึงอาณาจักรสยามด้วย  อารยธรรม ขอมเข้ามาสู่ดนแดนประเทศไทย  ในราวๆ  พุทธศตวรรษที    ในสมัยอาณาจักรเจนละ  ซึงตรง ิ กับยุคทวารวดีของไทย  โดยเข้ามาทางภาคอีสานเป็ นแห่งแรก  ซึงเข้ามาโดยผ่านทางศาสนา  ทัง ศาสนาฮินดู  และศาสนาพุทธมหายาน  โดยภาคอีสานแบ่งเป็ น    พืนทีใหญ่ๆได้แก่อสานเหนือ ี หรือแอ่งสกลนคร  และอีสานใต้หรือแอ่งโคราชมีเทือกเขาภูพานกันตรงกลาง  ทําให้อารยธรรมใน ภาคอีสานมีความแตกต่างกันทางด้านอีสานเหนือนันมักจะพบวัฒนธรรมในรูปแบบอาณาจักร ล้านช้าง  ส่วนทางอีสานใต้นนเราจะพบอารยธรรมในแบบเขมรทังนีเนืองจากอีสานเหนือมีความ ั
  • 2. 3 ห่างไกลจากเมืองหลวงของเขมรในอดีตหรือทีถูกเรียกว่า  อังกอร์    ส่วนทางอีสานใต้นนนับได้ว่า ั เมืองพิมายเป็ นเมืองทีมีความสําคัญอย่างยิง  เห็นได้จากการทีมีถนนหลวงตัดมายังเมืองพิมาย ปรากฏเป็นศาสนสถานปราสาทหิน  ทําให้ประเทศไทยมีศาสนสถานของขอมอยู่เป็ นจํานวนมาก   ซึงแต่ละแห่งจะมีความแตกต่างกันในด้า นรูปแบบศิลปกรรมเนืองจากขอมมีรูปแบบศิลปะอยู่ ค่อนข้างมากในแต่ละสมัย  และจะมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทีโดดเด่นแตกต่างกันออกไป  ในทีนี บริเวณพืนทีจังหวัดศรีสะเกษก็มศาสนสถานของขอมอยู่จานวนมากในบริเวณใกล้เคียงกัน  แต่ม ี ี ํ ความแตกต่างกันทางด้านรูปแบบศิลปะอย่างชัดเจนเนืองจากช่วงเวลาในการสร้างทีไม่ใกล้เคียง กันทําให้เกิดความหลากหลายทางด้านศิลปะขึน .  วตถุประสงค์ของการวิ จย ั ั                 .  เพือศึกษาพัฒนาการด้านศิลปะของขอมในโบราณสถานทีสร้างต่างยุคว่ามีเปลียนแปลง ไปอย่างไร                 .  เพือเป็ นตัวอย่างสําหรับการสืบค้น  เรืองพัฒนาการของศิลปะแบบขอมในจังหวัดศรีสะ เกษ       .  ประโยชน์ ทีคาดว่าจะได้รบ ั                 .  ทําให้ได้รบรู้ถึงพัฒนาการของศิลปะขอมในยุคต่ างๆ  ในช่วงพุทธศตวรรษที   -     ั บริเ วณ  ปราสาทสระกํ าแพงใหญ่   ปราสาทสระกําแพงน้ อ ย  ปราสาทปรางค์กู่   ปราสาทบ้า น ปราสาท                 .  ทําให้ได้เห็นถึงวิศวกรรมและความรูความสามารถในการก่อสร้างของคนในยุคนันๆ ้                 .  งานวิจยนีสามารถนําไปประยุกต์ในการวางแผนการท่องเทียวเชิงประวัตศาสตร์ได้ ั ิ
  • 3. 4 .  ขอบเขตการวิ จย ั                 .  งานวิจยชินนีทําการศึกษาเฉพาะพืนทีของจังหวัดศรีสะเกษ ั                 .  งานวิจยชินนีทําขึนเพือศึกษาเวลาในการสร้างศาสนสถานของ    สถานที  คือ  ปราสาท ั หินวัดสระกําแพงใหญ่  ปราสาทหินวัดสระกําแพงน้อย  ปราสาทปรางค์กู่  ปราสาทบ้านปราสาท
  • 4. บทที   พืนทีทีทําการศึกษา                จังหวัดศรีส ะเกษ  ลักษณะภูมประเทศทางตอนใต้เป็ นทีสูง  และค่อย  ๆ  ลาดตําไปทาง ิ ั ั เหนือลงสู่ลุ่มแม่นํามูลซึงอยู่ทางตอนเหนื อของจังหวัด  ปจจุบนมีเนือที   ,  ตารางกิโลเมตร   ประกอบด้วยอําเภอ    อําเภอ มีประชากรราว   .  ล้านคน  ประกอบด้วยกลุ่มชาติพนธุ์ ั หลากหลาย  ซึงพูดภาษาถินต่าง  ๆ  กัน  อาทิ  ภาษาถินอีสาน, ภาษากูย, ภาษาเยอ  และภาษา เขมร  ส่วนใหญ่เป็ นพุทธศาสนิกชนและนับถือผีมาแต่เดิมมีการตังถินฐานในจังหวัดศรีสะเกษมา แต่สมัยก่อนประวัตศาสตร์จนเกิดพัฒนาการทีเข้มข้นในสมัยอาณาจักรขอมซึ งได้ทงมรดกทาง ิ ิ วัฒนธรรมหลายประการไว้  เช่น  ปราสาทหินและปรางค์กู่ศลปะขอมตังกระจัดกระจายอยู่หลาย ิ แห่ง  ครันในสมัยอาณาจักรอยุธยา  มีการยกบ้านปราสาทสีเหลียมดงลําดวน  (ตําบลลําดวนใหญ่   ั ั อําเภอวังหิน  ในปจจุบน)  เป็ นเมืองศรีนครลําดวน  ต่ อมาโยกย้ายลงทางใต้และได้ชอใหม่เป็ น ื เมืองขุขนธ์และในสมัยรัชกาลที    แห่งอาณาจักรรัตนโกสินทร์ได้ยายเมืองไปยังบริเวณตําบล ั ้ ั ั เมืองเก่า  (ตําบลเมืองเหนือ  อําเภอเมืองศรีสะเกษ  ในปจจุบน)  แต่เรียกชือเมืองขุขนธ์  ตามเดิม   ั กระทังยกฐานะเป็ น  จังหวัดขุขนธ์  เมือ  พ.ศ. ั แล้วเปลียนชือเป็ น  จังหวัดศรีสะเกษ  เมือ   พ.ศ. ั                การศึกษาครังนีได้กําหนดพืนทีศึกษาใน  บริเวณจังหวัดศรีสะเกษฝงตะวันตก  ภายใน   อําเภอ  คือ  อําเภออุทุมพรพิสย  อําเภอปรางค์กู่  อําเภอห้วยทับทัน  ซึงมีรปแบบศิลปะของศาสน ั ู สถานของขอมปรากฎอยู่จํานวนมาก  และหลากหลายรูปแบบ  ในช่วงตั งแต่สมัยพุทธศตวรรษที    โดยเริมศึกษาในพืนทีทีค่อนข้างแน่ ชดแล้วว่าเป็ นสถานทีทีเป็ นโบราณสถานของขอม  โดย ั เริมจากปราสาทสระกําแพงใหญ่  ซึงเป็ นศิลปะแบบคลัง  แบบบาปวน  และแบบนครวัด  ปราสาท
  • 5. 6 บ้านปราสาท  ซึงมีรปแบบศิลปะแบบบาปวน  ต่อมาปราสาทปรางค์กู่  ซึงมีรปแบบศิลปะแบบนคร ู ู วัด  และสุดท้ายในพืนทีปราสาทสระกําแพงน้อย  ซึงมีรปแบบศิลปะแบบบายน   ู
  • 6. บทที   รายละเอียดของสถานทีทีทําการศึกษา .  ปราสาทสระกําแพงใหญ่  อาเภออุทมพรพิ สย  จงหวัดศรีสะเกษ ํ ุ ั ั ภาพที   - -    ปราสาทสระกําแพงใหญ่ ทีมา  : http://freedom4yous-travel.blogspot.com                        ทีตังและลักษณะ                ปราสาทสระกําแพงใหญ่ต งอยู่ส ายถนนอุ ทุมพรพิสย -ห้วยทับทัน  เขตบ้านกําแพงใหญ่   ั ั อําเภออุทุมพรพิสย  อยู่ห่างจากตัวจังหวัดศรีสะเกษไปทางทิศตะวันตกประมาณ    กิโลเมตร ั และห่างจากตลาดอําเภออุทุมพรพิสยประมาณ    กิโลเมตร ั                ปราสาทสระกําแพงใหญ่แห่งนีจัดว่าเป็นปราสาทขอมขนาดใหญ่ทสุด  ในจังหวัดศรีสะเกษ   ี ลักษณะของปราสาทประกอบด้วย
  • 7. 8                ระเบียงคดรูปสีเหลียมผืนผ้าก่อด้วยหินทรายและแลงขนาด   *  เมตร  ทางเดินภายใน ระเบีย งกว้า ง  เมตรประตู ท งสีทิศ มีมุ ข  ช่ อ งหน้ า ต่ า งและช่ อ งลมติด ลู ก กลมหิน กลึง ประตู ั ด้านหน้าอยู่ทางทิศตะวันออก  มีซุ้มประตูเป็ นรูปกากะบาดและทีเสากรอบประตูมจารึกอักษร ี ขอมนับได้    บรรทัด                วิหารคู่ห่างจากซุมประตูหน้าเข้าไปประมาณ    เมตรมีวหารคู่หนึงก่อด้วยอิฐ  มีมุขประตู ้ ิ สําหรับเข้าทางทิศตะวันตก  เสาและกรอบประตูทาด้วยหินทราย  ทับหลังของประตูวหาร  ด้านทิศ ํ ิ เหนือสลักเป็นรูปพระนารายณ์บรรทมสินธุ  ส่วนทับหลังของประตูดานทิศใต้สลักเป็ นรูปพระศิวะ ์ ้ อุมนางปารพตี(พระอุทาชายา)ประทับเหนือโคอุศุภราช(โคนนทิ)มีเทพบริวารถือเครืองสูงแลพัด ้ โบกประกอบ                ปรางค์    องค์  ถัดจากวิหารคู่เข้าไปเป็ นปรางค์    องค์  ก่อด้วยอิฐ  เรียงแถวจากเหนือไป ใต้  แต่โครงร่างส่วนสําคัญ  เช่น  เสาและกรอบประตูทําด้วยหินทราย  ปรางค์องค์กลางซึงเป็ น ปรางค์องค์ประธานนัน  มีขนาดใหญ่กว่าอีก    องค์  นับว่ามีรูปทรงค่อนข้างสมบูรณ์ทสุดและ ี สวยงามทีสุดในบริเวณปราสาทสระกําแพงใหญ่แห่งนี  ประตูของปรางค์ประธานหันหน้าไปทาง ทิศตะวันออก  ทับหลังประตูมขตอนในซึงยังติดอยู่กบทีจําหลักเป็ นรูปพระอินทร์ทรงช้างยืนแท่น   ุ ั เหนือเศียรเกียรติมุข  มีรปเทวดา  รูปสิงห์และลายก้านขดประกอบ  เสาหินข้างกอบประตูดานใน ู ้ สลักเป็ นลวดลายคล้ายกรีบดอกไม้(คล้ายดอกลําดวน)เป็ นชันๆไป  สําหรับกรอบประตูดานนอก ้ สลักเป็นลวดลายรูปสิงห์ประกอบลายก้านขด  ผนังด้านข้างทิศเหนือและใต้มประตูหลอกทําด้วย ี ศิลาซึงปรักหักพังไปมาก  รอบๆบริเวณปรางค์ประธานพบหินสลักลวดลายต่างๆเช่น  รูปโคกับ มนุ ษย์หรือเทวดา  รูปเหราจับนาค  รูปพญานาค  รูปพญาครุฑจับนาคเป็ นต้น  รูปจําหลักเหล่านี ตกกองอยูกบพืนดินทัวไป ่ ั                ปรางค์เดียว  ข้างหลังปรางค์แถว    องค์  ห่างออกไปประมาณ   .  เมตร  มีปรางค์เดียว ก่ อ ด้ว ยอิฐ อยู่อ งค์ห นึ งค่ อ นข้า งใกล้ม าข้า งระเบีย งคดด้า นทิศ ใต้   ลักษณะของปรางค์อ งค์นี คล้ายคลึงกับปรางค์องค์หน้าทุกประการ  ไม่ว่าจะเป็ นกรอบประตูททําด้วยศิลาหรือประตูหลอก ี ด้วยอิฐด้านข้างทีทําด้วยอิฐก็ตามอันทีจริงตําแหน่ งทีตังปรางค์เดียวองค์นีทําให้คดว่าน่ าจะมี ิ ปรางค์อกองค์หนึงอยู่ทางด้านข้างระเบียงคดด้านทิศเหนือ  จึงจะดูสมบูรณ์แบบและสวยงามแต่ ี อาจเป็ นไปได้ว่าปรางค์ด้านทิศเหนืออาจจะยังไม่ทนได้ก่อสร้าง  หรืออาจจะก่อสร้างแล้วถูกรือ   ั หรือสูญหายไปแล้วก็ได้ ั ั                ปจจุบนทีในบริเวณปราสาทสระกําแพงใหญ่ แ ห่ง นี  มีวห ารของใหม่ห ลัง หนึงสร้างเพือ ิ ประดิษฐานพระพุทธรูปศิลาทรายนาคปรกปรางขัดสมาธิ  หน้าตักกว้าง    นิว  สูง    นิว  ซึงขุด พบในบริเวณปรางค์ประธาน  พระภิกษุเครือง  สุภทฺโท  เจ้าอาวาสได้เล่าว่า
  • 8. 9                ก่อน  พ.ศ.  โบสถ์หลังนียังไม่สร้าง  ต่อมาเมือปี พ.ศ.  ได้นิมตเห็นพระทองคํา ิ ขนาดใหญ่อยูตรงหน้าปราสาทหลังที    ส่งรัศมีไปทัวบริเวณสว่างไสวไปหมด  พระภิกษุเครืองจึง ่ ได้ช วนสามเณรมาขุด ด้ว ยกัน    รูป  ครันขุดลึก ประมาณคืบ เดีย วเสีย มก็ส ับถู ก พระกรของ พระพุทธรูป  และพบว่าเป็ นพระพุทธรูปนาคปรกปรางขัดสมาธิทําด้วยศิลาทราย  จึงได้นําไปไว้ หน้าปราสาทหลังที    ทีขุดพบนันเอง  ด้วยเห็นว่าเป็ นพระพุทธรูปธรรมดาไม่ใช่ทองคํา  ต่อมามี นักเรียนโรงเรียนกําแพงมาขีดเขียนเล่นบนพระพุทธรูป  พอตกกลางคืนเด็กก็ไม่สบาย  หมอมา นังทางในดูก็พ บว่า เด็ก ไปขีด เขีย นพระพุ ทธรูป นาคปรกเล่ น  พระภิกษุ เ ครืองจึง ปรึก ษากับ ชาวบ้านเห็นว่าพระพุทธรูปองค์นีศักดิสิทธิสมควรสร้างโบสถ์ไว้ประดิษฐานในบริเวณใกล้ๆทีพบ ั ั เดิม  เมือ  พ.ศ.  จึงได้สร้างโบสถ์ไว้ดงทีเห็นในปจจุบน ั                อัน ทีจริง ภายในโบสถ์ ห รือ วิห ารทีประดิษ ฐานพระพุ ท ธรูป นาคปรกนี  ยัง เป็ น ทีเก็บ โบราณวัตถุมค่าอืนๆอีก  เช่น  ศิลาทับหลังสลักเป็ นลวดลายเทพเจ้าของพราหมณ์ทรงสัตว์เป็ น ี ั พาหนะชนิดต่างๆโปงไม้โบราณขนาดใหญ่  กลองโบราณ  เครืองปนดินเผาโบราณจําพวกโอ่ง  ไห   ตู้เก็บพระธรรมลวดลายพืนเมืองและทีสําคัญทีสุดก็คอ  มีรูปจําลองของปรางค์ประธานเป็ นรูป ื ปรางค์ยอดแหลมสูงมีลกษณะเหมือนปรางค์องค์จริงทุกประการ ั                สระกําแพง  เมือข้ามทางรถไฟไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของบริเวณสระกําแพงใหญ่จะ พบสระใหญ่โบราณขนาด   *  เมตร  ลึกประมาณ    เมตร  มีนําขังตลอดปี  เข้าใจว่าคงจะขุด ขึนพร้อมๆกับการสร้างปราสาท  เพือใช้เป็นแหล่งกักเก็บนําไว้บริโภคสําหรับชุมชน                ประวัติความเป็ นมา                  แม้ว่าเรืองราวความเป็ นมาของปราสาทสระกําแพงใหญ่จะยังไม่อาจหาข้อยุตได้ว่าสร้าง ิ ขึนในสมัยใดแน่ กตาม  แต่กมผรสนนิษฐานไว้ว่า  คงจะได้สร้างขึนราว  พ.ศ. ็ ็ ี ู้ ู้ ั -  และเป็ น ศิลปะแบบคลังแบบบาปวนและแบบนครวัด  การก่อสร้างนันคงจะไม่แล้วเสร็จในรัชกาลเดียว   หากแต่มการก่อสร้างเพิมเติมหลายยุคหลายสมัย  ลักษณะวัสดุทใช้ในการก่อสร้างก็เป็ นวัสดุต่าง ี ี ชนิดกันคือ ปราสาททีสร้างด้วยอิฐ  หิน  และแลง  สังเกตเห็นได้ว่ามีการก่ อสร้างเพิมเติมหรือ ซ่อมแซมอย่างเห็นได้ชด  นอกจากนียังอาจสันนิษฐานเพิมเติมได้ว่า  ปราสาทแห่งนีคงจะเป็ น         ั เทวสถานทีค่อนข้างสมบูรณ์แบบและเป็ นปราสาทสําคัญทีพระมหากษัตริย  หรือผูมอํานาจสูงสุด ์ ้ ี ในขณะนัน  น่าจะมีส่วนร่วมในการก่อสร้างด้วย                ปราสาทหินทีมีระเบียงคดล้อมรอบ  จัดเป็ นศาสนาสถานทีมีว ิวฒนาการถึงขันสมบูรณ์ ั แบบตามคติของขอม  มักประกอบด้วยคูนําล้อมรอบเป็ นรูปสีเหลียมผืนผ้า  มีตําแหน่ งศิลาแลง หรือหินล้อมรอบกําแพงนีอาจจะอยู่นอกคูนําหรือด้านในของคูนําก็ได้  มักมีโคปุระหรือซุมประตู   ้
  • 9. 10  ทิศ  ถัดกํ าแพงแลคูนําไปเป็ นระเบียงคด  มีโคปุระหรือ ซุ้มประตู    ทิศ  และมีทางเดินรอบ   ส่วนมากก่อสร้างด้วยหินทรายและศิลาแลง  ภายในระบียงคดจึงจะถึงของอาคารปราสาทซึงจะ ประกอบด้วยวิหารเล็ก  หอสมุด  และเทวาลัย  ซึงมีมุขยืนออกมาทางทิศตะวันออก  หรืออาจมี ปราสาทอืนซึงเป็ นของคนรุ่นเก่ า  หรือ รุ่นหลังมาสร้างรวมอยู่ด้วย  มีหลายแห่งทีเดียวทีไม่ม ี กํ า แพงล้อ ม  แต่ ม ีเ พีย งระเบีย งคดล้อ มรอบส่ ว นมากปราสาทนี มัก เป็ น ปราสาท ทีสํ า คัญ ที พระมหากษัต ริย์ทรงมีส่ว นร่ว มในการสร้างมีศิล าจารึกระบุการก่ อ สร้างและการอุ ทศ ข้าทาส ิ เครืองใช้และทีดินไว้  การก่อสร้างไม่แล้วเสร็จในรัชกาลเดียว  มีการก่อสร้างต่อเติมกันหลายยุค หลายสมัย  ยกตัวอย่างเช่นในสมัยแรกๆ  สร้างเป็ นปราสาทอิฐก่อน  เมือพังลงมามีการสร้างเป็ น ปราสาทหิน  ในสมัยต่อมาระเบียงคด  และโคปุระก็มาสร้างขึนในสมัยหลังต่อเติมกันจนสมบูรณ์ แบบ  เช่น  ปราสาทพนมรุง  ปราสาทเมืองตํา  จังหวัดบุรรมย์  ปราสาทหินพิมาย  ปราสาทพนมวัน   ้ ีั จังหวัดนครราชสีมา  ปราสาทสระกําแพงใหญ่  และปราสาทพระวิหารในเขตจังหวัดศรีสะเกษ   เป็นต้น                ตามทีได้สงเกตดูลวดลายของศิลาทับหลังของปราสาทกําแพงใหญ่นี  ซึงปรากฎว่าเป็ น ั ลวดลายสลักเกียวเนืองในศาสนาพราหมณ์หรือฮินดูเกือบทังสิน  ไม่ว่าจะเป็ นรูปสลักพระอิศวร ทรงโคอุศุภราช(โคนนทิ)ก็ด  รูปพระนารายณ์บรรทมสินธุ์ก็ด  หรือแม้แต่รูปพระอิศวรทรงช้าง ี ี เอราวัณ  ซึงมีส่วนเกียวข้องกับศาสนาพุทธอยู่บางก็ตาม  รวมทังได้มการขุดพบพระพุทธรูปศิลา ้ ี นาคปรกแบบลพบุรในบริเวณปราสาทหินแห่งนี  ก็น่าเชือว่าปราสาทหินสระกําแพงใหญ่คงจะ ี สร้างไว้เป็นศาสนสถานทีเกียวเนืองในศาสนาฮินดู  หรือศาสนาพราหมณ์  และได้เปลียนแปลงมา เป็ นพุทธสถานในเวลาต่อมา  ปราสาทสระกําแพงใหญ่  จัดเป็ นปราสาทขอมรุ่นเก่าแก่ทมีขนาด ี ใหญ่  และมีความสําคัญมากแห่งหนึงจึงชวนให้น่าสันนิษฐานในบริเวณแห่งนี  คงจะเป็ นชุมชน ขนาดใหญ่  ทีเคยมีความเจริญรุงเรืองเป็ นระยะเวลานาน  การก่อสร้างเทวาลัย  คงจะเป็ นลักษณะ ่ ของการเกณฑ์แรงงาน  ซึงแบ่งออกเป็น    ประเภทคือ  การเกณฑ์แรงงานจากราษฎรธรรมดามา เคลือนย้ายวัสดุก่ อสร้าง  อันได้แ ก่  อิฐ  หิน  แลง  และอีกประเภทหนึงก็ค ือการใช้ช่างฝี มอ  ซึง ื กษัตริยหรือเจ้านายเป็ นผู้ชุบเลียง  คนกลุ่มหลังนีจะทําหน้าทีแกะสลักลวดลายต่างๆจนถึงการ ์ ั ออกแบบสถาปตยกรรม                ดัง นันประวัติค วามเป็ น มาของปราสาทสระกํ าแพงใหญ่   หรือ วัด กํา แพงนันยังไม่อ าจ สามารถหาหลักฐานมายืนยันยุตได้แน่ ชดว่า  สร้างในรัชกาลใดของขอม  แต่คงจะอยู่ในราวพุทธ ิ ั ศตวรรษที  และเก่าแก่กว่าปราสาทหินกําแพงน้อย  จัดได้ว่าเป็ นเทวสถานทีสําคัญขนาดใหญ่ แห่งหนึงในบริเวณทีราบสูงภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยซึงคงจะได้เปลียนแปลงมา ใช้เป็นพุทธสถานในระยะหลังต่อมา  กษัตริยหรือผูมอํานาจสูงสุดในบริเวณชุมชนแห่งนี  คงจะได้ ์ ้ ี มีส่วนร่วมในการก่อสร้างหรือซ่อมแซม  การก่อสร้างไม่แล้วเสร็จในรัชกาลเดียวแต่น่าจะได้มการ ี
  • 10. 11 เพิมเติมเสริมแต่งและซ่อมแซมมาโดยตลอด  อย่างไรก็ตามเป็ นทีแน่ ชดว่าเทวสถานแห่งนี  คงจะ ั ได้เป็นศูนย์กลางชุมชนขนาดใหญ่ในบริเวณนีสืบมาเป็นเวลาช้านาน                  ลกษณะรูปแบบศิ ลปะภายในปราสาท ั                                                                                                                 ภาพที - -    ปราสาทประธานของปราสาทสระกําแพงใหญ่ ทีมา  : http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand                ปราสาทประธานของปราสาทสระกําแพงใหญ่  แม้ว่าลวดลายได้มอทธิพลของศิลปะนคร ีิ ั วัดเข้ามาปะปนแล้ว  แต่สําหรับแผนผังและองค์ประกอบทางสถาปตยกรรมนันยังคงแสดงความ เกียวข้องกับปราสาทรุนเก่าอยู   เช่น  การไม่มมณฑปยาว  มีแต่เพียงมุขสันๆ  เป็นต้น ่ ่ ี การใช้อิฐกับหินทรายผสมกันนัน  ถือเป็ นลักษณะพืนเมือง  ไม่ปรากฏลักษณะเช่นนีใน ศิลปะขอมทีเมืองพระนคร
  • 11. 12 ภาพที   - -    หน้าบันด้านตะวันออกของปราสาทหลังกลาง ทีมา  : http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand                หน้าบันด้านตะวันออกของปราสาทหลังกลาง  เป็นภาพศิวนาฏราชแวดล้อมไปด้วยบริวาร   ซึงพระศิวะทีอยู่ตรงกลางของหน้าบันนัน  แสดงการเต้นโดยไม่ยกพระบาทจากพืน  มีพระหัตถ์ จํานวนมากเช่นเดียวกับศิวนาฏราชในศิลปะขอมแห่งอืนๆ ภาพบุคคลบนหน้าบัน  ยังคงมีขนาดใหญ่  และมีการปล่อยพืนทีว่างด้านหลัง  ซึงทังหมดนี แสดงถึงศิลปะบาปวน  อนึง  การประดับลายก้านต่อดอกทีกรอบหน้าบันและใบระกาก็แสดงถึง ศิลปะบาปวนเช่นกัน                                                                                   ภาพที - -    เสากรอบประตูทางด้านตะวันออกของปราสาทประธาน ทีมา  : http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand ในศิลปะบาปวน  เสากรอบประตูมกสลักด้วยลายก้านต่อดอกทีมีขด    เส้นทีก้านดอก  โดย ั ี ทีโคนเสามักปรากฏลายรูปสัตว์  เช่นเสาต้นนีซึงมีรปลิงกําลังคายลายก้านต่อดอก  เสาติดผนังต้น ู
  • 12. 13 นียังคงสลัก ไม่เ สร็จ  จึงแสดงให้เ ห็นถึงเทคนิค การสลักได้   เช่น  การสลักโกลน  และการเก็ บ รายละเอียดโดยยังคงเหลือ  “หินยึด”  ระหว่างลายกนกกับกรอบ                                                                           ภาพที   - -    ทับหลังทางด้านตะวันออก  ภายในปราสาทประธาน ทีมา  : http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand                เป็ นทับหลังทีแสดงถึงหัวเลียวหัวต่อระหว่างศิลปะบาปวนตอนปลายและนครวัดตอนต้น   โดยองค์ประกอบสําคัญยังคงแสดงให้เห็นถึงศิลปะบาปวน  เช่น  มีหน้ากาลอยู่ดานล่างสุดของทับ ้ หลัง  และมีท่อนพวงมาลัยทีม้วนจากด้านล่างขึนมาตรงกลางทับหลังก่อนทีจะม้วนลงไปด้านล่าง อีกครังทีปลายสุดของทับหลัง  อย่างไรก็ตาม  การทีปรากฏเสียวซึงมีรูปครุฑอยู่ด้านบนนัน  มี รูปแบบคล้ายคลึงกับทับหลังทีปราสาทศรีขรภูมซงมีรูปสัตว์อยู่ด้านบนเสียวเช่นกัน  ทําให้ท ั บ ิ ึ หลังชินนีอาจมีอายุอยูในสมัยบาปวนตอนปลายต่อต้นนครวัดได้ ่                                                                                         ภาพที   - -    ทับหลังทางด้านทิศเหนือของปราสาทประธาน ทีมา  : http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand
  • 13. 14                เป็ นทับหลังทีแสดงถึงหัวเลียวหัวต่อระหว่างศิลปะบาปวนตอนปลายและนครวัดตอนต้น เช่นกัน  ทับหลังนียังเป็นตัวอย่างของทับหลังทีสลักไม่เสร็จ  โดยยังเห็นส่วนทีเป็ นโกลน  และส่วน ทีลงรายละเอียดแล้วแต่ยงคงหินเชือมทีร่องระหว่างกนก ั ภาพที   - -    เสากรอบประตูทางด้านเหนือของปราสาทประธาน ทีมา  : http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand                นอกจากลายก้านต่อดอกแล้ว  ในศิลปะบาปวน  ยังปรากฏเสากรอบประตูลายก้านขดที ออกรูปสัตว์    โดยทีโคนเสามักปรากฏลายรูปสัตว์  เช่นเสาต้นนีซึงมีรปลิงกําลังคายลายก้านขด   ู โดยแต่ละวงของก้านขดปรากฏรูปหงส์                เสาติดผนังต้นนียังคงสลักไม่เสร็จ  จึงแสดงให้เห็นถึงเทคนิคการสลักได้  เช่น  การสลัก โกลน  และการเก็บรายละเอียด  เป็นต้น                                                               ภาพที   - -    นาคปลายกรอบซุมหน้าบันทางด้านทิศเหนือของปราสาทหลังกลาง ้ ทีมา  : http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand
  • 14. 15                กรอบหน้าบันของปราสาทหลังกลาง  มีลกษณะเป็นรูป  “หน้ากาล”  หรือหน้าสิงห์ซงหันข้าง ั ึ และกําลังคายนาค  ซึงแตกต่างไปจากปราสาทในศิลปะนครวัดโดยทัวไปทีนาคมักคายออกจาก ปาก  “มกร”  หรือ  “เหรา”                  หน้ากาลคายนาคปลายกรอบซุม  ถือเป็นลักษณะเก่าของศิลปะคลังหรือบาปวนตอนต้น  ที ้ ยังคงตกค้างอยู่ทปราสาทสระกําแพงใหญ่นี  อย่างไรก็ ตาม  นาคทีมีกระบังหน้า  แสดงแนวโน้ม ี ไปสู่ศลปะนครวัดแล้ว  โดยอาจเปรียบเทียบได้กบนาคของปราสาทพิมาย ิ ั ภาพที   - -    หน้าบันทางด้านทิศเหนือของปราสาทประธาน ทีมา  : http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand                รูปแบบของหน้าบันดังกล่าวยังคงแสดงลักษณะสําคัญของศิลปะบาปวน  เช่น  การบรรจุ ลายก้านต่อดอกทีกรอบหน้าบันและใบระกา  รวมถึงการปรากฏใบไม่มวนภายในหน้าบัน  การที ้ ประติมากรรมบุคคลภาพเล่าเรืองมีขนาดใหญ่นัน  ทําให้หน้าบันชินนีมีความใกล้เคียงกับศิลปะ นครวัดมากขึน ภาพที   - -    มุขด้านหน้าปราสาทประธาน ทีมา  : http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand
  • 15. 16                ปราสาทประธาน  ปราสาทสระกํ า แพงใหญ่   ยัง คงปรากฏมุข สันๆด้า นหน้ า  แสดงถึง ลักษณะเก่าซึงแตกต่างไปจากปราสาทในศิลปะนครวัดอย่างแท้จริงทีนิยมมณฑปทียืดยาวและมี อันตราละเชือม                วัสดุการสร้างปราสาทแห่งนี  มีการปะปนกันทังการใช้หนทรายและอิฐ  โดยอิฐมักใช้ก่อ ิ เป็นผนัง  ส่วนหินทรายมักใช้ก่อในส่วนทีมีลวดลายสลัก ภาพที   - -    ทับหลังทางด้านทิศใต้ของปราสาทประธาน ทีมา  : http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand                ทับหลังทางด้านทิศใต้ของปราสาทประธาน  ปราสาทสระกําแพงใหญ่   มีเค้าโครงตามแบบ บาปวนโดยทัวไป  คือหน้ากาลอยู่ดานล่างของทับหลัง    มีภาพบุคคลอยู่ดานบนหน้ากาล  มีท่อน ้ ้ พวงมาลัยออกมาจากปากหน้ากาล  วกขึนด้นบนและม้วนตกลงด้านล่าง  ด้านบนมีใบไม้ตงขึน   ั ด้านล่างมีใบไม้หอยตกลง  ทับหลังนียังเป็ นตัวอย่างของทับหลังทีสลักไม่เสร็จ  โดยยังเห็นส่วนที ้ เป็นโกลน  และส่วนทีลงรายละเอียดแล้วแต่ยงคงหินเชือมทีร่องระหว่างกนก ั                                                                       ภาพที   - -    หน้าบันรูปอุมามเหศวร  ทางด้านทิศใต้ของปราสาทประธาน ทีมา  : http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand  
  • 16. 17 ประติมากรรมบุคคลทีปรากฏอยู่บนหน้าบันนี  ล้วนแต่ทรงเครืองแบบบาปวน  คือ  ทรงผม แบบบาปวน  ทรงผ้านุ่งทีเว้าลงด้านหน้าอุทรมาก  ผ้านุ่ งสัน  มีพลีต  และมีขมวดชายพกขนาดเล็ก ทางด้านหน้า  ซึงทังหมดถือเป็นตัวอย่างการแต่งกายแบบบาปวนอย่างแท้จริง                                                                                         ภาพที   - -    เสาประดับกรอบประตูของปราสาทประธาน ทีมา  : http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand                เสาประดับกรอบประตูของปราสาทสระกําแพงใหญ่  มีเค้าโครงคล้ายคลึงกับเสาประดับ กรอบประตูแบบบาปวน-นครวัดโดยทัวไป  คือ  มีวงแหวนจํานวนมากทีประดับด้วยใบไม้ขนาด ั เล็กคล้ายฟนปลา ภาพที   - -    ทับหลังทางด้านทิศตะวันตกของปราสาทประธาน ทีมา  : http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand                เป็ นทับหลังทีแสดงถึงหัวเลียวหัวต่อระหว่างศิลปะบาปวนตอนปลายและนครวัดตอนต้น   จากภาพเล่าเรืองทีประกอบไปด้วยลิงจํานวนมาก  จึงน่ าจะเป็ นภาพเล่าเรืองในมหากาพย์รา มายณะ  โดยทีลิงสองตัวทีกําลังต่อตู่อยู่เหนือหน้ากาลนัน  น่ าจะได้แก่พาลีรบสุครีพ  ส่วนลิงตัว
  • 17. 18 อืนๆทีกําลังเหาะอยู่ส่วนบนของทับหลังนัน  ไม่แน่ ชดว่าจะเกียวข้องกับตอนหนุ มานเหาะเพื อไป ั ถวายแหวนให้กบนางสีดาทีเกาะลังกาหรือไม่ ั                                                                           ภาพที   - -    ทับหลังรูปพระกฤษณะปราบม้าเกษี  บรรณาลัยด้านทิศเหนือ ทีมา  : http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand                ทับหลังมีองค์ประกอบแบบบาปวนโดยทัวไป  คือ  มีหน้ากาลอยู่ด้านล่างของทับหลัง    มี ภาพบุคคลอยู่ดานบนหน้ากาล  มีท่อนพวงมาลัยออกมาจากปากหน้ากาล  วกขึนด้นบนและม้วน ้ ตกลงด้านล่าง  ด้านบนมีใบไม้ตงขึน  ด้านล่างมีใบไม้ห้อยตกลง    ทีน่ าสนใจคือการจัดภาพเล่า ั เรือง   กลุ่มไว้ทด้านบนของหน้ากาลและส่วนปลายของท่อนพวงมาลัยซึงไม่พบในทับหลังแบบ ี ปกติของบาปวน ภาพที   - -    ทับหลังรูปนารายณ์บรรทมสินธุ  บรรณาลัยด้านทิศเหนือ ์ ทีมา  : http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand ทับหลังซึงมีภาพเล่าเรืองขนาดใหญ่เต็มพืนทีของทับหลัง  โดยภาพบุคคลมีขนาดใหญ่นน   ั ถือเป็ นรูปแบบอีกบบหนึงของทับหลังแบบบาปวน  แตกต่างไปจากศิลปะนครวัดทีทับหลังมักมี ภาพเล่าเรืองเต็มไปด้วยบุคคลขนาดเล็ก
  • 18. 19 ภาพที   - -    ทับหลังรูปคชลักษมี  บรรณาลัยทางด้านทิศใต้ ทีมา  : http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand ทับหลังชินนีมีลกษณะแบบบาปวนทัวไป  อย่างไรก็ตาม  ได้ปรากฏเสียวทีด้านข้างของทับ ั หลัง  ด้นบนเสียวปรากฏบุค คลเต้นรํา  ซึงลักษณะเช่นนีสามารถเปรียบเทียบได้กับทับหลังที ปราสาทศรีขรภูมในศิลปะนครวัด ิ ภาพที   - -    นาคปลายกรอบซุมหน้าบัน  บรรณาลัยทางด้านทิศใต้ ้ ทีมา  : http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand                กรอบหน้าบันของบรรณาลัย  มีลกษณะเป็ นรูป  “หน้ากาล”   หรือหน้าสิงห์ซงหันข้างและ ั ึ กําลังคายนาค  ซึงแตกต่างไปจากปราสาทในศิลปะนครวัดโดยทัวไปทีนาคมักคายออกจากปาก   “มกร”  หรือ  “เหรา”  หน้ากาลคายนาคปลายกรอบซุม  ถือเป็ น ลักษณะเก่าของศิลปะคลังหรือบาป ้ วนตอนต้น  ทียังคงตกค้างอยูทปราสาทสระกําแพงใหญ่นี ่ ี
  • 19. 20                                                                                         ภาพที   - -    ทับหลังรูปอุมามเหศวร  บรรณาลัยด้านทิศใต้ ทีมา  : http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand ทับหลังซึงมีภาพเล่าเรืองขนาดใหญ่เต็มพืนทีของทับหลัง  โดยภาพบุคคลมีขนาดใหญ่นน   ั ถือเป็นรูปแบบอีกแบบหนึงของทับหลังแบบบาปวน  แตกต่างไปจากศิลปะนครวัดทีทับหลังมักมี ภาพเล่าเรืองเต็มไปด้วยบุคคลขนาดเล็ก ภาพที   - -    ปราสาทด้านหลังปราสาทประธาน ทีมา  : http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand                เป็ นปราสาททีตังอยู่นอกแผนผังทีสมมาตร  กล่าวคือ  เป็ นปราสาทเพียงหลังเดียวทีตังอยู่ ด้านหลังปราสาท    องค์ด้นหน้า  และตังเยืองไปทางทิศใต้  ยังไม่ทราบแน่ ชดว่าปราสาทหลังนี ั สร้างขึนเนืองด้ว ยคติใ ดและอุทศให้กบเทพหรือเทพีองค์ใ ด  อย่างไรก็ตาม  ย่อมแสดงให้เห็น ิ ั ความเป็นพืนเมืองของปราสาทขอมในดินแดนไทยทีอาจสร้างปราสาทแบบไม่สมมาตรได้
  • 20. 21 ภาพที   - -    กลีบขนุน ทีมา  : http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand                การประดับยอดวิมานด้วยกลีบขนุ น  เริมต้นในศิลปะนครวัด  โดยนักวิชาการหลายท่าน เชือว่าเริมต้นทีปราสาทพิมายในประเทศไทยก่อ นทีจะแพร่หลายไปยังประเทศกัมพูชา  การ ปรากฏกลีบขนุ นทีปราสาทสระกําแพงใหญ่พร้อมกับการใช้ปราสาทจําลอง  ย่อมแสดงให้เห็นว่า ปราสาทแห่งนีมีอายุอยูในระยะหัวเลียวหัวต่อระหว่างศิลปะบาปวนกับนครวัด ่ .  ปราสาทบ้านปราสาท  อาเภอห้วยทับทัน  จงหวัดศรีสะเกษ ํ ั ภาพที   - -    ปราสาทบ้านปราสาท ทีมา  : http://www.thaipackagetour.com                ตังอยู่ภายในวัดบ้านปราสาท  ตําบลปราสาท  อําเภอห้วยทับทัน  จังหวัดศรีสะเกษ  เป็ น ปราสาท    หลัง  ทีสร้างขึนในศิลปะเขมรราวพุทธศตวรรษที   -  บริเวณทีตังปราสาทเป็ นเนิน
  • 21. 22 สูงบ่งบอกถึงลักษณะของการเป็ นชุมชนโบราณอย่างเห็นได้ชดสร้างขึนเพือเป็ นศูนย์กลางของ ั ชุมชนตามแบบแผนของวัฒนธรรมขอม  ได้รบการดัดแปลงบูรณะ  ปฏิสงขรณ์ในภายหลัง  เห็นได้ ั ั ชัดจากส่วนยอดของปราสาททีมีรปแบบต่างไปจากส่วนยอดของปราสาทในศิลปะเขมร  ปราสาท ู ทังสามหลังก่อด้วยอิฐบนฐานศิลาแลงเดียวกัน  มีประตูทางเข้าทิศตะวันออก  เรียงกันในแนว เหนือใต้ เมือซ่อมเสริมเสร็จแล้วยอดปราสาทองค์กลางทีองค์สําคัญกลับมียอดตํากว่ายอดปราสาท สองหลังทีขนาบอยูขางๆการซ่อมแซมทีเกิดขึนนันควบคู่ไปกับการฟืนฟูศาสนสถาน                       ่ ้                ทีปราสาทประธานบนกรอบประตูด้านหน้า  ยังคงมีทบหลังแสดงภาพหน้ากาลคายท่อน ั พวงมาลัย  ทีบริเวณเสียวของท่อนพวงมาลัยมีภาพบุคคลยืนอยู่ในซุ้ม  ภาพสลักบนเหนือหน้ า กาลลบเลือนไปหมดแล้วทําให้ไม่สามารถดูได้ว่าเป็นรูปอะไร  มีทบหลังซึงเหลือเพียงครึงแผ่นชิน ั หนึงตกอยูทพืน  จากภาพแกะสลักทีปรากฏเป็นเรืองราวกวนเกษียรสมุทร ่ ี                ปราสาทอีก    หลังได้รบการดัดแปลงเช่นเดียวกัน  โดยการก่ออิฐปิ ดช่องประตูกลายเป็ น ั ผนังทึบทังสีด้าน  ส่วนยอดของปราสาทดัดแปลงเช่นเดียวกัน                  ปราสาททังสามหลังล้อมรอบด้วยกําแพงแก้วก่อด้วยศิลาแลง  มีซุมประตูทางเข้า(โคปุระ) ้ ด้านทิศตะวันออกและทิศใต้                  ปราสาทแต่เดิมทีเคยเป็ นเทวาลัย  ได้ถูกเปลียนให้เป็ นสถูปเจดีย์ในทางพุทธศาสนาที ั ั เรียกว่าธาตุไป  คือปจจุบนชาวบ้านเรียกว่าธาตุปราสาท  มีการนํ าพระพุทธรูปมาประดิษฐานให้ เป็นทีกราบไหว้บชา ู ลักษณะรูปแบบศิ ลปะภายในปราสาท ภาพที   - -    ทับหลังบนกรอบประตูดานหน้าปราสาทประธาน ้ ทีมา  : http://www.mapculture.org/
  • 22. 23                ทับหลังแสดงภาพหน้ากาลคายท่อนพวงมาลัย  ทีบริเวณเสียวของท่อนพวงมาลัยมีภาพ บุคคลยืนอยูในซุม  ภาพสลักบนเหนือหน้ากาลลบเลือนไปหมดแล้ว ่ ้ ภาพที   - -    ทับหลังกวนเกษียรสมุทร ทีมา  : https://commons.wikimedia.org                ทับหลังซึงเหลือเพียงครึงแผ่นชินหนึงตกอยูทพืน  จากภาพแกะสลักทีปรากฏเป็ นเรืองราว ่ ี กวนเกษียรสมุทร .  ปราสาทปรางค์ก่  ู อาเภอปรางค์ก่  ู จงหวัดศรีสะเกษ ํ ั ภาพที   - -    ปราสาทปรางค์กู่ ทีมา  : http://travel.sanook.com
  • 23. 24                ทีตังและลักษะ ปราสาทปรางค์กู่ตงอยูทบ้านกู่  ตําบลกู่  อําเภอปรางค์กู่  อยูห่างจากอําเภอปรางค์กู่ ั ่ ี ่ ประมาณ    กิโลเมตร ลักษณะของโบราณสถานแห่งนีเป็นปรางค์    องค์  สร้างเป็นแนวจากเหนือจากใต้  อยูบน ่ ฐานเนินดินขนาดใหญ่มแลงประกอบเป็นเขือนกันดินพังทลาย  ปรางค์ทง    องค์ก่ อด้วยอิฐและ ี ั อิฐปนแลง  ขนาดของอิฐมีตงแต่   . × . × .  เมตร  ปรางค์แต่ละองค์มประตูเข้าได้เฉพาะ ั ี ทิศตะวันออก  อีก    ทิศ  เป็นประตูหลอก  ทับหลังและกรอบประตูทาด้วยหินทราย    จําหลักเป็ น ํ ั ั ลวดลายต่างๆ  งดงาม  ปจจุบนเป็ นปรางค์เก่าชํารุดมาก                กรมศิลปกรเคยสํารวจว่า ปรางค์องค์ท  ี (ปรางค์ทศใต้)  สร้างเป็ นรูป    เหลียม  กว้าง    วา      ศอก  สูง    วา     ิ ศอก  ทับหลังของปรางค์สลักเป็นรูปพระนารายณ์    กร  ทรงครุฑเหยียบหลังสิงห์    ตัว  สิงห์คาบ พวงมาลัยทําหน้าเป็ นเหราคาบนาคราช  ตามฝาผนังประตูจําหลักเป็ นพระพุทธรูป  และคน     คน ปรางค์องค์ท  ี (องค์กลาง)  ทําด้วยอิฐกว้าง    วา    ศอก  รูปกลม    เหลียม  สูง    วา     ศอก  กรอบประตูทําด้วยหินทราย  ทับหลังสลักเป็ นรูปพระอินทร์ทรงช้างยืนอยู่บนแท่นเหนือ เศียรเกียรติมข  มีรปพวงมาลัยก้านขด  และรูปเทพรําประกอบ ุ ู                ปรางค์องค์ท  ี (ปรางค์ทศเหนือ)  สร้างเป็นรูป    เหลียม  กว้าง    วา      ศอก  สูง    วา     ิ ศอก  ทําด้วยศิลาแลงแทบทังองค์ประกอบด้วยอิฐเสริมเฉพาะตอนบนๆ  กรอบประตูทําด้วยหิน ทราย  ศิลาทับหลังจําหลักเป็ นรูปพระลักษณ์  ถูกศรนาคบาศ  เสาริมกรอบประตูสลักเป็ นพระปติ มายืน(นางอัปสร)  เสาหน้ าประตูทางเข้าทัง    ข้างมีฐานบัวรองรับจําหลักเป็ นลวดลายประจํา ยาม  บัวลอย  บัวหงายและบัวแก้ว                บริเวณหน้าปราสาทยังมีศลาจารึกจําหลักสวดลายต่างๆ  ตกลงมากองอยู่ทเชิงฐานหลาย ิ ี ชิน  เช่น  บัวหัวเสา  คานรับซุมประตู  และบัวยอดปรางค์  เป็นต้น ้ ั ั                ทีจริงปราสาทปรางค์กู่ทปรากฏในสายตาปจจุบน    นอกจากจะอยู่ในสภาพทีชํารุดมาก ี แล้ว  ศิลาทับหลังตลอดจนลวดลายสลักเสาต่างๆ  ได้สญหายไปเกือบหมด  บางส่วนกรมศิลปากร ู
  • 24. 25 ได้นําไปเก็บรักษาไว้  เช่น  ศิลาทับหลังของปรางค์องค์ทศใต้จาหลักเป็ นรูปพระนารายณ์ทรงครุฑ   ิ ํ กรมศิลปากรได้นําไปรักษาไว้ทหน่ วยศิลปากรพิมาย  จังหวัดนครราชสีมา  บางส่วนถูกลักหรือมี ี การตกหล่นสูญหายจมดินบ้างก็ม ี                บริเวณรอบๆปราสาท    องค์  มีสระนําขนาดเล็กขุดเป็นคูรอบทัง    ด้าน  ตรงกลางกันเป็ น ดินทางเดินทัง    ทิศ  แบ่งคูนําออกเป็ นระเล็กๆทัง    สาย  หน้าปราสาทมีสระนํ าโบราณขนาด ใหญ่กว้างประมาณ    กิโลเมตร  เป็ นทําเลทีพักหากินของนกพันธุต่างๆ  โดยเฉพาะนกเป็ ดนํา  ที ์ จะมาหากินสวนนีเป็นประจํา                ประวัติความเป็ นมา    ครูอน  อดีตครูโรงเรียนบ้านกู่  ได้เล่าว่าการสร้างปราสาทบ้านกู่  หรือปราสาทกู่    ได้อ้างอิง ิ หนังสือเล่ มหนึงเขียนเป็ นภาษขอมโบราณ  ได้จากนายแมว  อินนุ ช  อยู่อําเภอสังขะ  จังหวัด สุรนทร์  ว่าได้อ่านแล้วแปลคําในหนังสือได้ใจความว่า ิ เป็ นเรืองราวเกียวกับปราสาทเขาพระวิหาร  ปราสาทบ้านระแงง  อําเภอศรีขรภูม  และ ิ ปราสาทบ้านกู่  ปราสาททัง    แห่ง  สร้างเวลาไล่เลียกัน  โดยเริมสร้างปราสาทเขาพระวิหารและ ปราสาทบ้านระแงงก่อน  แล้วจึงเริมสร้างปราสาทบ้านกู่  ปราสาททัง    แห่ง  สร้างในสมัยขอม เรืองอํานาจ  เมือพันปีเศษ  ทังนีเพือใช้ประกอบศาสนกิจทางศาสนาพราหมณ์  โดยผูเป็ นประธาน ้ อยู่หลังกลาง  รองประธาน  คนที    อยู่ขวามือ  คนที    อยู่ซายมือ  สระล้อมปราสาท  ลึก    ศอก   ้ ขูด เพือนํ า นํ าในสระมาประกอบศาสนกิจ  พิธ ีก ารประกอบศาสนกิจ จัดขึนทุ กปี   เวลา    วัน     หนังสือยังกล่าวว่า  บ้านกู่เดิมแห้งแล้งจึงได้ขดสระขยายให้กว้างเพือกักเก็บนําไว้ใช้ ุ จากคํากล่าวของครูอน  เมือมีการตรวจค้ นหลักฐาน  พบว่า  ในบรรดาปราสาททัง    แห่ง   ิ ปราสาทหินพระวิหารเก่าแก่ทสุด   ี ปราสาทหินพระวิหารสร้างราวพุทธศตวรรษที    สมัยพระเจ้าสุรยวรมันที    ได้เสด็จ ิ ครองราชสมบัตทเมืองเขมร  ตังแต่  พ.ศ.   ิ ี  -    แม้พระองค์จะนับถือศาสนาฮินดู    ลักธิ ั ไสวนิกาย  แต่กมนําพระทัยฝกใฝ่ในพระพุทธสาสนา  ดังทีจารึกส่วนหนึงของพระองค์เอยถึงพระ ็ ี ศิวะ  และพระพุทธเจ้า  แต่หากดูตามฝี มอการก่อสร้าง  ปราสาทหินพระวิหารก็อยู่ในราวกึงกลาง ื
  • 25. 26 ระหว่างศิลปะแบบปราสาทเกลียงและปราสาทบาปวน  แน่นอนว่าสร้างขึนก่อนปราสาทหินพิมาย   และปราสาทนครวัด ปราสาทศรีขรภูมจากทีผู้รศึกษาลวดลายศิลาทับหลังของปราสาทองค์กลางทีมีรูปหน้ า ิ ู้ เกียรติมข  พอจะบอกไดว้าเป็นฝีมอของช่างรุนหลังชัยวรมันที    ลงมา  รัชกาลนีได้นําหน้าเกียรติ ุ ื ่ มุขหรือหน้ากาละแบบนีมาจากชาวบ้าน  แต่เมือพิจารณาทังหมดแล้วประกอบกับรูปนางอัปสร เห็นได้ชดว่าเป็นศิลปะรุนเดียวกับนครวัดสมัยสุรยวรมันที   ั ่ ิ จากการสังเกตลวดลายของศิลาทับหลังบริเวณปราสาทปรางค์กู่  พบว่า  มีการสลักลาย   เกียรติมุขหรือหน้ากาละ  ปละนางอัปสร  เช่นเดียวกับทีได้พบบริเวณปราสาทศรีขรภูมทําให้คด ิ ิ ว่าปราสาททัง    คงสร้างขึงในเวลาใกล้เลียกันจริง  ข้อสังเกตอีกประการสําหรับลวดลายศิลาทับ หลังทีได้พบบริเวณปราสาทกู่  คือ  การทีศิลาทับหลังของปรางค์องค์กลาง  สลักรูปพระอินทร์ทรง ช้างยืนอยู่บนแท่นเหนือเศียรเกียรติมุข  เป็ นลวดลายเกียวกับทีพบทีศิลาทับหลังของปรางค์ ประธาน  บริเวณปราสาทหินวัดสระกําแพง  อําเภออุทุมพรพิสย  ตามประวัตศาสตร์ปราสาทหิน ั ิ วัดสระกําแพง  อาจจะสร้างขึนราว  พ.ศ. -    น่ าจะเข้าใจว่าปราสาทกู่  ได้สร้างขึนใน เวลาใกล้เคียงกับปราสาทหินเขาพระวิหาร  ปราสาทศรีขรภูม  และปราสาทหินวัดสระกําแพง   ิ ตามทีครูอนได้อางอิงตามหนังสือขอม ิ ้ ั                สําหรับปญหาทีว่าสร้างขึนเพืออะไร  น่ าจะสันนิษฐานได้ว่าเพือใช้เป็ นเทวสถานในลัทธิ ศาสนาพราหมณ์  พร้อมๆกับใช้เป็นพุทธศาสนสถาน  เพราะมีการพบลวดลายสลักต่างๆ                  แม้ว่าการพบรูปพระอินทร์ทรงช้าง  น่ าจะเป็ นเรืองศาสนาพุ ทธ  แต่มการค้นคว้าอย่าง ี ละเอียดพบว่าพระอินทร์ก็มส่ วนเกียวข้องกับศาสนาพราหมณ์อยู่มาก  และมีเรืองเล่าก็มากว่า   ี พระอินทร์เป็ นเทพพระเจ้าทีสําคัญองค์หนึงในยุคไตรเทพ  มีกายสีแดงหรือทองแดง  ต่อมาชัน หลังกลายเป็ นสีเขียว  อาวุธประจําคือ  วัชระ  ศร  และขอยานพาหนะทีโปรดคือรถทรงเทียนด้วย ม้าคู่สแดง  โปรดเสวยนําโสม  พระอินทร์ตามศาสนาของพราหมณ์เป็ นใหญ่ในดินฟ้าและอากาศ   ี กํากับฤดูกาล  เป็นหัวหน้าเทวดามีอํานาจและกล้าหาญ  เคยรบชนะพฤตาสูรย์ผบนดาลความแล้ง ู้ ั อาจกล่าวถึงประวัตปราสาทปรางค์กู่ว่า  คงจะสร้างในราวพุทธศตวรรษที   –  ในเวลาไล่เลีย ิ กับปราสาทหินเขาพระวิหาร  ปราสาทศรีขรภูม  ิ และปราสาทวัดสระกําแพงใหญ่  เพือไว้เทวสถาน ในลัทธิศาสนาพราหมณ์  พร้อมๆกับใช้เป็นพุทธศาสนสถานในเวลาเดียวกัน
  • 26. 27 ลักษณะรูปแบบศิ ลปะภายในปราสาท                                                                                           ภาพที   - -    ทับหลังของปรางค์สลักเป็นรูปพระนารายณ์ ทีมา  : http://commons.wikimedia.org ทับหลังของปรางค์สลักเป็ นรูปพระนารายณ์    กร  ทรงครุฑเหยียบหลังสิงห์    ตัว  สิงห์ คาบพวงมาลัยทําหน้าเป็นเหราคาบนาคราช ภาพที   - -    ทับหลังของปราสาทสลักเป็นรูปวานร ทีมา  : http://commons.wikimedia.org ทับหลังของปรางค์สลักเป็นรูปวานรกําลังจับพระนารายณ์  ตามเนือเรืองของมหากาพย์  รา มายณะ
  • 27. 28 .  ปราสาทสระกําแพงน้ อย  อาเภออุทมพรพิ สย  จงหวัดศรีสะเกษ ํ ุ ั ั                                                                                                           ภาพที   - -    ปราสาทสระกําแพงน้อย ทีมา  : http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand                ทีตังและลักษณะ ปราสาทกําแพงน้อย  ตังอยูทริมถนนสายศรีสะเกษ  – อุทุมพรพิสย  ในเขตบ้านหนองหญ้า ่ ี ั ปล้อง  ตําบลหนองหญ้าปล้อง  อําเภอเมืองศรีสะเกษ  อยู่ห่างจากตัวจังหวัดศรีสะเกษไปทางทิศ ตะวันตกประมาณ    กิโลเมตร                บริเวณปราสาทแต่เดิมเป็ นปราสาทรกทึกมีเถาวัลย์และต้นไม้ปกคลุมอยู่ทวไป  เป็ นที ั ั ั อาศัยของลิงและชะนีเป็ นจํานวนมาก  ปจจุบนค่อนข้างจะโล่งเตียน  แต่มต้นไม้ใหญ่หลงเหลืออยู่ ี บ้าง  มีวดและพระภิกษุจําพรรษาอยู่โดยมีพระคุณเจ้าทองสด  อตฺ ถภาโม  บ้านเดิมอยู่ทบ้านข่า   ั ี อําเภอวารินชําราบ  จังหวัดอุบลราชธานี  ธุดงค์มาจําพรรษาอยู่ก่อนเดือนสิงหาคม  พ.ศ.     ในการมาจําพรรษาอยู่ทวัดสระกําแพงน้อยแห่งนี  พระคุณเจ้าได้เล่าให้คณะค้นคว้าและศึกษา ี ั โบราณคดีฟงว่า  ท่านได้นิมตเห็นพระภูมเจ้าทีทีรักษาปราสาทเป็ นชายรูปร่างสูงดําใหญ่ มาก ิ ิ กล่าวว่าหากจะอยู่บูรณะปราสาทนีจริง  ก็ขอให้อธิษฐานจิตให้แน่ วแน่ และให้รบปากว่าจะมาอยู่ ั บูรณะด้วยความจริงใจ  และยังขอให้ท่านบอกผู้ทจะเข้าชมปราสาทให้แสดงความคารวะ  โดย ี ขอให้บอกกล่าวให้ทราบเสียก่อนทีจะเข้าไปในบริเวณปราสาท  ความจริงทางจังหวัดศรีสะเกษ เคยคิดและพยายามจะบูรณะปราสาทแห่งนีมาครังหนึงแล้วในปี  พ.ศ.    แต่ยงไม่สามารถที ั จะดําเนินการได้  บริเวณปราสาทแห่งนีจึงยังคงเป็ นทีรกทึกเต็มไปด้วยเถาวัลย์พนธุไม้ต่างๆ  จน ั ์
  • 28. 29 กระทัง  พ.ศ.    หลังจากทีพระภิกษุ ทองสด  อตฺ ถ ภาโม  มาจําพรรษาอยู่ไม่นาน  บริเ วณ ั ั ปราสาทก็สะอาดสะอ้าน  โล้งเตียนขึนมากดังปรากฏแก่สายตาในปจจุบน ลักษณะของปราสาทสระกําแพงน้อย  ประกอบด้วยกําแพงรู ปสีเหลียมผืนผ้าก่อด้วนศิลา แลงขนาด   . * .  เมตร  สูง   .  เมตร  ทางด้านทิศตะวันออกมีซุ้มประตูทางเข้า  กรอบ ประตูทาด้วยหินทรายตัวซุมประตูทาด้วยแลงวางซ้อนกันเป็ นชันๆขึนไปเป็ นรูปหน้าจัว  ด้านข้าง ํ ้ ํ มีหน้ าต่างเตียๆ  กรอบหน้ าต่างและลูกกรงหน้าต่างทําด้วยหินทรายลูกกรงมีลวดลายราวกับ ได้ร ับ การกลึง เกลามาอย่ า งดี   ซุ้ม ประตู ท างเข้า ทีข นาด   . * .  เมตร  ทางด้า นทิศ ตะวันออกเฉียงใต้นอกบริเวณประตูทางเข้าปรากฏว่ามีศลาทับหลังแผ่นหนึงตกลงมากองอยู่กบ ิ ั พืนหรืออาจจะถูกคนร้ายเคลือนย้ายมาวางไว้ทพืนนอกบริเวณปราสาทก็เป็ นได้  ศิล าทับหลังนี ี สลักเป็ นลวดลายพญานาคกําลังแผ่พงพาน  พญานาคตรงกลางเป็ นรูปสลักใหญ่กว่าด้านข้างทัง ั ั ั สองด้วย  กําแพงทีล้อมรอบตัวปราสาทปจจุบนสลักหักพังเป็ นตอนๆ  แต่ยงคงเหลือร่องรอยให้ ั เห็นอย่างชัดเจน  ส่วนซุมประตูทางเข้าทิศตะวันออกก็สลักหักพังเกือบหมดเช่นกัน ้                ถัดจากซุ้มประตูเข้าไปทางทิศ ตะวันตกมีปรางค์ประธานรูปสีเหลียมย่อมุมกว้าง   .   เมตร  สูงประมาณ    เมตร  มีประตูเข้าหันหน้าไปทางทิศตะวันออก  กรอบประตูและเสาทําด้วย หินทราย  เสาประตูสลักเป็ นลวดลายและมีลกษณะเป็ นเสารูปแปดเหลียม  ข้างในเป็ นห้องแคบๆ ั ั ั มืดทึบ  เดิมทีหน้ าประตูเ ป็ นมุขยืนออกมายาว   .  เมตร  ปจจุบนมุขทียืนออกมานันได้ถู ก คนร้ายทําลายจนหมดสิน  ยังคงเหลือแต่แนวแลงทีปูพนยืนยาวออกมาเท่านัน  ส่วนทางด้านทิศ ื ตะวันตกของปรางค์ป ระธานมีร่อ งรอยว่ า เป็ น ประตูห ลอก  ซึงแนวของประตูนันได้เ อีย งไป เนืองจากปรางค์ทรุดตัวและเอียงเอนมาทางทิศเหนือ ด้า นทิศ ใต้เ ป็ นวิห ารหน้ า ก่ อ ศิล าแลงขนาด   . * .  เมตร  มีประตู เ ข้า ออกทางทิศ ั ั ตะวันตก  ศิลาจําหลัก เป็ นรูปพระวรุณเทพนังแท่นมีห งส์แ บก    ตัว  แต่ ปจจุบนนี วิหารได้ถู ก ทําลายลงอย่างสินเชิงรวมทังศิลาทับหลังดังกล่าวด้วย  เดิมทีซากวิหารหน้านี มีแท่นฐานศิวลึงค์   ั ั จึง ถู ก นํ าไปทิงไว้ใ กล้ๆ  กํ าแพงนอกปราสาท  แต่ ปจจุบน นี ไม่เ หลือ ร่อ งรายของแท่ น ศิว ลึง ค์ ดังกล่าว ตรงปลายสุดของแท่นศิลาแลงทีปูพนยืนยาวออกจากปรางค์ประธานด้านทิศตะวันออก ื ปรากฏว่ามีแผ่นแลงวางกองกันขึนเป็นแนว  (เข้าใจว่าเป็ นแนวของใหม่)  เดิมเคยมีแท่นยกสูงขึน เป็ นชันๆ  กว้า งยาวประมาณด้า นละ    เมตร  ตรงกลางแท่ นมีเ สาหินทรายตังอยู่    ต้น  สูง
  • 29. 30 ประมาณ    เซนติเมตร  แท่นนีมีพระพุทธรูปหินองค์ใหม่มาตังไว้แทน  และสร้างศาลเพียงตา ั ั ครอบไว้  มีผูนําดอกไม้ธูปเทียนไปสักการะเป็ นประจํา  ปจจุบนนีไม่มศาลเพียงตา  หากมีการก่อ ้ ี เสาปูนขึน    ด้าน  และมีหลังคาทรงตัดตรงทําด้วยปูนซีเมนต์  คงจะเพือประโยชน์ในการคุมแดด ้ คุมฝนแก่พระพุทธรูปทีเอามาตังไว้ใหม่เหล่านัน ้ เยืองบริเวณปราสาทไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือมีสระโบราณขนาดกว้าง    เมตร  ยาว    เมตร  อยู่    สระ  ขอบสระทําด้วยแลงวางเป็ นชันๆลึกลงไปนอกจากสระเล็กแห่งนีแล้ว  ห่าง จากปราสาทไปทางทิศตะวันออกประมาณ    เมตร  มีสระขนาดใหญ่อกสระหนึง  ซึงคงจะสร้าง ี พร้อมๆ  กับปราสาท  สระเป็นรูปสีเหลียมผืนผ้า  กว้างประมาณ    เมตร  ยาว    เมตร  มีนําขัง ตลอดทังปีสองสระ  รอบๆสระใหญ่มต้นไม้ขนปกคลุมอยู่ทวไปทําให้รอบๆบริเวณมีอากาศทีร่ม ี ึ ั รืน  เป็ น ทีสัง เกตว่ า มีล ก ษณะของสระใหญ่ นี มีค วามโค้ง จากทิศ ตะวัน ออกเฉี ย งใต้ไ ปยัง ทิศ ั ตะวันออกเฉียงเหนือ  มีสภาพคล้ายๆกับคูเมืองโบราณทําให้น่าทีจะสันนิษฐานได้ว่าบริเวณ ปราสาทสระกําแพงน้อยแห่งนี  คงจะเป็ นชุมชนชายแดนโบราณแห่ งหนึงทีตกอยู่ภายใต้อทธิพล ิ ของขอม  และเป็นชุมชนทีมีอายุยนยาวมานานพอสมควรทีเดียว ื                ประวัติความเป็ นมา สันนิษฐานว่าปราสาทสระกําแพงน้อยคงจะสร้างในราวพุทธศตวรรษที    ในรัชสมัยของ พระเจ้าชัยวรมันที    แห่งอาณาจักรนครหลวง  (นครธม)  และเป็นศิลปะแบบบายน ตามพงศาวดารเขรมกล่ า วว่ า  พระชัย วรมัน ที    ทรงเป็ น พระราชโอรสของพระเจ้า ธรณินวรมันที   ครองราชย์อยู่ระหว่าง  พ.ศ.  ทรงได้รบการยกย่องว่าเป็ นกษัตริย์ ั นักธรรมและนักสร้าง ในสมัยของพระเจ้าสุรยวรมันที    ผูทรงสร้างปราสาทนครวัด  พระองค์ได้ เคยแผ่พระราช ิ ้ อํานาจและอาณาเขตไปยังอาณาจัก รจํา ปา  จนในทีสุ ด อาณาจักรจําปาได้ถู กผนวกเข้าเป็ น ดินแดนส่วนหนึงของขอมเมือปี  พ.ศ.    นอกจากนียังมีหลักฐานแสดงว่าพระองค์ได้แผ่อาณา เขตและบุญญาบารมีมาทางตะวันตกถึงลํานํ ามูลและละโว้  แล้วข้ามไปจรดเขตของอาณาจักร พุกามในพม่า  ส่วนทางทิศใต้จดไชยา  แต่ครันเมือกษัตริย์องค์นีสวรรณคตไปแล้ว  อํานาจของ ขอมครองอาณาจักรขอมก็เริมเสือมลงจนกระทังล่วงมาอีกหนึงรัชกาล  พวกจามก็ยดเขรมได้   ึ