SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 27
[object Object]
[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],จาก   A-NET 2550
[object Object],[object Object]
การเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งกับอีกสิ่งหนึ่ง
การใช้ถ้อยคำเพื่อให้เกิดภาพวิธีนี้มีการเปลี่ยนแปลงความหมายพื้นฐานของคำ  โดยการเปรียบเทียบของสิ่งหนึ่งกับอีกสิ่งหนึ่งในลักษณะต่างๆ ดังนี้ ๑ .   อุปลักษณ์   คือ การเปรียบเทียบของสิ่งหนึ่งว่าเป็นหรือคืออีกสิ่งหนึ่งโดยตรง โดยใช้กริยาอาศัยส่วนเติมเต็ม  เป็น  คือ  ใช่  เท่า  ต่าง  บางทีภาพพจน์แบบอุปลักษณ์กล่าวถึงสิ่งที่นำมาเปรียบเทียบทันทีโดยปริยายไม่มีคำกริยาดังกล่าว   จงตั้งเอากายเจ้า เป็น สำเภาอันโสภา ความเพียร เป็น โยธา แขนซ้ายขวา เป็น เสาใบ นิ้ว เป็น สายรยางค์ สองเท้า ต่าง เสมอใหญ่ ปาก เป็น นายงานไป อัธยาศัย เป็น เสบียง สติ เป็น หางเสือ ถือท้ายเรือไว้ให้เที่ยง ถือไว้อย่าให้เอียง ตัดลัดเลี่ยมข้ามคงคา ( ดรุณศึกษา เล่ม ๓ )
ครืนครืน ใช่ ฟ้าร้อง เรียมครวญ หึ่งหึ่ง ใช่ ลมหวน พี่ให้ ฝนตก ใช่ ฝนนวล พี่ทอด  ใจนา ร้อน ใช่ ร้อนไฟไหม้   พี่ร้อนกลกาม   ( ตำนานศรีปราชญ์  :   พระยาปริยัติธรรมธาดา  ( แพ ) )   สารสยามภาคพร้อง กลกานท์  นี้ฤา คือ คู่มาลาสวรรค์ ช่อช้อย เบญญาพิศาลแสดง เดิมเกียรติ  พระฤา คือ คู่ไหมแสร้งร้อย กึ่งกลาง   ( ลิลิตยวนพ่าย )
  กลางคืนคอย เป็น ควันอั้นอัดไว้ ครั้นกลางวันก็ เป็น ไฟไปทุกอย่าง ร่างกายถูกผูกพันสรรพางค์ เป็น สื่อกลางแก่ใจรับใช้การ ( วารีดุริยางค์   :   เนาวรัตน์  พงษ์ไพบูลย์ )   ตะปูดอกใหญ่ตรึ้ง บาทา  อยู่เฮย จึ่งบ่อาจลีลา คล่องได้ เชิญผู้ที่เมตตา แก่สัตว์  ปวงแฮ ชักตะปูนี้ให้ ส่งข้าอัญขยม ( ขัตติยพันธกรณี  :   รัชการที่ ๕ ) คำ  ตะปู  เป็นอุปลักษณ์  ในความหมายเปรียบเป็นพระประชวรหรือความเจ็บปวดในพระทัยโดยปริยาย ไม่มีคำกริยาเป็น  เช่นอุปลักษณ์ทั่วไปหรือไม่มีคำเชื่อมแสดงอุปมาประกอบ
๒ .  อุปมา   คือ การเปรียบเทียบว่าสิ่งหนึ่งเหมือนกับอีกสิ่งหนึ่ง  โดยใช้คำเชื่อมซึ่งมีความหมายเดียวกับ  เหมือน คำเชื่อมดังกล่าว  เช่น กล  คล้าย  เฉก  เปรียบเหมือน เสมือน  ประดุจ  ประหนึ่ง  ปาน  ปูน  เพียง  ราว  ราวกับ   ชีวิตสังขารมนุษย์ไม่ยั่งยืนยาว เหมือน เหล็ก เหมือน ศิลา   ความชั่วนั้นคงจะปรากฏเป็นโทษติดตัวเ หมือน เงาตามหลังอยู่ไม่ขาด ท่านมีรอยปิดทองคำเปลวแผ่นเล็กๆ ระกะไปราวกับพระพุทธรูปโบราณที่คนบนบาน ( พระครูวัดฉลอง  :   สมเด็จฯกรมพระยาดำรงราชานุภาพ )
กรุงกษัตริย์ขอขึ้นก็นับร้อย เราเป็นเมืองน้อยกระจิหริด ดั่งหิ่งห้อยจะแข่งแสงอาทิตย์ เห็นผิดระบอบบุราณมา ( อิเหนา  :   รัชกาลที่ ๒ ) พันลึกล่มลั่นฟ้า เฉกอสุนีผ่าหล้า แหล่งเพี้ยงพกพัง แลนา   ( ลิลิตตะเลงพ่าย  :   สมเด็จฯกรมพระปรมานุชิตชิโนรส ) คุณแม่หนาหนักเพี้ยง พสุธา คุณบิดรดุจอา - กาศกว้าง คุณพี่พ่างศิขรา เมรุมาศ คุณพระอาจารย์อ้าง อาจสู้สาคร   ( โลกนิติคำโคลง  :   สมเด็จฯกรมพระยาเดชาดิศร )
[object Object],๓ . นามนัย
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ตัวอย่างการใช้คำ ,[object Object],[object Object]
ตัวอย่างการใช้คำ ,[object Object]
ความหมายของอุปมานิทัศน์ ,[object Object],๔ .  อุปมานิทัศน์
ตัวอย่างการใช้อุปมานิทัศน์ ,[object Object]
[object Object]
๕ .  ปฏิพากย์  ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
๖ . สัญลักษณ์ สัญลักษณ์  คือ  การเปรียบเทียบโดยใช้สิ่งหนึ่งแทนสิ่งหนึ่ง  ซึ่งมีคุณสมบัติหรือลักษณะบางอย่างร่วมกัน
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
สัญลักษณ์ที่นิยมใช้กันทั่วไป   เช่น สีขาว แทนความบริสุทธิ์  ความไร้เดียงสา สีดำ แทนความตาย  ความโศก  ความชั่วร้าย ดอกมะลิ แทนความบริสุทธิ์  ความยินดี ดอกกุหลาบ แทนความรักของหนุ่มสาว ดอกบานไม่รู้โรย แทนความมั่นคง  ความยั่งยืน ผึ้ง  มด แทนความขยันขันแข็ง  ความอุตสาหะ เมฆ  หมอก แทนอุปสรรค  ความเศร้า
ฝน แทนความชุ่มฉ่ำ  ความเมตตากรุณา รุ่งอรุณ แทนความแจ่มใส  การเริ่มต้น หญ้าแพรก ดอกมะเขือ แทนสติปัญญา  ความงอกงาม สุนัขจิ้งจอก แทนคนเจ้าเล่ห์ ลา แทนคนโง่  นกขมิ้น แทนคนเร่ร่อนพเนจร
อาจเป็นการกล่าวเกินจริง   ( อติพจน์ )   หรือการกล่าวน้อยกว่าความจริง ( อวพจน์ )  การกล่าวเกินจริงเป็นการเปรียบเทียบให้เห็นหนักแน่นชัดเจน กระทบความรู้สึกยิ่งขึ้น  และสามารถแสดงความรู้สึกของกวีได้อย่างชัดเจน  ๗ .  การกล่าวผิดความเป็นจริง
ตัวอย่างอติพจน์ เช่น ร้องไห้จนน้ำตาเป็นสายเลือด  การบินไทยรักคุณเท่าฟ้า  รอไปชาติหน้า  เราบินข้ามโลกมาชั่วลัดนิ้วมือเดียว
ตราบขุนคิริข้น ขาดสลาย แลแม่ รักบ่หายตราบหาย หกฟ้า สุริยจันทรขจาย จากโลก ไปฤๅ ไฟแล่นล้างสี่หล้า ห่อนล้างอาลัย

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาPiyarerk Bunkoson
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfssuser2feafc1
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4Itt Bandhudhara
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...Decha Sirigulwiriya
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก Jeerapob Seangboonme
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5SAM RANGSAM
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานSAKANAN ANANTASOOK
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 

Mais procurados (20)

เล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทานเล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทาน
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
 
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
 

Destaque (6)

ความงามกับภาษา
ความงามกับภาษาความงามกับภาษา
ความงามกับภาษา
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
การโต้วาที
การโต้วาทีการโต้วาที
การโต้วาที
 
วิถีไทย
วิถีไทยวิถีไทย
วิถีไทย
 
sapphanamracha
sapphanamrachasapphanamracha
sapphanamracha
 
Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์
 

Semelhante a โวหาร

นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)Prasit Koeiklang
 
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วงสัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วงChinnakorn Pawannay
 
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา solarcell2
 
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนาสสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนาPunya Benja
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีRuangrat Watthanasaowalak
 
ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์
ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์
ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์Prasit Koeiklang
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์krudow14
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2Wataustin Austin
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2Tongsamut vorasan
 
บาลี 13 80
บาลี 13 80บาลี 13 80
บาลี 13 80Rose Banioki
 
ฉันทศาสตร์ 2
ฉันทศาสตร์ 2ฉันทศาสตร์ 2
ฉันทศาสตร์ 2tayanon
 

Semelhante a โวหาร (20)

Thai1
Thai1Thai1
Thai1
 
นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)
 
ภาษากับการคิด
ภาษากับการคิดภาษากับการคิด
ภาษากับการคิด
 
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วงสัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
 
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
 
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนาสสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดี
 
ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์
ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์
ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์
 
งานด่วน
งานด่วนงานด่วน
งานด่วน
 
งานด่วน
งานด่วนงานด่วน
งานด่วน
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
 
คำนำทำ1
คำนำทำ1คำนำทำ1
คำนำทำ1
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
 
บาลี 13 80
บาลี 13 80บาลี 13 80
บาลี 13 80
 
ฉันทศาสตร์ 2
ฉันทศาสตร์ 2ฉันทศาสตร์ 2
ฉันทศาสตร์ 2
 
ชนิดของคำ
ชนิดของคำชนิดของคำ
ชนิดของคำ
 

Mais de maerimwittayakom school (16)

กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 5
บทที่ 5 บทที่ 5
บทที่ 5
 
จัดทำและนำเสนอ
จัดทำและนำเสนอจัดทำและนำเสนอ
จัดทำและนำเสนอ
 
โครงงานคืออะไร
โครงงานคืออะไรโครงงานคืออะไร
โครงงานคืออะไร
 
นำสู่การปฏิบัติ2
นำสู่การปฏิบัติ2นำสู่การปฏิบัติ2
นำสู่การปฏิบัติ2
 
ปก
ปกปก
ปก
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3 บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 1 แก้
บทที่ 1 แก้บทที่ 1 แก้
บทที่ 1 แก้
 
เสียงของคำ
เสียงของคำเสียงของคำ
เสียงของคำ
 
โครงงานเชิงประพันธ์
โครงงานเชิงประพันธ์โครงงานเชิงประพันธ์
โครงงานเชิงประพันธ์
 
โครงงานเชิงประพันธ์
โครงงานเชิงประพันธ์โครงงานเชิงประพันธ์
โครงงานเชิงประพันธ์
 
ประเภทของโครงงาน
ประเภทของโครงงานประเภทของโครงงาน
ประเภทของโครงงาน
 
Social media
Social mediaSocial media
Social media
 

โวหาร

  • 1.
  • 2.
  • 3.
  • 4.
  • 5.
  • 6.
  • 8. การใช้ถ้อยคำเพื่อให้เกิดภาพวิธีนี้มีการเปลี่ยนแปลงความหมายพื้นฐานของคำ โดยการเปรียบเทียบของสิ่งหนึ่งกับอีกสิ่งหนึ่งในลักษณะต่างๆ ดังนี้ ๑ . อุปลักษณ์ คือ การเปรียบเทียบของสิ่งหนึ่งว่าเป็นหรือคืออีกสิ่งหนึ่งโดยตรง โดยใช้กริยาอาศัยส่วนเติมเต็ม เป็น คือ ใช่ เท่า ต่าง บางทีภาพพจน์แบบอุปลักษณ์กล่าวถึงสิ่งที่นำมาเปรียบเทียบทันทีโดยปริยายไม่มีคำกริยาดังกล่าว จงตั้งเอากายเจ้า เป็น สำเภาอันโสภา ความเพียร เป็น โยธา แขนซ้ายขวา เป็น เสาใบ นิ้ว เป็น สายรยางค์ สองเท้า ต่าง เสมอใหญ่ ปาก เป็น นายงานไป อัธยาศัย เป็น เสบียง สติ เป็น หางเสือ ถือท้ายเรือไว้ให้เที่ยง ถือไว้อย่าให้เอียง ตัดลัดเลี่ยมข้ามคงคา ( ดรุณศึกษา เล่ม ๓ )
  • 9. ครืนครืน ใช่ ฟ้าร้อง เรียมครวญ หึ่งหึ่ง ใช่ ลมหวน พี่ให้ ฝนตก ใช่ ฝนนวล พี่ทอด ใจนา ร้อน ใช่ ร้อนไฟไหม้ พี่ร้อนกลกาม ( ตำนานศรีปราชญ์ : พระยาปริยัติธรรมธาดา ( แพ ) ) สารสยามภาคพร้อง กลกานท์ นี้ฤา คือ คู่มาลาสวรรค์ ช่อช้อย เบญญาพิศาลแสดง เดิมเกียรติ พระฤา คือ คู่ไหมแสร้งร้อย กึ่งกลาง ( ลิลิตยวนพ่าย )
  • 10. กลางคืนคอย เป็น ควันอั้นอัดไว้ ครั้นกลางวันก็ เป็น ไฟไปทุกอย่าง ร่างกายถูกผูกพันสรรพางค์ เป็น สื่อกลางแก่ใจรับใช้การ ( วารีดุริยางค์ : เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ) ตะปูดอกใหญ่ตรึ้ง บาทา อยู่เฮย จึ่งบ่อาจลีลา คล่องได้ เชิญผู้ที่เมตตา แก่สัตว์ ปวงแฮ ชักตะปูนี้ให้ ส่งข้าอัญขยม ( ขัตติยพันธกรณี : รัชการที่ ๕ ) คำ ตะปู เป็นอุปลักษณ์ ในความหมายเปรียบเป็นพระประชวรหรือความเจ็บปวดในพระทัยโดยปริยาย ไม่มีคำกริยาเป็น เช่นอุปลักษณ์ทั่วไปหรือไม่มีคำเชื่อมแสดงอุปมาประกอบ
  • 11. ๒ . อุปมา คือ การเปรียบเทียบว่าสิ่งหนึ่งเหมือนกับอีกสิ่งหนึ่ง โดยใช้คำเชื่อมซึ่งมีความหมายเดียวกับ เหมือน คำเชื่อมดังกล่าว เช่น กล คล้าย เฉก เปรียบเหมือน เสมือน ประดุจ ประหนึ่ง ปาน ปูน เพียง ราว ราวกับ ชีวิตสังขารมนุษย์ไม่ยั่งยืนยาว เหมือน เหล็ก เหมือน ศิลา ความชั่วนั้นคงจะปรากฏเป็นโทษติดตัวเ หมือน เงาตามหลังอยู่ไม่ขาด ท่านมีรอยปิดทองคำเปลวแผ่นเล็กๆ ระกะไปราวกับพระพุทธรูปโบราณที่คนบนบาน ( พระครูวัดฉลอง : สมเด็จฯกรมพระยาดำรงราชานุภาพ )
  • 12. กรุงกษัตริย์ขอขึ้นก็นับร้อย เราเป็นเมืองน้อยกระจิหริด ดั่งหิ่งห้อยจะแข่งแสงอาทิตย์ เห็นผิดระบอบบุราณมา ( อิเหนา : รัชกาลที่ ๒ ) พันลึกล่มลั่นฟ้า เฉกอสุนีผ่าหล้า แหล่งเพี้ยงพกพัง แลนา ( ลิลิตตะเลงพ่าย : สมเด็จฯกรมพระปรมานุชิตชิโนรส ) คุณแม่หนาหนักเพี้ยง พสุธา คุณบิดรดุจอา - กาศกว้าง คุณพี่พ่างศิขรา เมรุมาศ คุณพระอาจารย์อ้าง อาจสู้สาคร ( โลกนิติคำโคลง : สมเด็จฯกรมพระยาเดชาดิศร )
  • 13.
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19.
  • 20.
  • 21. ๖ . สัญลักษณ์ สัญลักษณ์ คือ การเปรียบเทียบโดยใช้สิ่งหนึ่งแทนสิ่งหนึ่ง ซึ่งมีคุณสมบัติหรือลักษณะบางอย่างร่วมกัน
  • 22.
  • 23. สัญลักษณ์ที่นิยมใช้กันทั่วไป เช่น สีขาว แทนความบริสุทธิ์ ความไร้เดียงสา สีดำ แทนความตาย ความโศก ความชั่วร้าย ดอกมะลิ แทนความบริสุทธิ์ ความยินดี ดอกกุหลาบ แทนความรักของหนุ่มสาว ดอกบานไม่รู้โรย แทนความมั่นคง ความยั่งยืน ผึ้ง มด แทนความขยันขันแข็ง ความอุตสาหะ เมฆ หมอก แทนอุปสรรค ความเศร้า
  • 24. ฝน แทนความชุ่มฉ่ำ ความเมตตากรุณา รุ่งอรุณ แทนความแจ่มใส การเริ่มต้น หญ้าแพรก ดอกมะเขือ แทนสติปัญญา ความงอกงาม สุนัขจิ้งจอก แทนคนเจ้าเล่ห์ ลา แทนคนโง่ นกขมิ้น แทนคนเร่ร่อนพเนจร
  • 25. อาจเป็นการกล่าวเกินจริง ( อติพจน์ ) หรือการกล่าวน้อยกว่าความจริง ( อวพจน์ ) การกล่าวเกินจริงเป็นการเปรียบเทียบให้เห็นหนักแน่นชัดเจน กระทบความรู้สึกยิ่งขึ้น และสามารถแสดงความรู้สึกของกวีได้อย่างชัดเจน ๗ . การกล่าวผิดความเป็นจริง
  • 26. ตัวอย่างอติพจน์ เช่น ร้องไห้จนน้ำตาเป็นสายเลือด การบินไทยรักคุณเท่าฟ้า รอไปชาติหน้า เราบินข้ามโลกมาชั่วลัดนิ้วมือเดียว
  • 27. ตราบขุนคิริข้น ขาดสลาย แลแม่ รักบ่หายตราบหาย หกฟ้า สุริยจันทรขจาย จากโลก ไปฤๅ ไฟแล่นล้างสี่หล้า ห่อนล้างอาลัย