SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 49
Baixar para ler offline
ความรูเบื้องตนเกี่ยวกบเอกสารจดหมายเหตุ
                                   ั
                        และจดหมายเหตุดิจิทลั
                                ราชบดินทร สุวรรณคัณฑิ
                   ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ




http://www.slideshare.net/rachabodin
เอกสารจดหมายเหตุคืออะไร?

เอกสารจดหมายเหตุ หมายถึง ขอมูลทุกรูปแบบที่หนวยงานผลิตขึ้น
ใชในการปฏิบัติงาน แตสิ้นกระแสการปฏิบัติงานแลว และไดรับการ
ประเมินวามีคุณคาในฐานะเปนขอมูลชั้นตนที่แสดงถึงการดําเนินงาน
และพัฒนาการของหนวยงานนั้น ๆ ซึ่งมีความสําคัญตอ
ประวัติศาสตรของประเทศ ทั้งนี้หมายรวมถึงเอกสารสวนบุคคลที่รับ
มอบจากบุคคลสําคัญหรือทายาทดวย


 คูมือการอนุรกษเอกสารจดหมายเหตุ : การอนุรกษเอกสารจดหมายเหตุโดยการแปลงรูปแบบขอมูลเขาสูระบบดิจิตอล, กรมศิลปากร, ๒๕๕๑
              ั                            ั                                                                               2
หนวยงานจดหมายเหตุ และ หอจดหมายเหตุ

• หนวยงานจดหมายเหตุ (Archival Agency) หมายถึง หนวยงานทีมี
                                                          ่
  หนาที่ในการรวบรวม จัดเก็บ สงวนรักษา และใหบริการเอกสาร
  จดหมายเหตุ
• หอจดหมายเหตุ (Archival Repository) หมายถึง อาคารที่เก็บ
  รักษาเอกสารจดหมายเหตุ



   ที่มา - หอจดหมายเหตุแหงชาติ, กรมศิลปากร                 3
ประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ
                              เอกสารจดหมายเหตุประเภทลายลักษณอักษร
                                       (Textual Archives)

                                            เอกสารโสตทัศนจดหมายเหตุ
                                            (Audio – Visual Archives)

                                เอกสารจดหมายเหตุประเภทแผนที่ แผนผัง
                                      (Cartographic Archives)

                              เอกสารจดหมายเหตุประเภทวัสดุคอมพิวเตอร
                                 (Machine - Readable Archives)
คูมือการอนุรกษเอกสารจดหมายเหตุ : การอนุรกษเอกสารจดหมายเหตุโดยการแปลงรูปแบบขอมูลเขาสูระบบดิจิตอล, กรมศิลปากร, ๒๕๕๑
             ั                            ั                                                                               4
การบริหารเอกสารจดหมายเหตุ



                                               การจัด
                                            หมวดหมู่ และ                     การเผยแพร่
การรับมอบ                  การประเมิน
                                                การทา   ํ      การอนุรักษ์     และการ
  จัดหา                      คุณค่ า
                                            เคร่ ื องมือช่วย                  ให้บริการ
                                             ในการค้ นหา




 ที่มา - หอจดหมายเหตุแหงชาติ, กรมศิลปากร                                            5
ความสําคัญของเอกสารจดหมายเหตุ
1.       ใชเปนหลักฐานอางอิงการปฏิบัติงาน และพัฒนาการของ
         หนวยงาน เชน ประวัติการจัดตั้งหนวยงาน นโยบาย โครงการ
         และกิจกรรมที่เคยปฏิบัติ ฯลฯ
2.       เปนประโยชนตอความมั่นคงของชาติ เชน เอกสารที่เกี่ยวของกับ
         เขตแดน
3.       เปนประโยชนดานการคุมครองสิทธิ์ เชน เอกสารเกี่ยวกับที่ดิน
4.       ใชเปนหลักฐานอางอิงเพื่อการศึกษา คนควา วิจัยในดานตางๆ
         ทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม รวมทั้งการศึกษาถึง
         เหตุการณที่เกิดขึ้นในทองถิ่นตางๆ
     ที่มา - หอจดหมายเหตุแหงชาติ, กรมศิลปากร                     6
ปญหาสําคัญของเอกสารจดหมายเหตุ

เอกสาร หนังสือ สิ่งพิมพ และโสตทัศนวัสดุ สวนใหญทําจาก
อินทรียวัตถุ ไดแก กระดาษ ผา หนัง พลาสติก ฯลฯ อินทรียวัตถุ
เหลานี้ไมคงทนเกิดการเปลี่ยนแปลงอันนําไปสูการชํารุดเสียหายได
งาย เชน กระดาษมักเปอยกรอบ หนังที่ใชในการทําปกหนังสือ หรือ
ปกแฟมมักออนยุย ผุเปนผง พลาสติกมักบิดงอ เสียรูปทรง มีสี
เปลี่ยนไป มีลักษณะเปนฝามัวหรือทึบแสงมากกวาเดิม แตกหัก

 คูมือการอนุรกษเอกสารจดหมายเหตุ : การอนุรกษเอกสารจดหมายเหตุโดยการแปลงรูปแบบขอมูลเขาสูระบบดิจิตอล, กรมศิลปากร, ๒๕๕๑
              ั                            ั                                                                               7
สาเหตุที่ทําใหเกิดการเสื่อมสภาพของเอกสารจดหมายเหตุ

• สาเหตุภายใน
• สาเหตุภายนอก
  - มนุษย                                    - อุณหภูมิ
  - น้ําและความชืน
                 ้                            - แสงสวาง
  - แมลง                                      - จุลินทรีย
  - สัตวอื่นๆ                                - กาซตางๆ ในบรรยากาศ
  - ฝุนละออง


  คูมือการอนุรกษเอกสารจดหมายเหตุ : การอนุรกษเอกสารจดหมายเหตุโดยการแปลงรูปแบบขอมูลเขาสูระบบดิจิตอล, กรมศิลปากร, ๒๕๕๑
               ั                            ั                                                                               8
การอนุรักษเอกสาร

• การปองกัน (Prevention) เปนวิธีการชะลอการชํารุดหรือ
  เสื่อมสภาพที่จะเกิดขึ้นกับเอกสาร
• การปฏิบัติการอนุรักษ (Conservation Treatment) เปนวิธีการที่
  นํามาเพื่อแกไขปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นกับเอกสาร โดยการกําจัด
  ปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นออกไปใหหมด แลวซอมแซมหรือเสริมสราง
  ใหกลับคืนสูสภาพเดิมหรือใกลเคียงสภาพเดิมมากที่สุด


   คูมือการอนุรกษเอกสารจดหมายเหตุ : การอนุรกษเอกสารจดหมายเหตุโดยการแปลงรูปแบบขอมูลเขาสูระบบดิจิตอล, กรมศิลปากร, ๒๕๕๑
                ั                            ั                                                                               9
การอนุรักษเอกสารโดยการแปลงรูปแบบขอมูล

การอนุรักษเอกสารโดยการแปลงรูปแบบขอมูล (Preservation
Reformatting) คือ การแปลงรูปแบบขอมูล เปนการถายทอด
เนื้อหาของเอกสารจากวัสดุดั้งเดิมไปบันทึกยังวัสดุรูปแบบใหมเพื่อ
การอนุรักษเอกสารใหมีอายุยืนยาว




 คูมือการอนุรกษเอกสารจดหมายเหตุ : การอนุรกษเอกสารจดหมายเหตุโดยการแปลงรูปแบบขอมูลเขาสูระบบดิจิตอล, กรมศิลปากร, ๒๕๕๑
              ั                            ั                                                                               10
รูปแบบของการอนุรักษเอกสารโดยการแปลงรูปแบบขอมูล
รูปแบบที่ 1

                 กระดาษ                                                                         ฟลม



รูปแบบที่ 2
           กระดาษ ฟลม
                                                                                            สื่อดิจิทัล
             วัสดุอื่นๆ


  คูมือการอนุรกษเอกสารจดหมายเหตุ : การอนุรกษเอกสารจดหมายเหตุโดยการแปลงรูปแบบขอมูลเขาสูระบบดิจิตอล, กรมศิลปากร, ๒๕๕๑
               ั                            ั                                                                               11
เอกสารจดหมายเหตุดจิทัล
                                 ิ

เอกสารจดหมายเหตุดิจิทัล คือ เอกสารจดหมายเหตุ ที่ถูกแปลงจาก
ตนฉบับ ในรูปแบบตางๆ เชน เอกสารในรูปแบบของกระดาษ
ภาพนิ่ง วิดีโอ เทปเสียง ฟลม ไมโครฟลม ฯลฯ ใหอยูในรูปแบบของ
ขอมูลดิจิทัล




                                                            12
ประโยชนของเอกสารจดหมายเหตุดิจิทัล
           ชวยในการอนุรักษขอมูลสําคัญ โดยลดการใชงานขอมูล
                              
อนุรักษ   ตนฉบับที่ออนไหวตอการถูกทําลาย เสี่ยงตอการ
           เสียหาย หรือสูญหายจากการเขาถึงไดโดยตรงจากผูใช
                                        

           ชวยใหเจาของขอมูล มีเครื่องมือชวยในการบริหาร
จัดการ     จัดการขอมลจํานวนมากอยางเปนระบบ ชวยในการ
                       ู                    
           แลกเปลี่ยน หรือเผยแพรขอมูลผานอินเทอรเน็ต
                                              

           เปนแหลงเรียนรูดวยตนเองตลอดชีวิต 7 วัน 24 ชั่วโมง
เรียนรู   สําหรับทุกคน โดยบรรจุองคความรูที่สําคัญทาง
           ประวัติศาสตร ศิลปะ วัฒนธรรม ภูมิปญญาบรรพบุรุษ

                                                                  13
รูปแบบขอมูลเอกสารจดหมายเหตุดิจิทัล

• Digital Images
  - JPG
• Digital Video
  – CD Video, DVD Video, Portable Video
• Digital Sound / Digital Music
  - MP3, MP4
• Digital Document
  - PDF, Word Document
 .
                                               14
ตัวอยางสมุดบันทึกทานพุทธทาสฉบับดิจิทัล




.
                                               15
เทคโนโลยีที่เกี่ยวของกับจดหมายเหตุดิจิทัล


      เทคโนโลยีสารสนเทศ         +    เทคโนโลยีการสื่อสาร


    - เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส       - เครือขายอินเทอรเน็ต
    - เทคโนโลยีคอมพิวเตอร          - เครือขายสังคม
        - Hardware                    (Social Network)
        - Software

.
                                                              16
เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอร



       Digital Camera


                                        Computer Set


    Scanner
.
                        Digital Media Player           17
เทคโนโลยีอินเทอรเน็ตและเครือขายสังคม

• เครือขายอินเทอรเน็ต เปนเทคโนโลยีที่ทํา
  ใหเกิดการเชื่อมโยงคอมพิวเตอรทั่วโลก
• เครือขายสังคม (Social Network) ปน
  เทคโนโลยีที่ทําใหเกิดการเชื่อมโยงคนที่อยู
  บนเครือขายอินเทอรเน็ตเขาดวยกัน เชน
  Hi5, Facebook, MySpace ฯลฯ

                                                    18
ทําไมตองใชเทคโนโลยีในการจัดทําจดหมายเหตุดิจิทัล
• สามารถสืบคนขอมูลไดอยางรวดเร็ว ถูกตอง ตรงกับความตองการ
• สามารถจัดการกับขอมูลจํานวนมากไดอยางมีประสิทธิภาพ
• ขยายของเขตของการใชงาน หรือการเขาถึงขอมูลใหสามารถใช
      งานหรือเขาถึงไดในวงกวาง




  .
                                                           19
กรณีศึกษา
การพัฒนาเอกสารจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปญโญ
ในรูปแบบดิจิทัล
พระพุทธทาสภิกขุ (พุทธทาส อินทปญโญ)
พุทธทาสภิกขุ หรือพระธรรมโกศาจารย
นามเดิม เงื่อม พานิช เกิดเมื่อวันอาทิตย
ที่ ๒๗ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๔๙ ณ บาน
กลาง ต.พุมเรียง อ.ไชยา จ.สุราษฎรธานี
อปสมบทเมื่อวนที่ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ.
 ุ          ั
๒๔๖๗ สําเร็จการศึกษาชั ้น น.ธ.เอก,
ป.ธ.๓
                                                          21
ที่มา - http://www.dhammathai.org/sounds/buddhadasa.php
พระพุทธทาสภิกขุ (พุทธทาส อินทปญโญ)
กอตั้งสวนโมกขพลาราม ที่ อ.ไชยา เมื่อ
วันที่ ๑๒ พ.ค. ๒๔๗๕ และหันมาใช
นามปากกา "พุทธทาส" แทนนามเดิมนับ
แตนั้นมา ทานพุทธทาสภิกขุอุทิศตนเผย
แผพระพุทธศาสนาจนกระทั่งถึงแกมร
ภาพอยางสงบ ณ สวนโมกขพลาราม เมื่อ
วันที่ ๘ ก.ค. ๒๕๓๖
                                                           22
 ที่มา - http://www.dhammathai.org/sounds/buddhadasa.php
พระพุทธทาสภิกขุ (พุทธทาส อินทปญโญ)
                                       คําสอนอันโดดเดนของทานคือเรื่อง "การ
                                        ปลอยวาง" ผลงานอันยิ่งใหญของทานคือ
                                        งานนิพนธชุด "ธรรมโฆษณ" และงาน
                                        นิพนธอีกไมนอยกวา ๓๕๐ เลม
                                        ตลอดเวลาที่มีชีวิตอยู ทานพุทธทาสภิกขุ
                                        ไดรับการสดุดีวาเปน มหาปราชญแหง
                                        พุทธธรรมทางบูรพาทิศ
                                                                           23
ที่มา - http://www.dhammathai.org/sounds/buddhadasa.php
โครงการพัฒนาหอจดหมายเหตุดิจิทัล

       มูลนิธิหอจดหมายเหตุ
       พุทธทาส อินทปญโญ
                +
    ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส
      และคอมพิวเตอรแหงชาติ
 ระยะเวลาของโครงการ: 2551 – 2553

                                   24
วัตถุประสงคของโครงการ

• เพื่อดําเนินการสํารวจ จัดหมวดหมู แปลงขอมูลเอกสารจดหมายเหตุ
  พุทธทาส อินทปญโญ ใหอยูในรูปแบบขอมูลดิจิทัล
• เพื่อวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี ที่เกี่ยวของกับการแปลงขอมูล และ
  เทคโนโลยีในการสรางคลังเอกสารจดหมายเหตุดิจิทัล เพื่อการอนุรักษ
  จัดการ และเผยแพรขอมูลประวัติ ผลงาน คําสอน หรือคติธรรมของ
  ทานพุทธทาสไปสูสาธารณะ โดยใชเทคโนโลยีสมัยใหม


                                                              25
ผลงานตนฉบับ




หนังสือ บันทึก เอกสารลายมือ
                              26
ผลงานตนฉบับ




เอกสารจากพิมพดีด   27
                    27
ผลงานตนฉบับ




ภาพจิตรกรรมฝาผนังในโรงมหรสพทางวิญญาณ
                                       28
ผลงานตนฉบับ




ประติมากรรม
               29
ผลงานตนฉบับ




เทปเสียงและวิดีโอ
                    30
ขอบเขตของขอมูลในหอจดหมายเหตุฯ
             แหลงรวบรวม และอนุรักษผลงานตนฉบับของทานพุทธทาส
                            ภาพ                             เสียงและโสตทัศน
                        ๔,๐๘๓ รายการ                            ๒๓๔ แผน
                        (๕๑,๓๐๐ ชิ้น)                           ๑,๙๐๐ GB

หนังสือ บันทึก ลายมือ
       ตนฉบับ
 ๑๘,๕๖๕ รายการ                                                                 วัสดุอื่นๆ
 (๕๗๕,๐๐๐ หนา)


                                           หอจดหมายเหตุ
                                        พุทธทาส อินทปญโญ




                                                                                            31
แนวทางในการดําเนินงาน
                                                           ผลงานตนฉบับ


                                                         จัดทําทะเบียนควบคุม


                                                     กรรมวิธีอนุรกษตนฉบับ
                                                                 ั
                                                    ตามหลกจดหมายเหตุสากล
                                                         ั


                   การจัดเก็บตนฉบับ                                                 การจดเกบในรูปแบบดิจิตอล
                                                                                         ั ็

 การจัดเตรียมสถานที่เก็บที่ไดรับการควบคุมอุณหภูมิและ                  การจัดทําสําเนาดิจิตอล, ฐานขอมูลดิจิตอล และจัดเตรียม
  ความชื้น                                                               อุปกรณเก็บสําเนาดิจิตอล และ บุคลากรในการดูแลรักษา
 การจัดเก็บรักษาดวยอุปกรณมาตรฐานที่ใชในการจัดเก็บ                    และควบคุม
  จดหมายเหตุโดยเฉพาะ                                                    เก็บรายละเอียดขอมูลตามมาตรฐานจดหมายเหตุ ISAD

              ควบคุมดูแลทุกขั้นตอนโดยผูเชี่ยวชาญดานจดหมายเหตุและเทคโนโลยีสารสนเทศ
www.bia.or.th                   โดยจะเปนหอจดหมายเหตดิจิทัลที่สมบูรณ
                                                       ุ
                                                                                                                                 32
รูปแบบการใหบริการ
                                                       ผลงานตนฉบับ



                                                      ฐานขอมูลดิจิตอล
                              หอจดหมายเหตุ
                           พุทธทาส อินทปญโญ
   ผลงานการศึกษา                                         นิทรรศการ
 คนควาและเผยแผ
      พุทธธรรม
ที่ทานพุทธทาสทําไว                               กิจกรรมในการปฏิบัติธรรม
                                                          และเสวนา


                             ระบบอินเตอรเน็ต         ฐานขอมูลดิจิตอล



                                                      หนังสือ บทความ
                              สื่อสิ่งพิมพตางๆ
                                                   (ภาษาไทย/ตางประเทศ)

                                                                             33
กระบวนการในการจัดทําคลังเอกสารจดหมายเหตุดิจิทัล
                                            2.0
            1.0
                                วิเคราะห ออกแบบ หรือเลือก
    สํารวจและจัดหมวดหมู
                               มาตรฐานเมตะดาตาที่เหมาะสม

                                            3.0
                               แปลงขอมูลใหอยูในรูปแบบดิจิทล
                                                             ั
                               ลงทะเบียนในแบบฟอรมกระดาษ

                                             4.0
              5.0
                                เลือกหรือพัฒนาระบบลงทะเบียน
    ใชงาน เผยแพร ใหบริการ
                                  และลงทะเบียนในระบบดิจิทัล
                                                                 34
แผนการทํางานของโครงการ
        2008                              2009                         2010
                                           แปลงขอมูล
   สํารวจและจดหมวดหมู
             ั                                                   ลงทะเบียนขอมูลในระบบ
                                      ใหอยูในรูปแบบดิจิทัล



วิเคราะห สํารวจ เปรียบเทียบ
                                     ลงทะเบียนขอมูลในระบบ     เผยแพรขอมูลผานอินเทอรเน็ต
   และออกแบบเมตะดาตา



   ออกแบบ และพฒนา
                ั                        พฒนาระบบ
                                           ั                    พัฒนาศูนยใหบริการขอมูล
ระบบคลังเอกสารจดหมายเหตุ             “สวนโมกข ๓๖๐ องศา”             จดหมายเหตุ


   Preparation                         Archives                         Access
                                     Development                                               35
ความกาวหนาของโครงการ
• การแปลงขอมูลใหอยูในรูปแบบดิจิทัล
   – เอกสาร 80,000 หนา
   – เสียง 20,000 ชั่วโมง
• การพัฒนาเครื่องมือสําหรับการบริหารจัดการคลังขอมูลจดหมายเหตุ
   – ไดพัฒนาระบบ Digital Archives Management Software 1.0
• การเผยแพรขอมูลเอกสารจดหมายเหตุ
   – ระบบ “สวนโมกข ๓๖๐ องศา”
   – ระบบ “ระเบียงภาพปริศนาธรรมสามมิติ”

                                                             36
ผลผลิตของโครงการ (1)
              ขอกําหนดคุณลักษณะของขอมูลดิจิทัลในระบบ
                                    High Resolution     Low Resolution
Original Type Digitization Method
                                         Format             Format
Handwriting Scan by Flat-based .tif 300dpi            .jpg 72 dpi
Documents Scanner                 (5MB / File)        (<1MB / File)
              Recording to        .wav                .mp3 128 Kbps
Sound
              Computer            (80MB / File)       .flv
              Scan by Flat-based
Photo (paper)                     .tif 300dpi         .jpg 72 dpi
              Scanner
              Scan by Film
Photo (Slide)                     .tif 600dpi         .jpg 72 dpi
              Scanner
                                                                    37
ผลผลิตของโครงการ (2)
  ระบบ Digital Archives Management Software version 1.0
คุณสมบัติของระบบ
• Web-based Application (Managing and Accessing
  using web browser)
• Developed with Open-source Software
• ISAD(G) Metadata Compliant - General
  International Standard Archival Description
• Tool for Managing and Accessing Digital Archives
                                                          38
ผลผลิตของโครงการ (2)
Digital Archives Management Software version 1.0 Screenshot




                                                          39
ผลผลิตของโครงการ (3)
                    สวนโมกข ๓๖๐ องศา

คุณสมบัติของระบบ

• Web-based Virtual Reality Application

• Develop Panoramic VR using 2 Techniques

   – HDR Photography

   – Panorama Photography
                                            40
ผลผลิตของโครงการ (3)
 สวนโมกข ๓๖๐ องศา




                       41
ผลผลิตของโครงการ (3)
 สวนโมกข ๓๖๐ องศา




                       42
ผลผลิตของโครงการ (3)
 สวนโมกข ๓๖๐ องศา




                       43
ผลผลิตของโครงการ (4)
              ระเบียงภาพปริศนาธรรมสามมิติ
คุณสมบัติของระบบ
• Web-based Photo Archives
• Interaction using Curve Wall Interface
• Develop using 2 Technologies
   – XML
   – Action Script 3
                                            44
ผลผลิตของโครงการ (4)
ระเบียงภาพปริศนาธรรมสามมิติ




                              45
ผลผลิตของโครงการ (4)
       ระเบียงภาพปริศนาธรรมสามมิติ




watch image, read text and listen sound   46
งานในอนาคต
• แปลงขอมูลและลงทะเบียนขอมูลเพิ่มเติม
• พัฒนาคลังสื่อมัลติมีเดียทีรวบรวม เสียง วิดีโอ และภาพเคลื่อนไหว
                            ่
• ตอยอดพัฒนาระบบใหบริการผานอุปกรณชนิดอื่นๆ เชน มือถือ
  แท็บเล็ต
• พัฒนาศูนยใหบริการศึกษาวิจัยภายในหอจดหมายเหตุพุทธทาส
  อินทปญโญ
• พัฒนาระบบเขาถึงขอมูลโดยใชเทคโนโลยีสมัยใหม เชน Natural
  User Interface                                             47
สรุป
องคประกอบของการพัฒนาหอจดหมายเหตุดิจิทัล
   – เนื้อหา
      • Cataloging
      • Metadata Design and Knowledge Extraction
   – เทคโนโลยี
      • Information technology
      • Communication technology
   – บริการ
      • Online and Mobile Services
      • In house Services
                                                   48
ขอบคุณครับ
http://www.slideshare.net/rachabodin

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Technology for National Document Preservation
Technology for National Document PreservationTechnology for National Document Preservation
Technology for National Document PreservationRachabodin Suwannakanthi
 
Technologies for Modern Museums and Libraries
Technologies for Modern Museums and LibrariesTechnologies for Modern Museums and Libraries
Technologies for Modern Museums and LibrariesRachabodin Suwannakanthi
 
Libcampubon2 collection development for local information
Libcampubon2 collection development for local informationLibcampubon2 collection development for local information
Libcampubon2 collection development for local informationKindaiproject
 
20080218 Government Email Service Thaweesak
20080218 Government Email Service Thaweesak20080218 Government Email Service Thaweesak
20080218 Government Email Service ThaweesakThaweesak Koanantakool
 
Video on Demand System for Medical Applications
Video on Demand System for Medical ApplicationsVideo on Demand System for Medical Applications
Video on Demand System for Medical ApplicationsRachabodin Suwannakanthi
 

Mais procurados (20)

Personal Digital Archive Development
Personal Digital Archive DevelopmentPersonal Digital Archive Development
Personal Digital Archive Development
 
Technology For Museum
Technology For MuseumTechnology For Museum
Technology For Museum
 
Technology for National Document Preservation
Technology for National Document PreservationTechnology for National Document Preservation
Technology for National Document Preservation
 
Technologies for Modern Museums and Libraries
Technologies for Modern Museums and LibrariesTechnologies for Modern Museums and Libraries
Technologies for Modern Museums and Libraries
 
Wat Makutkasattriyaram e-museum
Wat Makutkasattriyaram e-museumWat Makutkasattriyaram e-museum
Wat Makutkasattriyaram e-museum
 
Digital Photo Archive
Digital Photo ArchiveDigital Photo Archive
Digital Photo Archive
 
digital law for GLAM
digital law for GLAMdigital law for GLAM
digital law for GLAM
 
20190220 digital-archives
20190220 digital-archives20190220 digital-archives
20190220 digital-archives
 
20180919 digital-collections
20180919 digital-collections20180919 digital-collections
20180919 digital-collections
 
20180828 digital-archives
20180828 digital-archives20180828 digital-archives
20180828 digital-archives
 
Electronic Museum
Electronic MuseumElectronic Museum
Electronic Museum
 
Libcampubon2 collection development for local information
Libcampubon2 collection development for local informationLibcampubon2 collection development for local information
Libcampubon2 collection development for local information
 
Rarebooks Preservation with ICT
Rarebooks Preservation with ICTRarebooks Preservation with ICT
Rarebooks Preservation with ICT
 
Digital Library for Thailand
Digital Library for ThailandDigital Library for Thailand
Digital Library for Thailand
 
Local Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How toLocal Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How to
 
20080218 Government Email Service Thaweesak
20080218 Government Email Service Thaweesak20080218 Government Email Service Thaweesak
20080218 Government Email Service Thaweesak
 
Video on Demand System for Medical Applications
Video on Demand System for Medical ApplicationsVideo on Demand System for Medical Applications
Video on Demand System for Medical Applications
 
LAM Code of conduct
LAM Code of conductLAM Code of conduct
LAM Code of conduct
 
Digital Standard & Web Policy
Digital Standard & Web PolicyDigital Standard & Web Policy
Digital Standard & Web Policy
 
Internet 2000
Internet 2000Internet 2000
Internet 2000
 

Destaque

Image Digitization with Scanning Technology
Image Digitization with Scanning TechnologyImage Digitization with Scanning Technology
Image Digitization with Scanning TechnologyRachabodin Suwannakanthi
 
Summary of Digital Archive Package Tools Research and Development Project
Summary of Digital Archive Package Tools Research and Development ProjectSummary of Digital Archive Package Tools Research and Development Project
Summary of Digital Archive Package Tools Research and Development ProjectRachabodin Suwannakanthi
 
ระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กร
ระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กรระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กร
ระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กรRachabodin Suwannakanthi
 
Wszczecinie Prezentacja
Wszczecinie PrezentacjaWszczecinie Prezentacja
Wszczecinie Prezentacjabudyn86
 
Postcards from the future texas state fbla
Postcards from the future   texas state fblaPostcards from the future   texas state fbla
Postcards from the future texas state fblaBill M Wooten, PhD
 
Eco Computing Green IT
Eco Computing   Green ITEco Computing   Green IT
Eco Computing Green ITHKAIM
 
VietRees_Newsletter_35_Tuan2_Thang06
VietRees_Newsletter_35_Tuan2_Thang06VietRees_Newsletter_35_Tuan2_Thang06
VietRees_Newsletter_35_Tuan2_Thang06internationalvr
 
Kayla ppt whatmakes psych a science psych 1
Kayla ppt whatmakes psych a science psych 1Kayla ppt whatmakes psych a science psych 1
Kayla ppt whatmakes psych a science psych 1Steve Kashdan
 
VietRees_Newsletter_43_Tuan2_Thang08
VietRees_Newsletter_43_Tuan2_Thang08VietRees_Newsletter_43_Tuan2_Thang08
VietRees_Newsletter_43_Tuan2_Thang08internationalvr
 
Lights camera action orlando - october 2015 -slide upload
Lights camera action   orlando - october 2015 -slide uploadLights camera action   orlando - october 2015 -slide upload
Lights camera action orlando - october 2015 -slide uploadtsmeans
 
Industri musik indonesia 2010
Industri musik indonesia 2010Industri musik indonesia 2010
Industri musik indonesia 2010Iwan H Hadibroto
 
Publish Your Papers In The Top Scientific Journals
Publish Your Papers In The Top Scientific JournalsPublish Your Papers In The Top Scientific Journals
Publish Your Papers In The Top Scientific Journalsguestd02fab
 
Sustainability, More Than Survival - ISA Workshop, June 2009, with notes
Sustainability, More Than Survival - ISA Workshop, June 2009,  with notesSustainability, More Than Survival - ISA Workshop, June 2009,  with notes
Sustainability, More Than Survival - ISA Workshop, June 2009, with notesMason International Business Group
 
VietRees_Newsletter_57_Tuan2_Thang11
VietRees_Newsletter_57_Tuan2_Thang11VietRees_Newsletter_57_Tuan2_Thang11
VietRees_Newsletter_57_Tuan2_Thang11internationalvr
 
《2012 年商品說明(不良營商手法)(修訂)條例》研討會 - 香港海關
《2012 年商品說明(不良營商手法)(修訂)條例》研討會 - 香港海關《2012 年商品說明(不良營商手法)(修訂)條例》研討會 - 香港海關
《2012 年商品說明(不良營商手法)(修訂)條例》研討會 - 香港海關HKAIM
 

Destaque (20)

Image Digitization with Scanning Technology
Image Digitization with Scanning TechnologyImage Digitization with Scanning Technology
Image Digitization with Scanning Technology
 
How to develop photo archives
How to develop photo archivesHow to develop photo archives
How to develop photo archives
 
Summary of Digital Archive Package Tools Research and Development Project
Summary of Digital Archive Package Tools Research and Development ProjectSummary of Digital Archive Package Tools Research and Development Project
Summary of Digital Archive Package Tools Research and Development Project
 
Nectec Digital Archive Concept
Nectec Digital Archive ConceptNectec Digital Archive Concept
Nectec Digital Archive Concept
 
ระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กร
ระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กรระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กร
ระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กร
 
Refresh sf demoday
Refresh sf demodayRefresh sf demoday
Refresh sf demoday
 
Wszczecinie Prezentacja
Wszczecinie PrezentacjaWszczecinie Prezentacja
Wszczecinie Prezentacja
 
Postcards from the future texas state fbla
Postcards from the future   texas state fblaPostcards from the future   texas state fbla
Postcards from the future texas state fbla
 
Eco Computing Green IT
Eco Computing   Green ITEco Computing   Green IT
Eco Computing Green IT
 
VietRees_Newsletter_35_Tuan2_Thang06
VietRees_Newsletter_35_Tuan2_Thang06VietRees_Newsletter_35_Tuan2_Thang06
VietRees_Newsletter_35_Tuan2_Thang06
 
Kayla ppt whatmakes psych a science psych 1
Kayla ppt whatmakes psych a science psych 1Kayla ppt whatmakes psych a science psych 1
Kayla ppt whatmakes psych a science psych 1
 
VietRees_Newsletter_43_Tuan2_Thang08
VietRees_Newsletter_43_Tuan2_Thang08VietRees_Newsletter_43_Tuan2_Thang08
VietRees_Newsletter_43_Tuan2_Thang08
 
Lights camera action orlando - october 2015 -slide upload
Lights camera action   orlando - october 2015 -slide uploadLights camera action   orlando - october 2015 -slide upload
Lights camera action orlando - october 2015 -slide upload
 
Industri musik indonesia 2010
Industri musik indonesia 2010Industri musik indonesia 2010
Industri musik indonesia 2010
 
Publish Your Papers In The Top Scientific Journals
Publish Your Papers In The Top Scientific JournalsPublish Your Papers In The Top Scientific Journals
Publish Your Papers In The Top Scientific Journals
 
Reduce Health Care Cost by People Maintenance
Reduce Health Care Cost by People MaintenanceReduce Health Care Cost by People Maintenance
Reduce Health Care Cost by People Maintenance
 
MOW communication plan for education
MOW communication plan for educationMOW communication plan for education
MOW communication plan for education
 
Sustainability, More Than Survival - ISA Workshop, June 2009, with notes
Sustainability, More Than Survival - ISA Workshop, June 2009,  with notesSustainability, More Than Survival - ISA Workshop, June 2009,  with notes
Sustainability, More Than Survival - ISA Workshop, June 2009, with notes
 
VietRees_Newsletter_57_Tuan2_Thang11
VietRees_Newsletter_57_Tuan2_Thang11VietRees_Newsletter_57_Tuan2_Thang11
VietRees_Newsletter_57_Tuan2_Thang11
 
《2012 年商品說明(不良營商手法)(修訂)條例》研討會 - 香港海關
《2012 年商品說明(不良營商手法)(修訂)條例》研討會 - 香港海關《2012 年商品說明(不良營商手法)(修訂)條例》研討會 - 香港海關
《2012 年商品說明(不良營商手法)(修訂)條例》研討會 - 香港海關
 

Semelhante a Archives and Digital Archives

Digital Content and Website Standard
Digital Content and Website StandardDigital Content and Website Standard
Digital Content and Website StandardBoonlert Aroonpiboon
 
Digital archives Managment & Concept
Digital archives Managment & ConceptDigital archives Managment & Concept
Digital archives Managment & ConceptBoonlert Aroonpiboon
 
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์keatsunee.b
 
Electronic Media สำหรับงานด้านกิจการพลเรือน
 Electronic Media สำหรับงานด้านกิจการพลเรือน Electronic Media สำหรับงานด้านกิจการพลเรือน
Electronic Media สำหรับงานด้านกิจการพลเรือนStrategic Challenges
 
Presentationการผลิตเอกสาร
PresentationการผลิตเอกสารPresentationการผลิตเอกสาร
PresentationการผลิตเอกสารPrapisee Nilawongse
 
Presentation เทคนิคการผลิตเอกสาร
Presentation เทคนิคการผลิตเอกสารPresentation เทคนิคการผลิตเอกสาร
Presentation เทคนิคการผลิตเอกสารPrapisee Nilawongse
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศTay Chaloeykrai
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันChaiwit Khempanya
 
Maliบรรยาย มข111
Maliบรรยาย มข111Maliบรรยาย มข111
Maliบรรยาย มข111darika chu
 
Database
DatabaseDatabase
Databasepaween
 
ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษากับการก้าวเข้าสู่ยุค Thailand 4.0
ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษากับการก้าวเข้าสู่ยุค Thailand 4.0 ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษากับการก้าวเข้าสู่ยุค Thailand 4.0
ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษากับการก้าวเข้าสู่ยุค Thailand 4.0 Maykin Likitboonyalit
 
ไอทีกับแน..
ไอทีกับแน..ไอทีกับแน..
ไอทีกับแน..momay
 
เรื่อง ทรัพย์ทางปัญญา อ. ทรงศักดิ์
เรื่อง ทรัพย์ทางปัญญา  อ. ทรงศักดิ์เรื่อง ทรัพย์ทางปัญญา  อ. ทรงศักดิ์
เรื่อง ทรัพย์ทางปัญญา อ. ทรงศักดิ์AY Un
 
ชลธิชา
ชลธิชาชลธิชา
ชลธิชาPiizza
 
ชลธิชา
ชลธิชาชลธิชา
ชลธิชาPiizza
 
ไอทีกับแนวโน้มโลก
ไอทีกับแนวโน้มโลกไอทีกับแนวโน้มโลก
ไอทีกับแนวโน้มโลกPrince Of Songkla University
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3Meaw Sukee
 

Semelhante a Archives and Digital Archives (20)

Digital Content and Website Standard
Digital Content and Website StandardDigital Content and Website Standard
Digital Content and Website Standard
 
Digital archives Managment & Concept
Digital archives Managment & ConceptDigital archives Managment & Concept
Digital archives Managment & Concept
 
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
 
Electronic Media สำหรับงานด้านกิจการพลเรือน
 Electronic Media สำหรับงานด้านกิจการพลเรือน Electronic Media สำหรับงานด้านกิจการพลเรือน
Electronic Media สำหรับงานด้านกิจการพลเรือน
 
Presentationการผลิตเอกสาร
PresentationการผลิตเอกสารPresentationการผลิตเอกสาร
Presentationการผลิตเอกสาร
 
Presentation เทคนิคการผลิตเอกสาร
Presentation เทคนิคการผลิตเอกสารPresentation เทคนิคการผลิตเอกสาร
Presentation เทคนิคการผลิตเอกสาร
 
Seminar At Singapore
Seminar At SingaporeSeminar At Singapore
Seminar At Singapore
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
Maliบรรยาย มข111
Maliบรรยาย มข111Maliบรรยาย มข111
Maliบรรยาย มข111
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษากับการก้าวเข้าสู่ยุค Thailand 4.0
ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษากับการก้าวเข้าสู่ยุค Thailand 4.0 ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษากับการก้าวเข้าสู่ยุค Thailand 4.0
ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษากับการก้าวเข้าสู่ยุค Thailand 4.0
 
Digital Media : Code of Conduct
Digital Media : Code of ConductDigital Media : Code of Conduct
Digital Media : Code of Conduct
 
ไอทีกับแน..
ไอทีกับแน..ไอทีกับแน..
ไอทีกับแน..
 
เรื่อง ทรัพย์ทางปัญญา อ. ทรงศักดิ์
เรื่อง ทรัพย์ทางปัญญา  อ. ทรงศักดิ์เรื่อง ทรัพย์ทางปัญญา  อ. ทรงศักดิ์
เรื่อง ทรัพย์ทางปัญญา อ. ทรงศักดิ์
 
ชลธิชา
ชลธิชาชลธิชา
ชลธิชา
 
ชลธิชา
ชลธิชาชลธิชา
ชลธิชา
 
ไอทีกับแนวโน้มโลก
ไอทีกับแนวโน้มโลกไอทีกับแนวโน้มโลก
ไอทีกับแนวโน้มโลก
 
STKS Handbook
STKS HandbookSTKS Handbook
STKS Handbook
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 

Mais de Rachabodin Suwannakanthi

การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)Rachabodin Suwannakanthi
 
Using copy.com website for uploading and sharing files
Using copy.com website for uploading and sharing filesUsing copy.com website for uploading and sharing files
Using copy.com website for uploading and sharing filesRachabodin Suwannakanthi
 
Using copy.com app for uploading and sharing files
Using copy.com app for uploading and sharing filesUsing copy.com app for uploading and sharing files
Using copy.com app for uploading and sharing filesRachabodin Suwannakanthi
 
Images Digitization with Digital Photography
Images Digitization with Digital PhotographyImages Digitization with Digital Photography
Images Digitization with Digital PhotographyRachabodin Suwannakanthi
 
Creating Panoramic Images with Adobe Photoshop Lightroom and Adobe Photoshop
Creating Panoramic Images with Adobe Photoshop Lightroom and Adobe PhotoshopCreating Panoramic Images with Adobe Photoshop Lightroom and Adobe Photoshop
Creating Panoramic Images with Adobe Photoshop Lightroom and Adobe PhotoshopRachabodin Suwannakanthi
 
Creating HDR images with Photomatix and Lightroom
Creating HDR images with Photomatix and LightroomCreating HDR images with Photomatix and Lightroom
Creating HDR images with Photomatix and LightroomRachabodin Suwannakanthi
 
HDR Processing with Adobe Photoshop CS4 and Adobe photoshop Lightroom
HDR Processing with Adobe Photoshop CS4 and Adobe photoshop LightroomHDR Processing with Adobe Photoshop CS4 and Adobe photoshop Lightroom
HDR Processing with Adobe Photoshop CS4 and Adobe photoshop LightroomRachabodin Suwannakanthi
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionRachabodin Suwannakanthi
 
Image Digitization with Digital Photography
Image Digitization with Digital PhotographyImage Digitization with Digital Photography
Image Digitization with Digital PhotographyRachabodin Suwannakanthi
 
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัวหนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัวRachabodin Suwannakanthi
 

Mais de Rachabodin Suwannakanthi (20)

การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
 
Using copy.com website for uploading and sharing files
Using copy.com website for uploading and sharing filesUsing copy.com website for uploading and sharing files
Using copy.com website for uploading and sharing files
 
Using copy.com app for uploading and sharing files
Using copy.com app for uploading and sharing filesUsing copy.com app for uploading and sharing files
Using copy.com app for uploading and sharing files
 
Camera RAW Workflow
Camera RAW WorkflowCamera RAW Workflow
Camera RAW Workflow
 
Images Digitization with Digital Photography
Images Digitization with Digital PhotographyImages Digitization with Digital Photography
Images Digitization with Digital Photography
 
Creating Panoramic Images with Adobe Photoshop Lightroom and Adobe Photoshop
Creating Panoramic Images with Adobe Photoshop Lightroom and Adobe PhotoshopCreating Panoramic Images with Adobe Photoshop Lightroom and Adobe Photoshop
Creating Panoramic Images with Adobe Photoshop Lightroom and Adobe Photoshop
 
Creating HDR images with Photomatix and Lightroom
Creating HDR images with Photomatix and LightroomCreating HDR images with Photomatix and Lightroom
Creating HDR images with Photomatix and Lightroom
 
HDR Processing with Adobe Photoshop CS4 and Adobe photoshop Lightroom
HDR Processing with Adobe Photoshop CS4 and Adobe photoshop LightroomHDR Processing with Adobe Photoshop CS4 and Adobe photoshop Lightroom
HDR Processing with Adobe Photoshop CS4 and Adobe photoshop Lightroom
 
Online Video Format Experiment
Online Video Format ExperimentOnline Video Format Experiment
Online Video Format Experiment
 
How to Create an Educational Media
How to Create an Educational MediaHow to Create an Educational Media
How to Create an Educational Media
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media Production
 
Image Digitization with Digital Photography
Image Digitization with Digital PhotographyImage Digitization with Digital Photography
Image Digitization with Digital Photography
 
Introduction to Images Digitization
Introduction to Images DigitizationIntroduction to Images Digitization
Introduction to Images Digitization
 
Digital Imaging Course Outline
Digital Imaging Course OutlineDigital Imaging Course Outline
Digital Imaging Course Outline
 
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัวหนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
 
General Digital Archive Package Tool
General Digital Archive Package ToolGeneral Digital Archive Package Tool
General Digital Archive Package Tool
 
Introduction to Virtual Tour
Introduction to Virtual TourIntroduction to Virtual Tour
Introduction to Virtual Tour
 
Basic HDR Panoramic Photography
Basic HDR Panoramic PhotographyBasic HDR Panoramic Photography
Basic HDR Panoramic Photography
 
Multi-rows HDR Panoramic Photography
Multi-rows HDR Panoramic PhotographyMulti-rows HDR Panoramic Photography
Multi-rows HDR Panoramic Photography
 
Introduction to Image Digitization
Introduction to Image DigitizationIntroduction to Image Digitization
Introduction to Image Digitization
 

Archives and Digital Archives