SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 14
Baixar para ler offline
สรุปบทที่ 8


เรื่อง การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้

• การวัดผล (Measurement) คือ กระบวนการหาปริ มาณ หรื อจานวนของสิ่ งของต่าง
โดยผลที่เออกมาจะเป็ นตัวเลขหรื อรู ปแบบของสัญลักษณ์ที่สื่อถึงสิ่ งที่เราต้องการ อาทิ
เช่น อยากรู ้วานายสมศักดิ์ หนักเท่าไหร่ เราก็จาเป็ นจะต้องมีเครื่ องมือในการวัดผลคือ
               ่
เครื่ องวัดส่ วนสู ง และนามาวัดเมื่อทราบว่า นายสมศักดิ์ สู ง 185 ซึ่ง 185 คือค่าที่ได้จาก
การวัดผลส่ วนสู งของนายสมศักดิ์

• การทดสอบการศึกษา คือ กระบวนการวัดประเมินผลอย่างหนึ่ง ที่มีการกระทา
อย่างมีระบบและเข้าไปช่วยกระตุนให้เกิดกระบวนการคิดและได้แสดงพฤติกรรม
                               ้
ออกมาอย่างเต็มที่อย่างใดอย่างหนึ่ง
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ (ต่ อ)

• การประเมินผล (Evaluation) หมายถึง เป็ นการตัดสิ นใจอย่างใดอย่างหนึ่ง หรื อ
การวินิจฉัยสิ่ งที่เกิดขึ้นมาหรื อสิ่ งที่ได้รับการวัดผลมาแล้ว อาทิเช่น นายสมศักดิ์สูง 185
เซนติเมตร ผลการประเมินถือว่า เป็ นคนที่มีส่วนสู ง สูงมาก โดยต้องพิจารณาตาม
เกณฑ์มาตรฐานที่ได้ให้กาหนดไว้ดวย           ้
• บลูม (Bloom) และคณะ ได้แบ่งพฤติกรรมที่จะทาการวัดผล ได้ 3 ลักษณะด้วยกัน
คือ 1.) วัดพฤติกรรมทางด้านพุทธิ พสย ได้แก่ ด้านความคิด ความรู ้ (ด้านสมอง)
                                             ิ ั
2.) วัดพฤติกรรมด้านจิตพิสย ได้แก่ ด้านความรู ้สึกนึกคิด (ด้านจิตใจ)
                              ั
3.) วัดพฤติกรรมด้านทักษะพิสย ได้แก่ การใช้กล้ามเนื้อ ประสาทสัมผัส ส่ วนต่างๆ
                                    ั
ของร่ างกายเรา (ด้านการปฏิบติ)    ั
จุดมุ่งหมายของการวัดผลการศึกษา

• เราสามารถแบ่งจุดมุ่งหมายได้ออกเป็ น 6 จุดมุ่งหมายด้วยกัน ได้แก่
 1.) กาวัดเพื่อและพัฒนาสมรรถภาพของตัวผูเ้ รี ยน
 2.) การวัดผลเพื่อวินิจฉัย
 3.) การวัดผลเพื่อจัดลาดับหรื อจัดตาแหน่ง
 4.) การวัดผลเพื่อเปรี ยบเทียบหรื อเพื่อทราบพัฒนาการของผูเ้ รี ยน
 5.) การวัดผลเพื่อพยากรณ์
 6.) การวัดผลเพื่อประเมิน
หลักการวัดผลการศึกษา

•หลักการวัดผลการศึกษานี้ได้ถูกแบ่งออกเป็ น 5 หลักใหญ่ดวยกัน ได้แก่
                                                           ้
 1.) ตองวัดให้ตรงตามจุดมุ่งหมายของการเรี ยนการสอน
 2.) เลือกใช้ใช้เครื่ องมือที่ดีและเหมาะสม และต้องมีคุณภาพด้วย
                                                                 ็
 3.) ระวังความคลาดเคลื่อนหรื อความผิดพลาดของการวัด เมื่อใช้กควรที่จะระมัดระวัง
   ่
อยูตลอดเวลา
 4.) ประเมินผลการวัดให้ถูกต้อง คะแนนที่ผเู ้ รี ยนได้ตองแปลงให้สมเหตุสมผลกันและ
                                                      ้
ถูกต้องตามหลักเกณฑ์การวัดผลประเมินผล
 5.) การใช้ผลการวัดให้คุมค่า สิ่ งสาคัญคือ เพื่อค้นและพัฒนาสมรรถภาพของผูเ้ รี ยนเอง
                            ้
ต้องพยายามรู้จกผูเ้ รี ยนให้มาก ในแต่ละคนๆ ว่า เด่นหรื อด้อย ทางไหนบ้าง และหาแนว
               ั
ทางแก้ไขปัญหาให้จงได้อยูเ่ สมอ
เครื่องมือที่ใช้ ในการวัดผล

• การสังเกต (Observation) คือ การพิจารณาปรากฎการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นเพื่อค้นหา
ความจริ ง
• การสังเกตจะมีรูปแบบการสังเกตเป็ น 2 ลักษณะคือ สังเกตแบบร่ วมด้วยกัน
กิจกรรมนั้นๆที่จดขึ้นมาในห้องเรี ยนหรื อร่ วมกับผูเ้ รี ยนในกิจกรรมนั้นๆ อีกแบบก็
                ั
คือ การสังเกตผลโดยการอยูห่างๆและมองเป็ นภาพร่ วมๆว่าผูเ้ รี ยนมีขอบกพร่ องที่
                          ่                                           ้
ไหน โดยสรุ ปเป็ นภาพร่ วม และยังแยกย่อยออกมาเป็ น แบบไม่มีโครงสร้างและแบบ
มีโครงสร้างด้วย
การสั มภาษณ์ Interview

• การสัมภาษณ์ คือ การสนทนาพูดคุยกันในเรื่ องนั้นๆ โต้ตอบกันอย่างมี
จุดมุ่งหมายร่ วมกันเพื่อค้นหาความจริ ง ตามวัตถุประสงค์ท่ีต้ งไว้ลวงหน้า การ
                                                            ั ้
สัมภาษณ์น้ นมีรูปแบบในวิธีน้ ีอยู่ 2 แบบด้วยกัน คือแบบมีโครงสร้างและไม่มี
             ั
โครงสร้าง
• แบบสอบถาม (Questionnaire) คือ เครื่ องมือที่ช่วยวัดผลการศึกษาได้อีกแบบหนึ่ง
ที่เป็ นลายลักษณ์อกษรและเป็ นที่นิยมกันมาก โดยอย่างยิงการเก็บข้องมูลทางด้าน
                   ั                                  ่
สังคมศาสตร์ อีกทั้งยังใช้วดได้อย่างกว้างขวาง โดยมีรูปแบบของแบบสอบถามมี 2
                           ั
แบบด้วยกัน ได้แก่ แบบสอบถามชนิดปรายเปิ ด (Open-ended Form) แบบที่สองคือ
แบบสอบถามปรายปิ ด (Closed-ended Form) โดยยังแบ่งย่อยออกมาได้อีก 4
แบบสอบถามแบบปรายปิ ดอีกด้วย ได้แก่
การสั มภาษณ์ Interview(ต่ อ)

• แบบตรวจสอบรายการ (Checklist)
• มาตราส่ วนประมาณค่า (Rating Scale)
• แบบจัดอันดับ (Rank Order)
• แบบเติมคาสั้นๆลงในช่องว่าง (Fill in the blanks)
การประเมินผลทางการศึกษา

• การประเมินผลทางการศึกษา (Educational Evaluation) หมายถึง กระบวนการใน
                                                              ่
การตัดสิ นใจลงสรุ ปคุณลักษณะหรื อพฤติกรรมของผูเ้ รี ยนว่ามีอยูในระดับใด โดย
ต้องนามาเปรี ยบเทียบกับเกณฑ์ ซึ่งมีองค์ประกอบอยู่ 3 องค์ประกอบด้วยกัน ได้แก่
1. ผลการวัด (Measurement)
2. เกณฑ์การพิจารณา (Criteria)
3. การตัดสิ นใจ (Decision)
ขอบข่ ายของการประเมินผลทางการศึกษา

• มันเป็ นสิ่ งที่มองเห็นเป็ นภาพในทางการศึกษาทั้งหมดเพราะ สิ่ งที่สาคัญของมนุษย์เรา
เป็ นหลักเลยคือ การศึกษา ว่าประกอบด้วยสิ่ งใดบ้าง กล่าวคือ มองภาพการศึกษาว่าเป็ นก
ราเรี ยนการสอนเพียงประการเดียว การประเมินการศึกษาจะประเมินในห้องเรี ยนเท่านั้น
แต่หากว่ามองให้กว้างกว่าเดิม ภาพที่เห็นนั้นจะมีองค์ประกอบที่มากขึ้นและจะยิงทาให้
                                                                          ่
การศึกษาไม่มีที่สิ้นสุ ด และเป็ นไปอย่างไม่มีหยุด
• การศึกษาก็จะคลอบคลุมไปถึงองค์ประกอบดังที่จะกล่าวด้วยคือ
1. Input
2. Process
3. Product or Output
ความสาคัญของการประเมินผลทางการศึกษา

  1)ช่วยชี้ให้เห็นว่าการดาเนินงานเหมาะสมเพียงใด
  2)ทาให้ทราบว่าการดาเนินงานบรรลุตามจุดประสงค์หรื อไม่
  3)ช่วยกระตุนให้มีการเร่ งรัด ปรับปรุ ง และการดาเนินงาน
             ้
  4)ช่วยเห็นบกพร่ องในการดาเนินงาน ในแต่ละขั้นตอนเป็ นหลักในการปรับปรุ ง
ในการดาเนินงาน
  5)ช่วยควบคุมการดาเนินงานให้มีประสิ ทธิภาพมากขึ้น
การประเมินผลแบบอิงเกณฑ์

• เป็ นการวัดผลเพื่อต้องการทราบว่าผูเ้ รี ยนนั้นมีความสามารถถึงเกณฑ์ที่กาหนดไว้รึ
เปล่า และผลนั้นต้องนาคะแนนที่ได้ไปกระทาในกระบวนการแปลงคะแนนอีกที โดย
คะแนนนั้นจะได้มาจากผลงานที่ดาเนินงานหรื อการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนเอง แต่โดยตั้งให้
ผ่านหรื อเท่ากับเกณฑ์ ถึงจะถือว่าผ่าน และยังมีขอควรคานึงถึงการประเมินแบบอิง
                                               ้
เกณฑ์น้ ีดวย ได้แก่
          ้
  1. วัตถุประสงค์การสอนต้องชัดเจน
  2. ข้อสอบมีความเที่ยงตรงสูงและครอบคลุมวัตถุประสงค์การสอน
  3. เกณฑ์ที่วดต้องเด่นชัด มีหลักเกณฑ์ท่ีอางอย่างมียติธรรม
              ั                           ้         ุ
การประเมินผลแบบอิงกลุ่ม

• เป็ นการวัดประเมินผลและเพื่อเปรี ยบเทียบคะแนนของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง เพื่อนาไป
จาแนกและแยกระดับว่า คะแนนสูงสุ ด - ต่าสุ ด แล้วนามาเปรี ยบเทียบเพื่อประเมิน เช่น
คะแนนการสอบคัดเลือกนักศึกษาเข้าศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย
• ข้อควรคานึงถึง ได้แก่
1. ข้อสอบต้องมีคุณภาพสูง มีความเชื่อถือได้และเที่ยงตรง
2. ข้อสอบที่ใช้จะต้องครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมด การประเมินจะต้องมีความ ยุติธรรม และ
       ตามสภาพความเป็ นจริ งที่ได้ของผลการเรี ยนนั้นๆ
สรุ ปท้ ายบทที่ 8

      บทที่ 8 นี้เป็ นเรื่ องเกี่ยวกับการประเมินผล วัดผล ต่างๆทางการศึกษาและยังสามารถ
นาไปใช้ได้อีกด้วยตามสภาพความเป็ นจริ งที่เป็ นอยู่ ซึ่งการประเมินเป็ นสิ่ งที่สาคัญที่สุด
ของการศึกษาเลยในระดับหนึ่ง เพราะการศึกษาหากไม่มีการวัดผลและประเมินผล เราก็
จะไม่สามารถทราบได้เลยว่า การเรี ยนของตนเองมีความกว้าหน้ามากน้อยแค่ไหนและยัง
สามารถบ่งชี้ถึงความรู ้ความสามารถของแต่ละตัวบุคคลนั้นๆอีกด้วยว่ามีอะไรที่อยูในตัว  ่
เราบาง โดยต้องจัดเป็ นทั้งสามด้าน ได้แก่
 - ด้านพุทธิ พิสัย
 - ด้านจิตพิสยั
 - ด้านทักษะพิสัย
• ทั้งสามด้านนี้เป็ นจุดใหญ่ที่การศึกษาจาเป็ นจะต้องทาการประเมินและวัดออกมาเป็ น
ค่าของ “คน”

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษาaumkpru45
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้สุเทพ สอนนิล
 
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้Chainarong Maharak
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงmickyindbsk
 
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้Thotsaphon M'Max
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้Bert Nangngam
 
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัยการวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัยบีน้อย สุชาดา
 
ฟ้า1
ฟ้า1ฟ้า1
ฟ้า1fa_o
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลwisnun
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลmaymymay
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้poms0077
 
งานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะงานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะnwichunee
 
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51oieseau1
 

Mais procurados (18)

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
นาว1
นาว1นาว1
นาว1
 
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัยการวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
 
ฟ้า1
ฟ้า1ฟ้า1
ฟ้า1
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
งานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะงานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะ
 
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
 

Destaque

Item’s hanger present 5
Item’s hanger present 5Item’s hanger present 5
Item’s hanger present 5lux1113
 
1 1500 800 & 400 meters
1 1500 800 & 400 meters1 1500 800 & 400 meters
1 1500 800 & 400 metersRamon181998
 
2 worksheet society and sport discussion board
2 worksheet society and sport discussion board2 worksheet society and sport discussion board
2 worksheet society and sport discussion boardRamon181998
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7puyss
 
Dr. Bawoh. M
Dr.  Bawoh.  MDr.  Bawoh.  M
Dr. Bawoh. MMed Bee
 

Destaque (8)

Item’s hanger present 5
Item’s hanger present 5Item’s hanger present 5
Item’s hanger present 5
 
1 1500 800 & 400 meters
1 1500 800 & 400 meters1 1500 800 & 400 meters
1 1500 800 & 400 meters
 
Genre narrative
Genre narrativeGenre narrative
Genre narrative
 
Music questionnaire
Music questionnaireMusic questionnaire
Music questionnaire
 
2 worksheet society and sport discussion board
2 worksheet society and sport discussion board2 worksheet society and sport discussion board
2 worksheet society and sport discussion board
 
Encore
EncoreEncore
Encore
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
Dr. Bawoh. M
Dr.  Bawoh.  MDr.  Bawoh.  M
Dr. Bawoh. M
 

Semelhante a บทที่8

สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8Tsheej Thoj
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8josodaza
 
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้onnichabee
 
อาม1
อาม1อาม1
อาม1arm_2010
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1yuapawan
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1yuapawan
 
บทที่+8
บทที่+8บทที่+8
บทที่+8paynarumon
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8honeylamon
 
เบญ2
เบญ2เบญ2
เบญ2ben_za
 
งานบทที่8
งานบทที่8งานบทที่8
งานบทที่8tum521120935
 
บทที่8 ใหม่2
บทที่8 ใหม่2บทที่8 ใหม่2
บทที่8 ใหม่2Phuntita
 
บทที่8 ใหม่2
บทที่8 ใหม่2บทที่8 ใหม่2
บทที่8 ใหม่2Phuntita
 
บทที่8ใหม่ สุด
บทที่8ใหม่ สุดบทที่8ใหม่ สุด
บทที่8ใหม่ สุดpanisaae
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลSarawut Tikummul
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลSarawut Tikummul
 
teaching 8
teaching 8teaching 8
teaching 8sangkom
 

Semelhante a บทที่8 (20)

สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
อาม1
อาม1อาม1
อาม1
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
 
บทที่+8
บทที่+8บทที่+8
บทที่+8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
เบญ2
เบญ2เบญ2
เบญ2
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
งานบทที่8
งานบทที่8งานบทที่8
งานบทที่8
 
บทที่8 ใหม่2
บทที่8 ใหม่2บทที่8 ใหม่2
บทที่8 ใหม่2
 
บทที่8 ใหม่2
บทที่8 ใหม่2บทที่8 ใหม่2
บทที่8 ใหม่2
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่8ใหม่ สุด
บทที่8ใหม่ สุดบทที่8ใหม่ สุด
บทที่8ใหม่ สุด
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
 
teaching 8
teaching 8teaching 8
teaching 8
 

Mais de puyss

บทที่83
บทที่83บทที่83
บทที่83puyss
 
บทที่82
บทที่82บทที่82
บทที่82puyss
 
บทที่81
บทที่81บทที่81
บทที่81puyss
 
บทที่71
บทที่71บทที่71
บทที่71puyss
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7puyss
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8puyss
 
บทที่7ใหม่
บทที่7ใหม่บทที่7ใหม่
บทที่7ใหม่puyss
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7puyss
 

Mais de puyss (8)

บทที่83
บทที่83บทที่83
บทที่83
 
บทที่82
บทที่82บทที่82
บทที่82
 
บทที่81
บทที่81บทที่81
บทที่81
 
บทที่71
บทที่71บทที่71
บทที่71
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่7ใหม่
บทที่7ใหม่บทที่7ใหม่
บทที่7ใหม่
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 

บทที่8

  • 2. การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ • การวัดผล (Measurement) คือ กระบวนการหาปริ มาณ หรื อจานวนของสิ่ งของต่าง โดยผลที่เออกมาจะเป็ นตัวเลขหรื อรู ปแบบของสัญลักษณ์ที่สื่อถึงสิ่ งที่เราต้องการ อาทิ เช่น อยากรู ้วานายสมศักดิ์ หนักเท่าไหร่ เราก็จาเป็ นจะต้องมีเครื่ องมือในการวัดผลคือ ่ เครื่ องวัดส่ วนสู ง และนามาวัดเมื่อทราบว่า นายสมศักดิ์ สู ง 185 ซึ่ง 185 คือค่าที่ได้จาก การวัดผลส่ วนสู งของนายสมศักดิ์ • การทดสอบการศึกษา คือ กระบวนการวัดประเมินผลอย่างหนึ่ง ที่มีการกระทา อย่างมีระบบและเข้าไปช่วยกระตุนให้เกิดกระบวนการคิดและได้แสดงพฤติกรรม ้ ออกมาอย่างเต็มที่อย่างใดอย่างหนึ่ง
  • 3. การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ (ต่ อ) • การประเมินผล (Evaluation) หมายถึง เป็ นการตัดสิ นใจอย่างใดอย่างหนึ่ง หรื อ การวินิจฉัยสิ่ งที่เกิดขึ้นมาหรื อสิ่ งที่ได้รับการวัดผลมาแล้ว อาทิเช่น นายสมศักดิ์สูง 185 เซนติเมตร ผลการประเมินถือว่า เป็ นคนที่มีส่วนสู ง สูงมาก โดยต้องพิจารณาตาม เกณฑ์มาตรฐานที่ได้ให้กาหนดไว้ดวย ้ • บลูม (Bloom) และคณะ ได้แบ่งพฤติกรรมที่จะทาการวัดผล ได้ 3 ลักษณะด้วยกัน คือ 1.) วัดพฤติกรรมทางด้านพุทธิ พสย ได้แก่ ด้านความคิด ความรู ้ (ด้านสมอง) ิ ั 2.) วัดพฤติกรรมด้านจิตพิสย ได้แก่ ด้านความรู ้สึกนึกคิด (ด้านจิตใจ) ั 3.) วัดพฤติกรรมด้านทักษะพิสย ได้แก่ การใช้กล้ามเนื้อ ประสาทสัมผัส ส่ วนต่างๆ ั ของร่ างกายเรา (ด้านการปฏิบติ) ั
  • 4. จุดมุ่งหมายของการวัดผลการศึกษา • เราสามารถแบ่งจุดมุ่งหมายได้ออกเป็ น 6 จุดมุ่งหมายด้วยกัน ได้แก่ 1.) กาวัดเพื่อและพัฒนาสมรรถภาพของตัวผูเ้ รี ยน 2.) การวัดผลเพื่อวินิจฉัย 3.) การวัดผลเพื่อจัดลาดับหรื อจัดตาแหน่ง 4.) การวัดผลเพื่อเปรี ยบเทียบหรื อเพื่อทราบพัฒนาการของผูเ้ รี ยน 5.) การวัดผลเพื่อพยากรณ์ 6.) การวัดผลเพื่อประเมิน
  • 5. หลักการวัดผลการศึกษา •หลักการวัดผลการศึกษานี้ได้ถูกแบ่งออกเป็ น 5 หลักใหญ่ดวยกัน ได้แก่ ้ 1.) ตองวัดให้ตรงตามจุดมุ่งหมายของการเรี ยนการสอน 2.) เลือกใช้ใช้เครื่ องมือที่ดีและเหมาะสม และต้องมีคุณภาพด้วย ็ 3.) ระวังความคลาดเคลื่อนหรื อความผิดพลาดของการวัด เมื่อใช้กควรที่จะระมัดระวัง ่ อยูตลอดเวลา 4.) ประเมินผลการวัดให้ถูกต้อง คะแนนที่ผเู ้ รี ยนได้ตองแปลงให้สมเหตุสมผลกันและ ้ ถูกต้องตามหลักเกณฑ์การวัดผลประเมินผล 5.) การใช้ผลการวัดให้คุมค่า สิ่ งสาคัญคือ เพื่อค้นและพัฒนาสมรรถภาพของผูเ้ รี ยนเอง ้ ต้องพยายามรู้จกผูเ้ รี ยนให้มาก ในแต่ละคนๆ ว่า เด่นหรื อด้อย ทางไหนบ้าง และหาแนว ั ทางแก้ไขปัญหาให้จงได้อยูเ่ สมอ
  • 6. เครื่องมือที่ใช้ ในการวัดผล • การสังเกต (Observation) คือ การพิจารณาปรากฎการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นเพื่อค้นหา ความจริ ง • การสังเกตจะมีรูปแบบการสังเกตเป็ น 2 ลักษณะคือ สังเกตแบบร่ วมด้วยกัน กิจกรรมนั้นๆที่จดขึ้นมาในห้องเรี ยนหรื อร่ วมกับผูเ้ รี ยนในกิจกรรมนั้นๆ อีกแบบก็ ั คือ การสังเกตผลโดยการอยูห่างๆและมองเป็ นภาพร่ วมๆว่าผูเ้ รี ยนมีขอบกพร่ องที่ ่ ้ ไหน โดยสรุ ปเป็ นภาพร่ วม และยังแยกย่อยออกมาเป็ น แบบไม่มีโครงสร้างและแบบ มีโครงสร้างด้วย
  • 7. การสั มภาษณ์ Interview • การสัมภาษณ์ คือ การสนทนาพูดคุยกันในเรื่ องนั้นๆ โต้ตอบกันอย่างมี จุดมุ่งหมายร่ วมกันเพื่อค้นหาความจริ ง ตามวัตถุประสงค์ท่ีต้ งไว้ลวงหน้า การ ั ้ สัมภาษณ์น้ นมีรูปแบบในวิธีน้ ีอยู่ 2 แบบด้วยกัน คือแบบมีโครงสร้างและไม่มี ั โครงสร้าง • แบบสอบถาม (Questionnaire) คือ เครื่ องมือที่ช่วยวัดผลการศึกษาได้อีกแบบหนึ่ง ที่เป็ นลายลักษณ์อกษรและเป็ นที่นิยมกันมาก โดยอย่างยิงการเก็บข้องมูลทางด้าน ั ่ สังคมศาสตร์ อีกทั้งยังใช้วดได้อย่างกว้างขวาง โดยมีรูปแบบของแบบสอบถามมี 2 ั แบบด้วยกัน ได้แก่ แบบสอบถามชนิดปรายเปิ ด (Open-ended Form) แบบที่สองคือ แบบสอบถามปรายปิ ด (Closed-ended Form) โดยยังแบ่งย่อยออกมาได้อีก 4 แบบสอบถามแบบปรายปิ ดอีกด้วย ได้แก่
  • 8. การสั มภาษณ์ Interview(ต่ อ) • แบบตรวจสอบรายการ (Checklist) • มาตราส่ วนประมาณค่า (Rating Scale) • แบบจัดอันดับ (Rank Order) • แบบเติมคาสั้นๆลงในช่องว่าง (Fill in the blanks)
  • 9. การประเมินผลทางการศึกษา • การประเมินผลทางการศึกษา (Educational Evaluation) หมายถึง กระบวนการใน ่ การตัดสิ นใจลงสรุ ปคุณลักษณะหรื อพฤติกรรมของผูเ้ รี ยนว่ามีอยูในระดับใด โดย ต้องนามาเปรี ยบเทียบกับเกณฑ์ ซึ่งมีองค์ประกอบอยู่ 3 องค์ประกอบด้วยกัน ได้แก่ 1. ผลการวัด (Measurement) 2. เกณฑ์การพิจารณา (Criteria) 3. การตัดสิ นใจ (Decision)
  • 10. ขอบข่ ายของการประเมินผลทางการศึกษา • มันเป็ นสิ่ งที่มองเห็นเป็ นภาพในทางการศึกษาทั้งหมดเพราะ สิ่ งที่สาคัญของมนุษย์เรา เป็ นหลักเลยคือ การศึกษา ว่าประกอบด้วยสิ่ งใดบ้าง กล่าวคือ มองภาพการศึกษาว่าเป็ นก ราเรี ยนการสอนเพียงประการเดียว การประเมินการศึกษาจะประเมินในห้องเรี ยนเท่านั้น แต่หากว่ามองให้กว้างกว่าเดิม ภาพที่เห็นนั้นจะมีองค์ประกอบที่มากขึ้นและจะยิงทาให้ ่ การศึกษาไม่มีที่สิ้นสุ ด และเป็ นไปอย่างไม่มีหยุด • การศึกษาก็จะคลอบคลุมไปถึงองค์ประกอบดังที่จะกล่าวด้วยคือ 1. Input 2. Process 3. Product or Output
  • 11. ความสาคัญของการประเมินผลทางการศึกษา 1)ช่วยชี้ให้เห็นว่าการดาเนินงานเหมาะสมเพียงใด 2)ทาให้ทราบว่าการดาเนินงานบรรลุตามจุดประสงค์หรื อไม่ 3)ช่วยกระตุนให้มีการเร่ งรัด ปรับปรุ ง และการดาเนินงาน ้ 4)ช่วยเห็นบกพร่ องในการดาเนินงาน ในแต่ละขั้นตอนเป็ นหลักในการปรับปรุ ง ในการดาเนินงาน 5)ช่วยควบคุมการดาเนินงานให้มีประสิ ทธิภาพมากขึ้น
  • 12. การประเมินผลแบบอิงเกณฑ์ • เป็ นการวัดผลเพื่อต้องการทราบว่าผูเ้ รี ยนนั้นมีความสามารถถึงเกณฑ์ที่กาหนดไว้รึ เปล่า และผลนั้นต้องนาคะแนนที่ได้ไปกระทาในกระบวนการแปลงคะแนนอีกที โดย คะแนนนั้นจะได้มาจากผลงานที่ดาเนินงานหรื อการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนเอง แต่โดยตั้งให้ ผ่านหรื อเท่ากับเกณฑ์ ถึงจะถือว่าผ่าน และยังมีขอควรคานึงถึงการประเมินแบบอิง ้ เกณฑ์น้ ีดวย ได้แก่ ้ 1. วัตถุประสงค์การสอนต้องชัดเจน 2. ข้อสอบมีความเที่ยงตรงสูงและครอบคลุมวัตถุประสงค์การสอน 3. เกณฑ์ที่วดต้องเด่นชัด มีหลักเกณฑ์ท่ีอางอย่างมียติธรรม ั ้ ุ
  • 13. การประเมินผลแบบอิงกลุ่ม • เป็ นการวัดประเมินผลและเพื่อเปรี ยบเทียบคะแนนของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง เพื่อนาไป จาแนกและแยกระดับว่า คะแนนสูงสุ ด - ต่าสุ ด แล้วนามาเปรี ยบเทียบเพื่อประเมิน เช่น คะแนนการสอบคัดเลือกนักศึกษาเข้าศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย • ข้อควรคานึงถึง ได้แก่ 1. ข้อสอบต้องมีคุณภาพสูง มีความเชื่อถือได้และเที่ยงตรง 2. ข้อสอบที่ใช้จะต้องครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมด การประเมินจะต้องมีความ ยุติธรรม และ ตามสภาพความเป็ นจริ งที่ได้ของผลการเรี ยนนั้นๆ
  • 14. สรุ ปท้ ายบทที่ 8 บทที่ 8 นี้เป็ นเรื่ องเกี่ยวกับการประเมินผล วัดผล ต่างๆทางการศึกษาและยังสามารถ นาไปใช้ได้อีกด้วยตามสภาพความเป็ นจริ งที่เป็ นอยู่ ซึ่งการประเมินเป็ นสิ่ งที่สาคัญที่สุด ของการศึกษาเลยในระดับหนึ่ง เพราะการศึกษาหากไม่มีการวัดผลและประเมินผล เราก็ จะไม่สามารถทราบได้เลยว่า การเรี ยนของตนเองมีความกว้าหน้ามากน้อยแค่ไหนและยัง สามารถบ่งชี้ถึงความรู ้ความสามารถของแต่ละตัวบุคคลนั้นๆอีกด้วยว่ามีอะไรที่อยูในตัว ่ เราบาง โดยต้องจัดเป็ นทั้งสามด้าน ได้แก่ - ด้านพุทธิ พิสัย - ด้านจิตพิสยั - ด้านทักษะพิสัย • ทั้งสามด้านนี้เป็ นจุดใหญ่ที่การศึกษาจาเป็ นจะต้องทาการประเมินและวัดออกมาเป็ น ค่าของ “คน”